SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
Descargar para leer sin conexión
วันที่ 25 พฤษภาคม 2504 จอห์น เอฟ เคนเนดี้ ประกาศวิสัยทัศน์
โครงการอวกาศว่า “ข้าพเจ้าเชื่อว่าก่อนที่จะสิ้นสุดทศวรรษนี้ประเทศนี้จะ
ประสบความสาเร็จในการส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์และสามารถเดินทาง
กลับได้อย่างปลอดภัย” วิสัยทัศน์นี้นาไปสู่แผนยุทธศาสตร์ในการจัดให้มี
โครงการส่งมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศรวม 21 ครั้ง และบรรลุเป้าหมายสูงสุดในวันที่ 20
กรกฎาคม 2512 เมื่อ นีล อาร์มสตรอง ลงเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์ เพื่อบรรลุ
วิสัยทัศน์นี้ รัฐบาลต้องใช้เงิน 24,000 ล้านเหรียญ ใช้เวลา 8 ปี มนุษย์อวกาศ
เสียชีวิต 7 คน และทาให้เกิดการจ้างงานขึ้นในประเทศจานวน 420,000 คน
เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2557 ชาวอินเดียได้เฉลิมฉลองเนื่องในโอกาส
ที่ยานสารวจดาวอังคารเข้าสู่วงโคจรหลังถูกส่งขึ้นจากฐานปล่อยยานที่อินเดีย
เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2556
องค์กรวิจัยด้านอวกาศของอินเดีย (ISRO) ก่อตั้งในปี 2512 ปี
เดียวกับที่ นีล อาร์มสตรอง ลงเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อ “พัฒนาเทคโนโลยีด้านอวกาศและนามาประยุกต์ใช้เพื่อผลประโยชน์
ของชาติ”
ปี 2544 จรวดขับดัน “อัคนี” ของอินเดีย ประสบความล้มเหลวใน
การจุดระเบิดท่ามกลางสักขีพยานจานวนมากที่เชิญมาร่วมพิธี วันที่ 15 เมษายน
2553 จรวดขับดัน GSLV-D3 ซึ่งจะนาดาวเทียมสื่อสารขึ้นสู่วงโคจร ระเบิด
หลังจากขึ้นจากฐานปล่อยไม่นาน วันที่ 25 ธันวาคม 2553 จรวดขับดัน GSLV
ซึ่งจะนาดาวเทียมสื่อสารขึ้นสู่วงโคจร ระเบิดหลังขึ้นจากฐานปล่อย 47.5 วินาที
เป็นความล้มเหลวลาดับที่ 8 ของโลกในอุบัติเหตุการปล่อยจรวดขึ้นสู่อวกาศใน
รอบปี 2553
นักปรัชญาของจีนกล่าวว่า
“การเดินทางหลายพันลี้ เริ่มจากการก้าวเท้าที่ก้าวแรก”
บทบรรณาธิการนี้ เขียนเนื่องในโอกาสที่กาลังประเมินการขอรับทุน
วิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง ประจาปี 2557 ขอให้กาลังใจ
นักวิจัยและหวังว่าเมื่อท่านได้โอกาสสาหรับวันเริ่มต้นแล้ว ก็คงมีสักวันที่จะได้
เฉลิมฉลองด้วยกัน
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
คงมีสักวัน ถ้ามีสักวัน
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
1 - 2 พ.ย. 57 ขอเชิญท่านผู้สนใจเข้าร่วมฟังการ
บรรยายเชิงปฏิบัติการ โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนา
บุคลากรเพื่อเป็นผู้สอนด้านวิศวกรรมการจัดการ ระบบขนส่ง
ทางราง ครั้งที่ 1 เรื่อง "ระบบขนส่งทางรางในเมือง (Urban Rail Transit)" โดย
Peter Gillen (Rail systems operations specialist) เวลา 8.30 – 16.00 น. ณ
ห้องแพลตทินั่ม ชั้น 3 โรงแรม แกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน จัดโดยคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) การบรรยายเชิงปฏิบัติการ
ครั้งนี้จัดสาหรับอาจารย์ และนักวิจัยที่เกี่ยวข้องในระบบขนส่งทางราง บรรยายเป็น
ภาษาอังกฤษ รับสมัครจานวน 30 คน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียน
สาหรับผู้สนใจ กรุณากรอกรายละเอียดและยืนยันการเข้าร่วมอบรมภายในวันที่ 20
ต.ค.57 ที่ http://goo.gl/forms/7R7bHUlnt2
23 - 24 ต.ค. 57 พบกับงาน 12th RailWorld Summit 2014 เวลา
9.00 - 17.00 น. ณ ห้อง Boutique exhibition visits โรงแรม Lebua
At State Tower Bangkok แหล่งรวมอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง
แห่งเอเชียแปซิฟิก งานยิ่งใหญ่ที่สุดของการลงทุนทางด้านเทคโนโลยี และ
โครงการในปัจจุบันและอนาคตของระบบขนส่งทางราง โดยมีวิทยากรทั้ง
ไทยและต่างประเทศ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม และสารองที่นั่งได้ที่
www.cdmc.org.cn/2014/rwsa
กองบรรณาธิการ
จรวดขับดันยานสารวจอังคารถูกปล่อยออกจากฐานปล่อยที่เกาะศรีหริโกตะ
อินเดีย
นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรของ ISRO ที่ศูนย์ควบคุมอวกาศเมืองบังกาลอร์ แสดง
ความยินดีในวันที่ยานสารวจเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคาร
ปฏิเสธไม่ได้ว่าประเทศเล็กๆอย่าง สาธารณรัฐเกาหลี ได้มีการพัฒนา
อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกได้อย่างก้าวกระโดด จนปัจจุบันเป็นเจ้าของแบรนด์ชั้น
นาระดับโลกจานวนมาก โดยเฉพาะสินค้าด้านเทคโนโลยีที่สามารถเทียบชั้นกับแบ
รนด์ระดับโลกทั้งจากสหรัฐอเมริกา ยุโรปและญี่ปุ่น สิ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนสาคัญ
นอกจากการบริหารประเทศที่มีประสิทธิภาพแล้ว การพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการ
มุ่งมั่นสร้างองค์ความรู้ผ่านงานวิจัยและนวัตกรรม นับว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจที่ควรจะ
นามาเรียนรู้เพื่อการนาไปประยุกต์ใช้เป็นอย่างยิ่ง
สาธารณรัฐเกาหลีมีการเปิดการเดินรถไฟครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899
ต่อมาช่วงต้นถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 สาธารณรัฐเกาหลีได้ประสบกับภาวะ
สงครามมาเป็นระยะเวลาต่อเนื่องยาวนาน ทาให้โครงสร้างพื้นฐานถูกทาลายลงเป็น
จานวนมาก ภายหลังสงครามจึงมีการบูรณะซ่อมแซมระบบรางของประเทศขนาน
ใหญ่ตั้งแต่ปี 1960 นับจากนั้นเป็นต้นมาสาธารณรัฐเกาหลีถือเป็นประเทศที่พัฒนา
ด้านระบบรางอย่างเป็นระบบ และประสบผลสาเร็จได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว
สามารถเปลี่ยนจากผู้ใช้ เป็นผู้ผลิตระดับแถวหน้าของโลกได้ภายในระยะเวลาเพียง
สองทศวรรษ ทั้งนี้ภายใต้การขับเคลื่อนของหน่วยงานวิจัยด้านระบบรางของ
ประเทศคือ Korean Railroad Research Institute (KRRI) KRRI ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี
1996 ภายใต้กฎหมายพิเศษ “National Railway Operations” ต่อมามีการออก
กฎหมายจากรัฐบาล เพื่อบริหารจัดการในการจัดสรรทุนวิจัยสาหรับสถาบันวิจัย
ต่างๆในประเทศเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นภายใต้กฎหมายชื่อ “Establishment
and Operations of Government Funded Research Institutes” ทาให้ในปี
ค.ศ. 1999 KRRI ก็ย้ายไปสังกัด Ministry of Knowledge Economy ภายใต้
องค์กร “Korea Research Council of Industrial Science & Technology
(IstK)” จวบจนปัจจุบัน
โดย ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา วศร. 3
ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :
KRRI มีพันธกิจหลักคือ “พัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟของประเทศผ่านการ
วิจัยและพัฒนาทั้งทางด้าน เทคโนโลยี การบริหารจัดการ นโยบายตลอดจนการ
นาไปประยุกต์ใช้” โดยมีบทบาทสาคัญต่อระบบรางของประเทศคือ
 การวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยี นโยบาย ความปลอดภัย และโลจิสติกส์
 การพัฒนาและการประยุกต์ใช้ ระบบรถไฟความเร็วสูง ระบบ Light Rail
Transit ระบบ Tilting Train
 การวางแผนพัฒนา การขยาย โครงข่ายระบบราง การเชื่อมต่อ
 การออกมาตรฐาน การกากับดูและและการออกใบอนุญาต
ปัจจุบัน KRRI มีเจ้าหน้าที่รวมทั้งสิ้น 398 คนในจานวนนี้ 358 คน
เป็นนักวิจัยโดยมีนักวิจัยด้านวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้าและเครื่องกลรวมกันถึง กว่า
80% ในปี ค.ศ. 2014 KRRI ได้รับงบประมาณสูงถึง 135 ล้านเหรียญ หรือ
ประมาณ 4,185 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น Private R&D funds 13% Govern-
ment R&D grants 35% และ R&D project funds 52% แสดงให้เห็นถึง
ศักยภาพในการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมได้เป็นอย่างดี
องค์ประกอบหลักที่เป็นส่วนสาคัญคือการสร้างความร่วมมือกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนในการวิจัยและพัฒนาด้านระบบราง
โดยรัฐบาลได้จัดตั้งเครือข่ายองค์กรที่ทาหน้าที่พัฒนาระบบรางของสาธารณรัฐ
เกาหลีโดยมี กระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภคและการขนส่งเป็นแกนหลัก ทา
หน้าที่วางนโยบายแผนการลงทุน กากับดูแล 4 หน่วยงานที่มีภาระหน้าที่ชัดเจน
คือ
1) KRRI – Korea Railroad Research Institute เป็นสถาบันวิจัยระบบราง
แห่งชาติ ที่ประกอบด้วยนักวิจัยในสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องพรั่งพร้อมด้วย
องค์ความรู้ เครื่องมือและห้องปฏิบัติการ
2) หน่วยงาน KRNA – Korea Rail Network Authority ทาหน้าที่วางแผน
โครงข่ายระบบราง รับผิดชอบงานวิศวกรรมและก่อสร้าง
3) KORAIL – Korea Railroad Corporation เป็นองค์กรที่ทาหน้าที่บริหาร
และจัดการเดินรถไฟและซ่อมบารุง
4) ผู้ประกอบการ/บริษัท ผู้ผลิตอุปกรณ์ชิ้นส่วนด้านวิศวกรรมล้อเลื่อน
สาหรับรถไฟและระบบราง
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
KRRI (Korean Railroad Research Institute)
พลังขับเคลื่อนระบบรางแห่งสาธารณรัฐเกาหลี : ตอนที่ 1
Page | 2
ประวัติศาสตร์รถไฟของสาธารณรัฐเกาหลี รถไฟสายแรกวิ่งให้บริการระหว่างเมือง
อินชอน และโซล เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อ เดือน กันยายน พ.ศ. 2442
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ประชุมคณะกรรมการโครงการสหกิจศึกษา
16 ก.ย. 57 เวลา 13.30-16.30 น. ประชุมคณะกรรมการ
