SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 63
Animal bite
✘ Snake bite
✘ Insect sting
✘ Rabies prophylaxis
Snake bite
ความแตกต่างระหว่างงูพิษกับงูไม่มีพิษ
งูจงอาง : King Cobra
งูเห่า : Siamese / Monocellate Cobra
งูเห่าพ่นพิษ : Spitting cobra
เปรียบเทียบลักษณะงูเห่าและงูจงอาง
http://www.pharmyaring.com/download/snakebite_pdf.pdf
เปรียบเทียบลักษณะงูเห่าและงูจงอาง
http://www.pharmyaring.com/download/snakebite_pdf.pdf
งูสามเหลี่ยม : Banded Krait
งูทับสมิงคลา : Malayan Krait
งูแมวเซา : Russell’s Viper
งูกะปะ : Malayan Pitviper
งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง : White-lipped Pitviper
งูทะเล
Investigation
✘ Neurotoxin: decrease peak flow
✘ Hematotoxin
✗ CBC: platelet ลดลง
✗ PT/INR: prolonged
✗ VCT หรือ 20WBCT: prolonged
✗ งูแมวเซามี DIC, AKI, F V & X activity ลดลง
✘ Myotoxin: AKI, rhabdomyolysis, hyperkalemia
Treatment
Prehospital
management
✘ pressure
immobilization
✘ ไม่ควรทาการขันชะเนาะ
✘ ไม่ควรดูด
Treatment
✘ ABC
✘ ATB: broad spectrum G+, G-, anaerobic
✗ PGS [50,000 - 100,000 U/kg/d q 6 hr]
✗ amoxicillin/clavulanate potassium (augmentin®)
✘ Tetanus prophylaxis แต่หลังจากไม่มีอาการทาง systemic
การพิจารณารับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
1. ผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงซึ่งบ่งว่าได้รับพิษเข้าสู่ร่างกาย (systemic
envenoming)
2. ผู้ป่วยเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก
3. ผู้ป่วยที่มีอาการเฉพาะที่รุนแรง
4. ผู้ป่วยที่มีอาการแสดงทั่วไปอื่นๆ เช่น เป็นลม หมดสติ ความดันโลหิตต่า หรือ
อาการแพ้พิษงู
การเฝ้าสังเกตอาการ
✘ งูที่มีพิษต่อระบบประสาท: ควรรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการ
24 ชั่วโมง
✘ งูพิษต่อระบบโลหิต: สังเกตอาการจนครบ 3 วันหลังถูกกัด pt ควรได้รับ
การตรวจร่างกาย CBC, VCT (หรือ PT) อย่างน้อยวันละครั้ง
✘ งูแมวเซา: ควรรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารน้า อาจมีอาการไตวาย
ควรตรวจ CBC, VCT เป็นระยะ ติดตาม urine output
2555_แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
Neurotoxin snake
1. ช่วยการหายใจเป็นหัวใจสาคัญ
✗ peak flow q 1 hr เป็นเวลา 12-24 hr
✗ I/C intubation
■ Dysphagia
■ Ptosis [palpebral fissure <0.5 cm]
■ Peak flow <200 L/min
■ Respiratory muscle fatigue
Neurotoxin snake
2. Antivenum: ลดระยะเวลาใช้เครื่องช่วยหายใจ
1) I/C: กล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่มีหนังตาตก, สงสัยงูทับสมิงคลาหรืองูสามเหลี่ยมกัด
2) dose: 10 vials ในงูเห่างูจงอาง และงูสามเหลี่ยม, 5 vials ในงูทับสมิงคลา
2555_แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
Hematotoxin snake
1. Bleeding precaution: ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6
ชั่วโมง หากยังมีภาวะเลือดออก หรือ VCT ยังผิดปกติ สามารถให้เซรุ่มแก้
พิษงูซ้าได้อีก จน VCT ปกติ หลังจากนั้นควรทา VCT ซ้าอีกประมาณ 24
ชั่วโมง โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก
Hematotoxin snake
2. Antivenum
1) I/C
■ Systemic bleeding
■ VCT >20 min, unclotted 20WBCT, PT prolong, INR
>1.2
■ platelet <50,000 /μL
■ Compartment syndrome