พิจารณาข้อเสนอโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบ
ขนส่งทางรางปีที่ 2 (โครงการสหกิจศึกษา 2) เพื่อหารือถึงความ
คืบหน้าของโครงการซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดล โดย รศ.ดร.ภูมินท์
กิระวานิช วศร.2 ผู้บริหารงานโครงการ สาหรับปีที่สองจะรับ
นักศึกษาเข้าโครงการ 20 คน งบประมาณกว่า 1 ล้านบาท และกาหนดการดาเนินงานจะเลื่อน
ออกไปตามเวลาเปิดภาคการศึกษาซึ่งจะสอดคล้องกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชุมระดมสมองเรื่องระบบราง
18 ก.ย. 57 เวลา 09.00-12.00 น. สภาวิศวกรจัดประชุมระดม
สมองเพื่อเตรียมจัดการสัมมนาวิชาการเรื่อง ระบบรางปูทางสู่
อนาคตประเทศไทย ณ ที่ทาการสภาวิศวกร มีผู้เข้าร่วมจาก
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบรางรวมทั้งผู้แทนจากโครงการจัดตั้ง
สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หารือกับ รมว.คมนาคม เรื่อง ระบบขนส่งทางรางของไทย
19 ก.ย. 57 ณ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ดร.พิเชฐ
ดุรงคเวโรจน์ รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมด้วย
ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ชาตรี
ศรีไพพรรณ ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. และคุณนคร จันทศร
ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ได้เข้าพบ พล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง รมว.คมนาคม และ รอง
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่อหารือและรับความเห็นด้านนโยบายการพัฒนา
กาลังคน การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการสนับสนุนอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวเนื่องในระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย
งานสัมมนา Future Railway Communication Technology
19 ก.ย. 57 เวลา 13.00-17.00 น. ณ โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียว
ฟอร์จูน กทม. บริษัท Huawei Technologies (Thailand) จากัด
ร่วมกับ สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย และ สวทช.
โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง
แห่งชาติ ร่วมจัดงานสัมมนาความรู้เกี่ยวกับ GSM-R (Global System for Mobile Communi-
cation-Railway)
ดูงานศูนย์ฝึกอบรมบริษัท เอเอ็มอาร์ เอเชีย จากัด
30 ก.ย. 57 กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม
ของโครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้จัดการดู
งานที่ศูนย์ฝึกอบรมของบริษัท เอเอ็มอาร์
เอเชีย จากัด โดยมีการบรรยายในหัวข้อ
Communication for Railway, SCADA for Railway Solution,
Platform Screen Door มีผู้ร่วมกิจกรรม 20 คน
ประชุมโครงการศึกษาและออกแบบรถไฟความเร็วสูง
26 ก.ย. 57 สานักงานนโยบายและ
แผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จัด
ประชุมโครงการศึกษาและออกแบบ
รถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ –
ห น อ ง ค า ย ร ะ ย ะ ที่ 2 ( ช่ ว ง
นครราชสีมา–หนองคาย) ครั้งที่ 1 โครงการดังกล่าวดาเนินการโดย
กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาซึ่งมีบริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นส์
จากัด เป็นหัวหน้าทีม
Berlin InnoTrans 2014
23 - 26 ก.ย. 57 งาน Berlin
InnoTrans 2014 ณ กรุงเบอร์ลิน
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งจัดทุกๆ
สองปี เป็นนิทรรศการแสดงผลงาน
ระบบรางระดับโลกและเป็นแหล่งนัด
พบที่สาคัญของคนในวงการระบบราง ในปีนี้มีผู้ประกอบการกว่า
2,700 หน่วยงานมาร่วมจัดกิจกรรม มีผู้เกี่ยวข้องจากประเทศไทยไป
ร่วมชมงานหลายท่าน ในจานวนนั้นก็มีคณะของประธานกรรมการ
รถไฟแห่งประเทศไทยและผู้ผ่านหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน
วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) หลายท่าน เข้าร่วมงานด้วย
การประชุมหารือจัดกิจกรรมวิชาการเรื่องเทคนิคการออกแบบ
รถไฟความเร็วสูง
30 ก.ย. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้
เชิญผู้แทนจากบริษัทที่ปรึกษาซึ่ง
ทาการศึกษาออกแบบรถไฟความเร็วสูง 4
สาย ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ
(รฟท.,สนข.)และหน่วยงานภาคเอกชนที่
เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านระบบขนส่งทาง
รางมาร่วมประชุมเพื่อหารือแนวทางจัดกิจกรรมวิชาการด้านเทคนิค
ในการออกแบบรถไฟความเร็วสูงในปี 2558
Page | 3
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
คณะนักวิจัยเยี่ยมชมศูนย์รถจักรบางซื่อ
22 ก.ย. 57 เวลา 13.00 – 16.00 น. ผศ.ดร.สืบสกุล พิภพมงคล
ผศ.ดร.บุญชัย แสงเพชรงาม และคณะนักวิจัยจุฬาฯ เข้าเยี่ยมชม
ศูนย์ซ่อมบารุงรถจักรบางซื่อ ดูการทางานและการติดตั้งอุปกรณ์
ตรวจวัดของรถตรวจสภาพทาง EM120 และ EM80 เพื่อดูความ
เป็นไปได้ในการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดสาหรับโครงการพัฒนาต้นแบบรถตรวจสภาพทางของ
โครงการวิจัยที่ยื่นขอทุนวิจัย วช. ปี 57
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์
ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ วศร.1 ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ตามคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการของหน่วยงาน
รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคมของกระทรวงการคลังเพิ่มเติม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 21 ก.ค. 57 ที่
ผ่านมา ตกข่าวมาหลายเดือนเพราะเจ้าตัวไม่อยากให้เป็นข่าว
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร
กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล
ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th
นายศุภฤกษ์ สุดยอดประเสริฐ
อยู่ สนข. มาหลายปี ศุภฤกษ์ สุดยอด
ประเสริฐ วศร.1 ขยับไปเป็นประจา
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีตามคาสั่ง
สานักนายกรัฐมนตรีที่ 105/2557
ลงวันที่16 กันยายน 2557 และไปปฏิบัติหน้าที่ประจา
กระทรวงคมนาคม ตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 134/2557
ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2557
กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
สัมมนากรมการขนส่งทางราง
วันที่ 10 ต.ค. 57 เวลา 8.30-12.00 น. ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร
(สนข.) จัดการสัมมนารับฟังความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง "กรมการขนส่งทางรางเพื่อการขนส่งในอนาคต"
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Page | 4
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
การบรรยายพิเศษเรื่อง การจาลองผลระบบรถไฟฟ้าหลายขบวนเบื้องต้น
4 ต.ค. 57 เวลา 9.00-16.30 น. วศร.2 และ สวทช. โดยโครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดให้มีการบรรยายพิเศษเรื่อง "Introduction to Multi-
Train System Simulation" โดย รศ.ดร.ธนัตชัย กุลวรวานิชพงษ์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี มีผู้ให้ความสนใจร่วมงานกว่า 100 คน
ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม วศร.2 ในโอกาสได้เลื่อนตาแหน่งเป็น
รองผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
Railway Technical Research Institute (RTRI), JAPAN visit Thailand
วันที่ 7 ต.ค. 57 Dr. Yutaka SATO, General Manager, International Affairs, Railway Technical Research
Institute (RTRI), Japan และ Mr. Kenji HAMAMOTO, First Secretary, Embassy of Japan in Thailand เข้าพบหารือกับ
ผู้บริหาร สวทช. โดย รศ.ดร. วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) เป็นประธาน
ต้อนรับ และ รศ.ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ดร. ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (เนคเทค) ดร. กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ รอง
ผู้อานวยการศูนย์เนคเทค ให้เกียรติร่วมหารือ จากนั้นคณะ Dr. Yutaka SATO เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการศูนย์เนคเทค
ศูนย์เอ็มเทค และอาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (Innovation Cluster 2 : INC2) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
จ.ปทุมธานี เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ คณะเยี่ยมชมได้เดินทางไปดูงานโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ณ สถานีเตาปูน
ต่อมาในวันที่ 8 ต.ค. 57 ภาคเช้า คณะ Dr.Yutaka SATO เข้าพบหารือกับผู้บริหารและคณาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเยี่ยมชมสถานที่ของทางคณะ หลังจากนั้น ภาคบ่าย เดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์ซ่อมบารุงรถไฟฟ้า บมจ. ระบบ
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTS) ในการนี้ มีผู้ผ่านหลักสูตรอบรม วศร. ของทั้งสองหน่วยงานเข้าร่วมหารือและอานวยความสะดวกในการเยี่ยม
ชม ทั้งนี้ สวทช. โดยโครงการจัดตั้งสถาบันฯ เป็นเจ้าภาพเลี้ยงรับรองอาหารค่า Dr. Yutaka SATO และถือโอกาสเลี้ยงขอบคุณหน่วยงาน
ที่ให้ความอนุเคราะห์แก่งานของโครงการจัดตั้งสถาบันฯในรอบปี 2557 ซึ่งได้รับเกียรติจากผู้บริหาร สวทช. ดังกล่าวข้างต้น พร้อมผู้แทน