2) dose: 3-5 vials ในงูแมวเซาและงูกะปะ 3 vials ในงูเขียวหางไหม้
Myotoxin snake
✘ ไม่มี antivenum
✘ Rx: AKI, rhabdomyolysis, hyperkalemia
Insect sting
Wasps, bees, and stinging ants
(Hymenoptera)
Wasps, bees, and stinging ants
(hymenoptera)
Clinical Features
✘ Local reactions
✗ pain, erythema, edema, and pruritus at the sting site
✘ Systemic reactions
✗ urticaria, angioedema, hypotension, and bronchospasm
✗ massive envenomation may develop severe vomiting,
diarrhea, rhabdomyolysis, myocardial injury, hepatic failure,
and renal failure
✘ Delayed reactions
✗ 5-14 days post-envenomation, infrequently occur, but
resemble serum sickness
✗ characterized by fever, malaise, headache, urticaria,
lymphadenopathy, and polyarthritis
Anaphylaxis
Clinical Features
✘ Majority: within 60 min
✘ biphasic phenomenon
✗ 3-20% of patients
✗ caused by a second phase of mediator release, peaking 8-
11 hours after the initial exposure and exhibiting itself
clinically 3-4 hours after the initial clinical manifestations
have cleared
✘ late-phase allergic reaction
✗ primarily mediated by the release of newly generated
cysteinyl leukotrienes, the former slow-reacting substance of
anaphylaxis
Anaphylaxis
✘ Serum tryptase levels
Tintinalli's Emergency Medicine, 8/E
Wasps, bees, and stinging ants
(hymenoptera)
Emergency Department
Care and Disposition
✘ ABC
✘ The stinger should
be removed after
the patient has been
stabilized.
✘ Oral antihistamines
and analgesics
Anaphylaxis
First-Line Therapy Adult dose
Epinephrine IM: 0.3–0.5 milligram (0.3–0.5 mL
of 1:1000 dilution); or EpiPen®
0.3 milligram epinephrine (or
equivalent preformulated product)
IV bolus: 100 micrograms over 5–
10 min; mix 0.1 milligram (0.1 mL
of 1:1000 dilution) in 10 mL NS
and infuse over 5–10 min
IV infusion: start at 1
microgram/min; mix 1 milligram (1
mL of 1:1000 dilution)
in 500 mL NS and infuse at 0.5
mL/min; titrate dose as needed
Anaphylaxis
First-Line Therapy Adult dose
Oxygen Titrate to Sao2 ≥90%
IV fluids: NS or LR 1–2 L bolus
Anaphylaxis
Second-Line Therapy Adult dose
H1 Blockers
Diphenhydramine 25–50 milligrams every 6 h IV, IM, or
PO
H2 Blockers
Ranitidine 50 milligrams IV over 5 min
Cimetidine 300 milligrams IV
Anaphylaxis
Second-Line Therapy Adult dose
Corticosteroids
Hydrocortisone 250–500 milligrams IV
Methylprednisolone 80–125 milligrams IV
Prednisone 40–60 milligrams/d PO divided twice a
day or daily
To be used after initial IV dose (for
outpatients: 3–5 d; tapering not
required)
Wasps, bees, and stinging ants
(hymenoptera)
Emergency Department Care and Disposition
✘ Patients with a single sting who have only
minor symptoms can be discharged home
after a period of observation.
✘ For patients with multiple stings, disposition is
as follows:
a. Admit if more than 100 stings, substantial comorbidities,
extremes of age, or severe systemic manifestations
b. Patients with <100 stings, and who remain asymptomatic
without laboratory evidence of complications (e.g., no