จากการรถไฟแห่งประเทศไทย และ บมจ. รถไฟฟ้ากรุงเทพ (BMCL) ร่วมเลี้ยงรับรองด้วย
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency

Más contenido relacionado

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 5

  • 1. วันที่ 25 พฤษภาคม 2504 จอห์น เอฟ เคนเนดี้ ประกาศวิสัยทัศน์ โครงการอวกาศว่า “ข้าพเจ้าเชื่อว่าก่อนที่จะสิ้นสุดทศวรรษนี้ประเทศนี้จะ ประสบความสาเร็จในการส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์และสามารถเดินทาง กลับได้อย่างปลอดภัย” วิสัยทัศน์นี้นาไปสู่แผนยุทธศาสตร์ในการจัดให้มี โครงการส่งมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศรวม 21 ครั้ง และบรรลุเป้าหมายสูงสุดในวันที่ 20 กรกฎาคม 2512 เมื่อ นีล อาร์มสตรอง ลงเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์ เพื่อบรรลุ วิสัยทัศน์นี้ รัฐบาลต้องใช้เงิน 24,000 ล้านเหรียญ ใช้เวลา 8 ปี มนุษย์อวกาศ เสียชีวิต 7 คน และทาให้เกิดการจ้างงานขึ้นในประเทศจานวน 420,000 คน เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2557 ชาวอินเดียได้เฉลิมฉลองเนื่องในโอกาส ที่ยานสารวจดาวอังคารเข้าสู่วงโคจรหลังถูกส่งขึ้นจากฐานปล่อยยานที่อินเดีย เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2556 องค์กรวิจัยด้านอวกาศของอินเดีย (ISRO) ก่อตั้งในปี 2512 ปี เดียวกับที่ นีล อาร์มสตรอง ลงเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ “พัฒนาเทคโนโลยีด้านอวกาศและนามาประยุกต์ใช้เพื่อผลประโยชน์ ของชาติ” ปี 2544 จรวดขับดัน “อัคนี” ของอินเดีย ประสบความล้มเหลวใน การจุดระเบิดท่ามกลางสักขีพยานจานวนมากที่เชิญมาร่วมพิธี วันที่ 15 เมษายน 2553 จรวดขับดัน GSLV-D3 ซึ่งจะนาดาวเทียมสื่อสารขึ้นสู่วงโคจร ระเบิด หลังจากขึ้นจากฐานปล่อยไม่นาน วันที่ 25 ธันวาคม 2553 จรวดขับดัน GSLV ซึ่งจะนาดาวเทียมสื่อสารขึ้นสู่วงโคจร ระเบิดหลังขึ้นจากฐานปล่อย 47.5 วินาที เป็นความล้มเหลวลาดับที่ 8 ของโลกในอุบัติเหตุการปล่อยจรวดขึ้นสู่อวกาศใน รอบปี 2553 นักปรัชญาของจีนกล่าวว่า “การเดินทางหลายพันลี้ เริ่มจากการก้าวเท้าที่ก้าวแรก” บทบรรณาธิการนี้ เขียนเนื่องในโอกาสที่กาลังประเมินการขอรับทุน วิจัยมุ่งเป้าด้านการคมนาคมขนส่งระบบราง ประจาปี 2557 ขอให้กาลังใจ นักวิจัยและหวังว่าเมื่อท่านได้โอกาสสาหรับวันเริ่มต้นแล้ว ก็คงมีสักวันที่จะได้ เฉลิมฉลองด้วยกัน EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : คงมีสักวัน ถ้ามีสักวัน ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 1 - 2 พ.ย. 57 ขอเชิญท่านผู้สนใจเข้าร่วมฟังการ บรรยายเชิงปฏิบัติการ โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนา บุคลากรเพื่อเป็นผู้สอนด้านวิศวกรรมการจัดการ ระบบขนส่ง ทางราง ครั้งที่ 1 เรื่อง "ระบบขนส่งทางรางในเมือง (Urban Rail Transit)" โดย Peter Gillen (Rail systems operations specialist) เวลา 8.30 – 16.00 น. ณ ห้องแพลตทินั่ม ชั้น 3 โรงแรม แกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน จัดโดยคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) การบรรยายเชิงปฏิบัติการ ครั้งนี้จัดสาหรับอาจารย์ และนักวิจัยที่เกี่ยวข้องในระบบขนส่งทางราง บรรยายเป็น ภาษาอังกฤษ รับสมัครจานวน 30 คน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียน สาหรับผู้สนใจ กรุณากรอกรายละเอียดและยืนยันการเข้าร่วมอบรมภายในวันที่ 20 ต.ค.57 ที่ http://goo.gl/forms/7R7bHUlnt2 23 - 24 ต.ค. 57 พบกับงาน 12th RailWorld Summit 2014 เวลา 9.00 - 17.00 น. ณ ห้อง Boutique exhibition visits โรงแรม Lebua At State Tower Bangkok แหล่งรวมอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง แห่งเอเชียแปซิฟิก งานยิ่งใหญ่ที่สุดของการลงทุนทางด้านเทคโนโลยี และ โครงการในปัจจุบันและอนาคตของระบบขนส่งทางราง โดยมีวิทยากรทั้ง ไทยและต่างประเทศ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อ่านข้อมูลเพิ่มเติม และสารองที่นั่งได้ที่ www.cdmc.org.cn/2014/rwsa กองบรรณาธิการ จรวดขับดันยานสารวจอังคารถูกปล่อยออกจากฐานปล่อยที่เกาะศรีหริโกตะ อินเดีย นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรของ ISRO ที่ศูนย์ควบคุมอวกาศเมืองบังกาลอร์ แสดง ความยินดีในวันที่ยานสารวจเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคาร
  • 2. ปฏิเสธไม่ได้ว่าประเทศเล็กๆอย่าง สาธารณรัฐเกาหลี ได้มีการพัฒนา อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกได้อย่างก้าวกระโดด จนปัจจุบันเป็นเจ้าของแบรนด์ชั้น นาระดับโลกจานวนมาก โดยเฉพาะสินค้าด้านเทคโนโลยีที่สามารถเทียบชั้นกับแบ รนด์ระดับโลกทั้งจากสหรัฐอเมริกา ยุโรปและญี่ปุ่น สิ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนสาคัญ นอกจากการบริหารประเทศที่มีประสิทธิภาพแล้ว การพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการ มุ่งมั่นสร้างองค์ความรู้ผ่านงานวิจัยและนวัตกรรม นับว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจที่ควรจะ นามาเรียนรู้เพื่อการนาไปประยุกต์ใช้เป็นอย่างยิ่ง สาธารณรัฐเกาหลีมีการเปิดการเดินรถไฟครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 ต่อมาช่วงต้นถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 สาธารณรัฐเกาหลีได้ประสบกับภาวะ สงครามมาเป็นระยะเวลาต่อเนื่องยาวนาน ทาให้โครงสร้างพื้นฐานถูกทาลายลงเป็น จานวนมาก ภายหลังสงครามจึงมีการบูรณะซ่อมแซมระบบรางของประเทศขนาน ใหญ่ตั้งแต่ปี 1960 นับจากนั้นเป็นต้นมาสาธารณรัฐเกาหลีถือเป็นประเทศที่พัฒนา ด้านระบบรางอย่างเป็นระบบ และประสบผลสาเร็จได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว สามารถเปลี่ยนจากผู้ใช้ เป็นผู้ผลิตระดับแถวหน้าของโลกได้ภายในระยะเวลาเพียง สองทศวรรษ ทั้งนี้ภายใต้การขับเคลื่อนของหน่วยงานวิจัยด้านระบบรางของ ประเทศคือ Korean Railroad Research Institute (KRRI) KRRI ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996 ภายใต้กฎหมายพิเศษ “National Railway Operations” ต่อมามีการออก กฎหมายจากรัฐบาล เพื่อบริหารจัดการในการจัดสรรทุนวิจัยสาหรับสถาบันวิจัย ต่างๆในประเทศเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นภายใต้กฎหมายชื่อ “Establishment and Operations of Government Funded Research Institutes” ทาให้ในปี ค.ศ. 1999 KRRI ก็ย้ายไปสังกัด Ministry of Knowledge Economy ภายใต้ องค์กร “Korea Research Council of Industrial Science & Technology (IstK)” จวบจนปัจจุบัน โดย ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา วศร. 3 ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง : KRRI มีพันธกิจหลักคือ “พัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟของประเทศผ่านการ วิจัยและพัฒนาทั้งทางด้าน เทคโนโลยี การบริหารจัดการ นโยบายตลอดจนการ นาไปประยุกต์ใช้” โดยมีบทบาทสาคัญต่อระบบรางของประเทศคือ  การวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยี นโยบาย ความปลอดภัย และโลจิสติกส์  การพัฒนาและการประยุกต์ใช้ ระบบรถไฟความเร็วสูง ระบบ Light Rail Transit ระบบ Tilting Train  การวางแผนพัฒนา การขยาย โครงข่ายระบบราง การเชื่อมต่อ  การออกมาตรฐาน การกากับดูและและการออกใบอนุญาต ปัจจุบัน KRRI มีเจ้าหน้าที่รวมทั้งสิ้น 398 คนในจานวนนี้ 358 คน เป็นนักวิจัยโดยมีนักวิจัยด้านวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้าและเครื่องกลรวมกันถึง กว่า 80% ในปี ค.ศ. 2014 KRRI ได้รับงบประมาณสูงถึง 135 ล้านเหรียญ หรือ ประมาณ 4,185 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น Private R&D funds 13% Govern- ment R&D grants 35% และ R&D project funds 52% แสดงให้เห็นถึง ศักยภาพในการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมได้เป็นอย่างดี องค์ประกอบหลักที่เป็นส่วนสาคัญคือการสร้างความร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนในการวิจัยและพัฒนาด้านระบบราง โดยรัฐบาลได้จัดตั้งเครือข่ายองค์กรที่ทาหน้าที่พัฒนาระบบรางของสาธารณรัฐ เกาหลีโดยมี กระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภคและการขนส่งเป็นแกนหลัก ทา หน้าที่วางนโยบายแผนการลงทุน กากับดูแล 4 หน่วยงานที่มีภาระหน้าที่ชัดเจน คือ 1) KRRI – Korea Railroad Research Institute เป็นสถาบันวิจัยระบบราง แห่งชาติ ที่ประกอบด้วยนักวิจัยในสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องพรั่งพร้อมด้วย องค์ความรู้ เครื่องมือและห้องปฏิบัติการ 2) หน่วยงาน KRNA – Korea Rail Network Authority ทาหน้าที่วางแผน โครงข่ายระบบราง รับผิดชอบงานวิศวกรรมและก่อสร้าง 3) KORAIL – Korea Railroad Corporation เป็นองค์กรที่ทาหน้าที่บริหาร และจัดการเดินรถไฟและซ่อมบารุง 4) ผู้ประกอบการ/บริษัท ผู้ผลิตอุปกรณ์ชิ้นส่วนด้านวิศวกรรมล้อเลื่อน สาหรับรถไฟและระบบราง EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) KRRI (Korean Railroad Research Institute) พลังขับเคลื่อนระบบรางแห่งสาธารณรัฐเกาหลี : ตอนที่ 1 Page | 2 ประวัติศาสตร์รถไฟของสาธารณรัฐเกาหลี รถไฟสายแรกวิ่งให้บริการระหว่างเมือง อินชอน และโซล เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อ เดือน กันยายน พ.ศ. 2442 Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