rhabdomyolysis and normal renal function) following an
observation period of 6 hours can be discharged from the ED.
Rabies Prophylaxis
การให้ยาปฏิชีวนะ
✘ ป้องกันการติดเชื้อประมาณ 3-5 วัน
✘ พิจารณาในกรณีบาดแผลขนาดใหญ่ บาดแผลบริเวณนิ้วมือ มือ ใบหน้า
บาดแผลลึกถึงกระดูก ผู้ป่วยมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยไตวาย เบาหวาน
ควบคุมไม่ดี ตับแข็ง ผู้ป่วยตัดม้ามแล้ว
✘ Amoxicillin
การให้วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก
WHO category
ระดับความเสี่ยง ลักษณะการสัมผัส
Category I สัมผัสสัตว์โดยผิวหนังปกติ ไม่มีบาดแผล
Category II สัตว์กัดหรือข่วนเป็นรอยช้า เป็นแผลถลอก
สัตว์เลียบาดแผล
บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัข
บ้าโดยไม่ทาให้สุก
Category III สัตว์กัดหรือข่วนทะลุผ่านผิวหนัง มีเลือดออกชัดเจน
น้าลายสัตว์ถูกเยื่อบุหรือบาดแผลเปิด
ค้างคาวกัดหรือข่วน
Post-exposure prophylaxis (PEP)
Rabies vaccine
✘ PCEC: Rabipur®
✘ PVRV: Verorab®, Abhayrab®
✘ CPRV: Speeda®
✘ PDEV
✘ HDCV
Rabies vaccine
✘ IM: 1 amp d 0, 3, 7, 14, 28 หรือ 30
Rabies vaccine
✘ ID: 0.1 ml x 2 sites d 0, 3, 7, 28 หรือ 30
Rabies immune globulin
✘ Types
✗ ERIG: 40 IU/kg after skin test
✗ HRIG: 20 IU/kg
✘ ฉีดเร็วที่สุดในวันแรกพร้อมกับการให้วัคซีน
✘ ในกรณีที่ไม่สามารถให้อิมมูโนโกลบุลิน ควรพิจารณาให้ในวันถัดไปแต่ไม่ควร
ให้หลังวันที่ 7 ของการได้รับวัคซีนครั้งแรก
✘ ฉีดอิมมูโนโกลบุลินเฉพาะที่แผลทุกแผลให้มากที่สุดเท่าที่ทาได้โดยฉีดบริเวณ
ในและรอบบาดแผล
✘ ฉีดต้องไม่เกินปริมาณที่คานวณได้ตามน้าหนัก
Rabies immune globulin
✘ หากอิมมูโนโกลบุลินไม่เพียงพอสาหรับการฉีดทุกบาดแผล ให้เจือจางด้วย
NSS เป็น 2-3 เท่า
✘ ในกรณีที่มีการสัมผัสโรคที่ เยื่อบุตา อาจล้างตาโดยใช้ HRIG 1:10
(dilute ด้วย NSS)
✘ Intradermal skin test: เจือจาง ERIG เป็น1:100 ด้วย
NSS และใช้ 0.02 มล.อ่านผล 15 นาทีถือว่าผลบวกเมื่อ wheal
มากกว่า 10 มม.
Rabies immune globulin
✘ HRIG
✗ intradermal skin test ของ ERIG ให้ผลบวก
✗ เคยมีประวัติรับเซรุ่มม้า เช่น เซรุ่มแก้พิษงู มาก่อน
✗ ล้างตา
PEP for rabies-exposed individuals
who can document previous PrEP or
PEP
✘ ≤6 เดือน
✗ IM: 1 amp d 0
✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0
✘ >6 เดือน (ไม่คานึงว่าผู้ป่วยได้รับมานานเท่าใดก็ตาม)
✗ IM: 1 amp d 0, 3
✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0, 3
✗ ID: 0.1 ml x 4 sites d 0
✘ ไม่ต้องให้อิมมูโนโกลบุลิน
Pre-exposure rabies prophylaxis
(PrEP)
✘ ประชาชนทั่วไป
✗ IM: 1 amp d 0,7
✗ ID: 0.1 ml x 2 sites d 0, 7 or 21
✘ ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงในการสัมผัสโรคตลอดเวลาหรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
✗ IM: 1 amp d 0, 7, 21 or 28
✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0, 7, 21 or 28
Reference
✘ Tintinalli's Emergency Medicine: A
Comprehensive Study Guide, 8/E
✘ Tintinalli's Emergency Medicine Manual, 8/E
✘ แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2555
✘ หนังสือยาต้านพิษ 3
✘ แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
พ.ศ. 2561 และคาถามที่พบบ่อย
✘ Rabies vaccines and immunoglobulins: WHO
position
Animal bite

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 

La actualidad más candente (20)

ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Warning sign iicp
Warning sign iicpWarning sign iicp
Warning sign iicp
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 

Similar a Animal bite (10)

Nl ii '59 emergency
Nl ii '59 emergencyNl ii '59 emergency
Nl ii '59 emergency
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Ophthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guidelineOphthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guideline
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
 
Vaccine
VaccineVaccine
Vaccine
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Rabies 2561
Rabies 2561Rabies 2561
Rabies 2561
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 

Más de Paleenui Jariyakanjana

Environmental injuries part ii 2018 06 18
Environmental injuries part ii 2018 06 18Environmental injuries part ii 2018 06 18
Environmental injuries part ii 2018 06 18Paleenui Jariyakanjana
 
Initial Assessment and Management for Trauma
Initial Assessment and Management for TraumaInitial Assessment and Management for Trauma
Initial Assessment and Management for TraumaPaleenui Jariyakanjana
 
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015Paleenui Jariyakanjana
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
Observation medicine and clinical decision units
Observation medicine and clinical decision unitsObservation medicine and clinical decision units
Observation medicine and clinical decision unitsPaleenui Jariyakanjana
 

Más de Paleenui Jariyakanjana (20)

Covid 19
Covid 19Covid 19
Covid 19
 
Life support procedures
Life support proceduresLife support procedures
Life support procedures
 
Environmental injuries part ii 2018 06 18
Environmental injuries part ii 2018 06 18Environmental injuries part ii 2018 06 18
Environmental injuries part ii 2018 06 18
 
Trauma & bls
Trauma & blsTrauma & bls
Trauma & bls
 
Initial Assessment and Management for Trauma
Initial Assessment and Management for TraumaInitial Assessment and Management for Trauma
Initial Assessment and Management for Trauma
 
EMS & disaster response
EMS & disaster responseEMS & disaster response
EMS & disaster response
 
Life support procedures
Life support proceduresLife support procedures
Life support procedures
 
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015
ACLS: Management of Cardiac Arrest 2015
 
Cpr 2015
Cpr 2015Cpr 2015
Cpr 2015
 
Pediatric trauma
Pediatric traumaPediatric trauma
Pediatric trauma
 
Short note for ATLS 9th
Short note for ATLS 9thShort note for ATLS 9th
Short note for ATLS 9th
 
Cardiac arrest in pregnancy
Cardiac arrest in pregnancyCardiac arrest in pregnancy
Cardiac arrest in pregnancy
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
Toxicology
ToxicologyToxicology
Toxicology
 
Introduction to em
Introduction to emIntroduction to em
Introduction to em
 
Approach to the emergency patient
Approach to the emergency patientApproach to the emergency patient
Approach to the emergency patient
 
Injury prevention
Injury preventionInjury prevention
Injury prevention
 
61.systemic hypertension
61.systemic hypertension61.systemic hypertension
61.systemic hypertension
 
Observation medicine and clinical decision units
Observation medicine and clinical decision unitsObservation medicine and clinical decision units
Observation medicine and clinical decision units
 
Head injury & head ct
Head injury & head ctHead injury & head ct
Head injury & head ct
 

Animal bite

  • 2. ✘ Snake bite ✘ Insect sting ✘ Rabies prophylaxis
  • 5.
  • 6.
  • 8.
  • 9. งูเห่า : Siamese / Monocellate Cobra
  • 15.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. Investigation ✘ Neurotoxin: decrease peak flow ✘ Hematotoxin ✗ CBC: platelet ลดลง ✗ PT/INR: prolonged ✗ VCT หรือ 20WBCT: prolonged ✗ งูแมวเซามี DIC, AKI, F V & X activity ลดลง ✘ Myotoxin: AKI, rhabdomyolysis, hyperkalemia
  • 25. Treatment ✘ ABC ✘ ATB: broad spectrum G+, G-, anaerobic ✗ PGS [50,000 - 100,000 U/kg/d q 6 hr] ✗ amoxicillin/clavulanate potassium (augmentin®) ✘ Tetanus prophylaxis แต่หลังจากไม่มีอาการทาง systemic
  • 26. การพิจารณารับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล 1. ผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงซึ่งบ่งว่าได้รับพิษเข้าสู่ร่างกาย (systemic envenoming) 2. ผู้ป่วยเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก 3. ผู้ป่วยที่มีอาการเฉพาะที่รุนแรง 4. ผู้ป่วยที่มีอาการแสดงทั่วไปอื่นๆ เช่น เป็นลม หมดสติ ความดันโลหิตต่า หรือ อาการแพ้พิษงู
  • 27. การเฝ้าสังเกตอาการ ✘ งูที่มีพิษต่อระบบประสาท: ควรรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการ 24 ชั่วโมง ✘ งูพิษต่อระบบโลหิต: สังเกตอาการจนครบ 3 วันหลังถูกกัด pt ควรได้รับ การตรวจร่างกาย CBC, VCT (หรือ PT) อย่างน้อยวันละครั้ง ✘ งูแมวเซา: ควรรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารน้า อาจมีอาการไตวาย ควรตรวจ CBC, VCT เป็นระยะ ติดตาม urine output 2555_แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
  • 28. Neurotoxin snake 1. ช่วยการหายใจเป็นหัวใจสาคัญ ✗ peak flow q 1 hr เป็นเวลา 12-24 hr ✗ I/C intubation ■ Dysphagia ■ Ptosis [palpebral fissure <0.5 cm] ■ Peak flow <200 L/min ■ Respiratory muscle fatigue
  • 29. Neurotoxin snake 2. Antivenum: ลดระยะเวลาใช้เครื่องช่วยหายใจ 1) I/C: กล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่มีหนังตาตก, สงสัยงูทับสมิงคลาหรืองูสามเหลี่ยมกัด 2) dose: 10 vials ในงูเห่างูจงอาง และงูสามเหลี่ยม, 5 vials ในงูทับสมิงคลา 2555_แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
  • 30. Hematotoxin snake 1. Bleeding precaution: ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง หากยังมีภาวะเลือดออก หรือ VCT ยังผิดปกติ สามารถให้เซรุ่มแก้ พิษงูซ้าได้อีก จน VCT ปกติ หลังจากนั้นควรทา VCT ซ้าอีกประมาณ 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก
  • 31. Hematotoxin snake 2. Antivenum 1) I/C ■ Systemic bleeding ■ VCT >20 min, unclotted 20WBCT, PT prolong, INR >1.2 ■ platelet <50,000 /μL ■ Compartment syndrome 2) dose: 3-5 vials ในงูแมวเซาและงูกะปะ 3 vials ในงูเขียวหางไหม้
  • 32. Myotoxin snake ✘ ไม่มี antivenum ✘ Rx: AKI, rhabdomyolysis, hyperkalemia
  • 34. Wasps, bees, and stinging ants (Hymenoptera)
  • 35. Wasps, bees, and stinging ants (hymenoptera) Clinical Features ✘ Local reactions ✗ pain, erythema, edema, and pruritus at the sting site ✘ Systemic reactions ✗ urticaria, angioedema, hypotension, and bronchospasm ✗ massive envenomation may develop severe vomiting, diarrhea, rhabdomyolysis, myocardial injury, hepatic failure, and renal failure ✘ Delayed reactions ✗ 5-14 days post-envenomation, infrequently occur, but resemble serum sickness ✗ characterized by fever, malaise, headache, urticaria, lymphadenopathy, and polyarthritis
  • 36.
  • 37. Anaphylaxis Clinical Features ✘ Majority: within 60 min ✘ biphasic phenomenon ✗ 3-20% of patients ✗ caused by a second phase of mediator release, peaking 8- 11 hours after the initial exposure and exhibiting itself clinically 3-4 hours after the initial clinical manifestations have cleared ✘ late-phase allergic reaction ✗ primarily mediated by the release of newly generated cysteinyl leukotrienes, the former slow-reacting substance of anaphylaxis
  • 38. Anaphylaxis ✘ Serum tryptase levels Tintinalli's Emergency Medicine, 8/E
  • 39. Wasps, bees, and stinging ants (hymenoptera) Emergency Department Care and Disposition ✘ ABC ✘ The stinger should be removed after the patient has been stabilized. ✘ Oral antihistamines and analgesics
  • 40. Anaphylaxis First-Line Therapy Adult dose Epinephrine IM: 0.3–0.5 milligram (0.3–0.5 mL of 1:1000 dilution); or EpiPen® 0.3 milligram epinephrine (or equivalent preformulated product) IV bolus: 100 micrograms over 5– 10 min; mix 0.1 milligram (0.1 mL of 1:1000 dilution) in 10 mL NS and infuse over 5–10 min IV infusion: start at 1 microgram/min; mix 1 milligram (1 mL of 1:1000 dilution) in 500 mL NS and infuse at 0.5 mL/min; titrate dose as needed
  • 41. Anaphylaxis First-Line Therapy Adult dose Oxygen Titrate to Sao2 ≥90% IV fluids: NS or LR 1–2 L bolus
  • 42. Anaphylaxis Second-Line Therapy Adult dose H1 Blockers Diphenhydramine 25–50 milligrams every 6 h IV, IM, or PO H2 Blockers Ranitidine 50 milligrams IV over 5 min Cimetidine 300 milligrams IV
  • 43. Anaphylaxis Second-Line Therapy Adult dose Corticosteroids Hydrocortisone 250–500 milligrams IV Methylprednisolone 80–125 milligrams IV Prednisone 40–60 milligrams/d PO divided twice a day or daily To be used after initial IV dose (for outpatients: 3–5 d; tapering not required)
  • 44. Wasps, bees, and stinging ants (hymenoptera) Emergency Department Care and Disposition ✘ Patients with a single sting who have only minor symptoms can be discharged home after a period of observation. ✘ For patients with multiple stings, disposition is as follows: a. Admit if more than 100 stings, substantial comorbidities, extremes of age, or severe systemic manifestations b. Patients with <100 stings, and who remain asymptomatic without laboratory evidence of complications (e.g., no rhabdomyolysis and normal renal function) following an observation period of 6 hours can be discharged from the ED.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49. การให้ยาปฏิชีวนะ ✘ ป้องกันการติดเชื้อประมาณ 3-5 วัน ✘ พิจารณาในกรณีบาดแผลขนาดใหญ่ บาดแผลบริเวณนิ้วมือ มือ ใบหน้า บาดแผลลึกถึงกระดูก ผู้ป่วยมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยไตวาย เบาหวาน ควบคุมไม่ดี ตับแข็ง ผู้ป่วยตัดม้ามแล้ว ✘ Amoxicillin
  • 51. WHO category ระดับความเสี่ยง ลักษณะการสัมผัส Category I สัมผัสสัตว์โดยผิวหนังปกติ ไม่มีบาดแผล Category II สัตว์กัดหรือข่วนเป็นรอยช้า เป็นแผลถลอก สัตว์เลียบาดแผล บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัข บ้าโดยไม่ทาให้สุก Category III สัตว์กัดหรือข่วนทะลุผ่านผิวหนัง มีเลือดออกชัดเจน น้าลายสัตว์ถูกเยื่อบุหรือบาดแผลเปิด ค้างคาวกัดหรือข่วน
  • 52.
  • 53.
  • 54. Post-exposure prophylaxis (PEP) Rabies vaccine ✘ PCEC: Rabipur® ✘ PVRV: Verorab®, Abhayrab® ✘ CPRV: Speeda® ✘ PDEV ✘ HDCV
  • 55. Rabies vaccine ✘ IM: 1 amp d 0, 3, 7, 14, 28 หรือ 30
  • 56. Rabies vaccine ✘ ID: 0.1 ml x 2 sites d 0, 3, 7, 28 หรือ 30
  • 57. Rabies immune globulin ✘ Types ✗ ERIG: 40 IU/kg after skin test ✗ HRIG: 20 IU/kg ✘ ฉีดเร็วที่สุดในวันแรกพร้อมกับการให้วัคซีน ✘ ในกรณีที่ไม่สามารถให้อิมมูโนโกลบุลิน ควรพิจารณาให้ในวันถัดไปแต่ไม่ควร ให้หลังวันที่ 7 ของการได้รับวัคซีนครั้งแรก ✘ ฉีดอิมมูโนโกลบุลินเฉพาะที่แผลทุกแผลให้มากที่สุดเท่าที่ทาได้โดยฉีดบริเวณ ในและรอบบาดแผล ✘ ฉีดต้องไม่เกินปริมาณที่คานวณได้ตามน้าหนัก
  • 58. Rabies immune globulin ✘ หากอิมมูโนโกลบุลินไม่เพียงพอสาหรับการฉีดทุกบาดแผล ให้เจือจางด้วย NSS เป็น 2-3 เท่า ✘ ในกรณีที่มีการสัมผัสโรคที่ เยื่อบุตา อาจล้างตาโดยใช้ HRIG 1:10 (dilute ด้วย NSS) ✘ Intradermal skin test: เจือจาง ERIG เป็น1:100 ด้วย NSS และใช้ 0.02 มล.อ่านผล 15 นาทีถือว่าผลบวกเมื่อ wheal มากกว่า 10 มม.
  • 59. Rabies immune globulin ✘ HRIG ✗ intradermal skin test ของ ERIG ให้ผลบวก ✗ เคยมีประวัติรับเซรุ่มม้า เช่น เซรุ่มแก้พิษงู มาก่อน ✗ ล้างตา
  • 60. PEP for rabies-exposed individuals who can document previous PrEP or PEP ✘ ≤6 เดือน ✗ IM: 1 amp d 0 ✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0 ✘ >6 เดือน (ไม่คานึงว่าผู้ป่วยได้รับมานานเท่าใดก็ตาม) ✗ IM: 1 amp d 0, 3 ✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0, 3 ✗ ID: 0.1 ml x 4 sites d 0 ✘ ไม่ต้องให้อิมมูโนโกลบุลิน
  • 61. Pre-exposure rabies prophylaxis (PrEP) ✘ ประชาชนทั่วไป ✗ IM: 1 amp d 0,7 ✗ ID: 0.1 ml x 2 sites d 0, 7 or 21 ✘ ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงในการสัมผัสโรคตลอดเวลาหรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ✗ IM: 1 amp d 0, 7, 21 or 28 ✗ ID: 0.1 ml x 1 site d 0, 7, 21 or 28
  • 62. Reference ✘ Tintinalli's Emergency Medicine: A Comprehensive Study Guide, 8/E ✘ Tintinalli's Emergency Medicine Manual, 8/E ✘ แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2555 ✘ หนังสือยาต้านพิษ 3 ✘ แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า สถานเสาวภา สภากาชาดไทย พ.ศ. 2561 และคาถามที่พบบ่อย ✘ Rabies vaccines and immunoglobulins: WHO position

Notas del editor

  1. ไม่แนะนำให้ทำ skin test 20WBCT: blood 2 ml
  2. Simons FER, Ardusso LRF, Bilo MB, El-Gamal YM, Ledford DK, Ring J, et al. World Allergy Organization Anaphylaxis Guidelines: Summary. J Allergy Clin Immunol. 2011;127(3):587–93.
  3. Exhibit: จัดแสดง
  4. Pediatric dose: IV infusion: 0.1–0.3 microgram/kg per min; titrate dose as needed; maximum, 1.5 micrograms/kg per min