  • 3. ประชุมคณะกรรมการโครงการสหกิจศึกษา 16 ก.ย. 57 เวลา 13.30-16.30 น. ประชุมคณะกรรมการ พิจารณาข้อเสนอโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบ ขนส่งทางรางปีที่ 2 (โครงการสหกิจศึกษา 2) เพื่อหารือถึงความ คืบหน้าของโครงการซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดล โดย รศ.ดร.ภูมินท์ กิระวานิช วศร.2 ผู้บริหารงานโครงการ สาหรับปีที่สองจะรับ นักศึกษาเข้าโครงการ 20 คน งบประมาณกว่า 1 ล้านบาท และกาหนดการดาเนินงานจะเลื่อน ออกไปตามเวลาเปิดภาคการศึกษาซึ่งจะสอดคล้องกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชุมระดมสมองเรื่องระบบราง 18 ก.ย. 57 เวลา 09.00-12.00 น. สภาวิศวกรจัดประชุมระดม สมองเพื่อเตรียมจัดการสัมมนาวิชาการเรื่อง ระบบรางปูทางสู่ อนาคตประเทศไทย ณ ที่ทาการสภาวิศวกร มีผู้เข้าร่วมจาก องค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบรางรวมทั้งผู้แทนจากโครงการจัดตั้ง สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หารือกับ รมว.คมนาคม เรื่อง ระบบขนส่งทางรางของไทย 19 ก.ย. 57 ณ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมด้วย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. และคุณนคร จันทศร ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ได้เข้าพบ พล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง รมว.คมนาคม และ รอง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่อหารือและรับความเห็นด้านนโยบายการพัฒนา กาลังคน การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่องในระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย งานสัมมนา Future Railway Communication Technology 19 ก.ย. 57 เวลา 13.00-17.00 น. ณ โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียว ฟอร์จูน กทม. บริษัท Huawei Technologies (Thailand) จากัด ร่วมกับ สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย และ สวทช. โดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง แห่งชาติ ร่วมจัดงานสัมมนาความรู้เกี่ยวกับ GSM-R (Global System for Mobile Communi- cation-Railway) ดูงานศูนย์ฝึกอบรมบริษัท เอเอ็มอาร์ เอเชีย จากัด 30 ก.ย. 57 กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม ของโครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้จัดการดู งานที่ศูนย์ฝึกอบรมของบริษัท เอเอ็มอาร์ เอเชีย จากัด โดยมีการบรรยายในหัวข้อ Communication for Railway, SCADA for Railway Solution, Platform Screen Door มีผู้ร่วมกิจกรรม 20 คน ประชุมโครงการศึกษาและออกแบบรถไฟความเร็วสูง 26 ก.ย. 57 สานักงานนโยบายและ แผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จัด ประชุมโครงการศึกษาและออกแบบ รถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ – ห น อ ง ค า ย ร ะ ย ะ ที่ 2 ( ช่ ว ง นครราชสีมา–หนองคาย) ครั้งที่ 1 โครงการดังกล่าวดาเนินการโดย กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาซึ่งมีบริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นส์ จากัด เป็นหัวหน้าทีม Berlin InnoTrans 2014 23 - 26 ก.ย. 57 งาน Berlin InnoTrans 2014 ณ กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งจัดทุกๆ สองปี เป็นนิทรรศการแสดงผลงาน ระบบรางระดับโลกและเป็นแหล่งนัด พบที่สาคัญของคนในวงการระบบราง ในปีนี้มีผู้ประกอบการกว่า 2,700 หน่วยงานมาร่วมจัดกิจกรรม มีผู้เกี่ยวข้องจากประเทศไทยไป ร่วมชมงานหลายท่าน ในจานวนนั้นก็มีคณะของประธานกรรมการ รถไฟแห่งประเทศไทยและผู้ผ่านหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) หลายท่าน เข้าร่วมงานด้วย การประชุมหารือจัดกิจกรรมวิชาการเรื่องเทคนิคการออกแบบ รถไฟความเร็วสูง 30 ก.ย. 57 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้ เชิญผู้แทนจากบริษัทที่ปรึกษาซึ่ง ทาการศึกษาออกแบบรถไฟความเร็วสูง 4 สาย ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ (รฟท.,สนข.)และหน่วยงานภาคเอกชนที่ เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านระบบขนส่งทาง รางมาร่วมประชุมเพื่อหารือแนวทางจัดกิจกรรมวิชาการด้านเทคนิค ในการออกแบบรถไฟความเร็วสูงในปี 2558 Page | 3 EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) คณะนักวิจัยเยี่ยมชมศูนย์รถจักรบางซื่อ 22 ก.ย. 57 เวลา 13.00 – 16.00 น. ผศ.ดร.สืบสกุล พิภพมงคล ผศ.ดร.บุญชัย แสงเพชรงาม และคณะนักวิจัยจุฬาฯ เข้าเยี่ยมชม ศูนย์ซ่อมบารุงรถจักรบางซื่อ ดูการทางานและการติดตั้งอุปกรณ์ ตรวจวัดของรถตรวจสภาพทาง EM120 และ EM80 เพื่อดูความ เป็นไปได้ในการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดสาหรับโครงการพัฒนาต้นแบบรถตรวจสภาพทางของ โครงการวิจัยที่ยื่นขอทุนวิจัย วช. ปี 57 Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
  • 4. ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ วศร.1 ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) ตามคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการของหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคมของกระทรวงการคลังเพิ่มเติม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 21 ก.ค. 57 ที่ ผ่านมา ตกข่าวมาหลายเดือนเพราะเจ้าตัวไม่อยากให้เป็นข่าว สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th นายศุภฤกษ์ สุดยอดประเสริฐ อยู่ สนข. มาหลายปี ศุภฤกษ์ สุดยอด ประเสริฐ วศร.1 ขยับไปเป็นประจา สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีตามคาสั่ง สานักนายกรัฐมนตรีที่ 105/2557 ลงวันที่16 กันยายน 2557 และไปปฏิบัติหน้าที่ประจา กระทรวงคมนาคม ตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 134/2557 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2557 กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th สัมมนากรมการขนส่งทางราง วันที่ 10 ต.ค. 57 เวลา 8.30-12.00 น. ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จัดการสัมมนารับฟังความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง "กรมการขนส่งทางรางเพื่อการขนส่งในอนาคต" กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Page | 4 EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 555 ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557ประจาเดือนตุลาคม 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การบรรยายพิเศษเรื่อง การจาลองผลระบบรถไฟฟ้าหลายขบวนเบื้องต้น 4 ต.ค. 57 เวลา 9.00-16.30 น. วศร.2 และ สวทช. โดยโครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดให้มีการบรรยายพิเศษเรื่อง "Introduction to Multi- Train System Simulation" โดย รศ.ดร.ธนัตชัย กุลวรวานิชพงษ์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี มีผู้ให้ความสนใจร่วมงานกว่า 100 คน ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม ขอแสดงความยินดีกับ ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม วศร.2 ในโอกาสได้เลื่อนตาแหน่งเป็น รองผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) Railway Technical Research Institute (RTRI), JAPAN visit Thailand วันที่ 7 ต.ค. 57 Dr. Yutaka SATO, General Manager, International Affairs, Railway Technical Research Institute (RTRI), Japan และ Mr. Kenji HAMAMOTO, First Secretary, Embassy of Japan in Thailand เข้าพบหารือกับ ผู้บริหาร สวทช. โดย รศ.ดร. วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) เป็นประธาน ต้อนรับ และ รศ.ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ ที่ปรึกษาผู้อานวยการ สวทช. ดร. ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (เนคเทค) ดร. กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ รอง ผู้อานวยการศูนย์เนคเทค ให้เกียรติร่วมหารือ จากนั้นคณะ Dr. Yutaka SATO เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการศูนย์เนคเทค ศูนย์เอ็มเทค และอาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (Innovation Cluster 2 : INC2) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ คณะเยี่ยมชมได้เดินทางไปดูงานโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ณ สถานีเตาปูน ต่อมาในวันที่ 8 ต.ค. 57 ภาคเช้า คณะ Dr.Yutaka SATO เข้าพบหารือกับผู้บริหารและคณาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเยี่ยมชมสถานที่ของทางคณะ หลังจากนั้น ภาคบ่าย เดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์ซ่อมบารุงรถไฟฟ้า บมจ. ระบบ ขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTS) ในการนี้ มีผู้ผ่านหลักสูตรอบรม วศร. ของทั้งสองหน่วยงานเข้าร่วมหารือและอานวยความสะดวกในการเยี่ยม ชม ทั้งนี้ สวทช. โดยโครงการจัดตั้งสถาบันฯ เป็นเจ้าภาพเลี้ยงรับรองอาหารค่า Dr. Yutaka SATO และถือโอกาสเลี้ยงขอบคุณหน่วยงาน ที่ให้ความอนุเคราะห์แก่งานของโครงการจัดตั้งสถาบันฯในรอบปี 2557 ซึ่งได้รับเกียรติจากผู้บริหาร สวทช. ดังกล่าวข้างต้น พร้อมผู้แทน จากการรถไฟแห่งประเทศไทย และ บมจ. รถไฟฟ้ากรุงเทพ (BMCL) ร่วมเลี้ยงรับรองด้วย Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency