SlideShare a Scribd company logo
1 of 250
Download to read offline
กองการทองเที่ยว
สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร

แผนพัฒนาการทองเที่ยว

กรุงเทพมหานคร
๒๕๕๔-๒๕๕๘

รายงานฉบับสมบูรณ
รายงานฉบับสมบูรณ์

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2554-2558
เลขที่ ISBN 978-616-272-016-1

รายงานฉบับสมบูรณ์

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
พิมพ์ครั้งที่ 1
เดือนมกราคม 2555
จ�ำนวน 500 เล่ม
จ�ำนวน 235 หน้า
ลิขสิทธิ์เป็นของ
กองการท่องเที่ยว
ส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานคร
เลขที่ 17/1 ถนนพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร 10200
โทรศัพท์/โทรสาร 0-2225-7614
Website : www.bangkoktourist.com
ศึกษาและจัดท�ำโดย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
114 สุขุมวิท 23 คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพ 10110
โทรศัพท์ 0-2664-1000 โทรสาร 0-2258-0311
website : www.swu.ac.th
ค�ำน�ำ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว น�ำมาซึ่งรายได้ให้แก่
พี่น้องประชาชนและประเทศชาติเป็นจ�ำนวนมาก ในท่ามกลางสถานการณ์การท่องเที่ยวของโลก
ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในสังคมโลกปัจจุบัน ท�ำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีการแข่งขันกัน
ในระดับสูงทั้งด้านการพัฒนาทรัพ ยากรการท่ อ งเที่ ย ว การประชาสั ม พั น ธ์ การตลาดทั้ ง ในและ
ต่างประเทศ การพัฒนาการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการท่องเที่ยว การก�ำหนด
มาตรการรักษาความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาการให้บริการที่เป็นเลิศ
กรุ ง เทพมหานครได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากผู ้ อ ่ า นนิ ต ยสาร Travel & Leisure ให้ เ ป็ น
เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลก ถึง 3 ครั้ง คือ ในปี พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2554 โดยมี
ปัจจัยการคัดเลือก ทีสำคัญคือ สถานทีและทัศนียภาพทีสวยงาม เอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมประเพณี
่�
่
่
อาหารและแหล่งจับจ่าย ความเป็นมิตรไมตรีของผูคน และความคุมค่าของเงินทีใช้จาย กรุงเทพมหานคร
้
้
่ ่
ตระหนักถึงความส�ำคัญของการส่งเสริม อนุรกษ์และการพัฒนาการท่องเทียว ซึงเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนา
ั
่ ่
เศรษฐกิจของประเทศ จึงได้จัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น กรอบในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร
“มุงสูมหานครท่องเทียวทีดทสด” เพือเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเทียวทัวโลก โดยมียทธศาสตร์
่ ่
่ ่ ี ี่ ุ
่
่ ่
ุ
ในการขับเคลื่อน 5 ด้าน ประกอบด้วย การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์
และยั่งยืน การพัฒนาและส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกบริหารจัดการ
การท่องเที่ยวเชิงเครือข่าย การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ทางด้านการท่องเที่ยว และการพัฒนา
คุณภาพบริการด้านการท่องเที่ยว
	ผมหวังเป็นอย่างยิงว่า แผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 จะเป็น
่
่
กรอบและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ได้อย่างสร้างสรรค์และ
ยั่งยืน น�ำมาซึ่งรอยยิ้มและความประทับใจของผู้มาเยือนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติตลอดไป

(หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร)
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
สารบัญ
หน้า
ค�ำน�ำ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนผัง
สารบัญแผนภูมิ
สารบัญแผนที่	
บทที่ 1		บทน�ำ	
									1.1	 หลักการและเหตุผล	
									1.2	 วัตถุประสงค์โครงการ	
									1.3	 เป้าหมายของโครงการ	
									1.4	 ลักษณะโครงการ	
บทที่ 2		กรอบแนวคิดการศึกษา	
									2.1	 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว	
														 กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558	
									2.2	 แนวทางการด�ำเนินโครงการ	
									2.3	 พื้นที่ศึกษา	
									2.4	 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
บทที่ 3		สถานการณ์การท่องเที่ยว
									3.1	 สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก	
									3.2	 แนวโน้มการท่องเที่ยวของประเทศไทย	
									3.3	 สถานการณ์การท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร	
									3.4	 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของ	
														 กรุงเทพมหานคร	
									3.5	 แนวโน้มการพัฒนาเมืองท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ	
บทที่ 4		พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติใน
									กรุงเทพมหานคร
									4.1	 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย	
		4.2	 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ	

1
3
4
4
5
6	
9
9
30
32
37
44
46

50
64
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 5		ทัศนคติของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว
									กรุงเทพมหานคร	
									5.1	 ข้อมูลส่วนบุคคลของชาวกรุงเทพมหานครในกลุ่มตัวอย่าง	
									5.2	 ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนา	
														 การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน	
									5.3	 การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนา	
														 การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในอนาคต	
									5.4	 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
									5.5	 แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเพื่อสร้างทัศนคติที่ดี	
														 ต่อการร่วมพัฒนา
บทที่ 6		การวิเคราะห์ศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร	
									6.1	 ศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวในแต่ละเขตของ	
														 กรุงเทพมหานคร	
	6.2		 ประเภทแหล่งท่องเที่ยว	
								6.3		 การขยายตัวของเมืองในการรองรับการท่องเที่ยว	
บทที่ 7		ศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร	
									7.1	 ศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
									7.2	 แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยว
														 กรุงเทพมหานครที่เหมาะสม ทั้งในระดับส่วนกลางและ	
														 ในระดับเขต	
บทที่ 8		บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร	
									8.1	 บทบาทของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว	
														 กรุงเทพมหานคร	
									8.2	 ข้อจ�ำกัดของหน่วยงานต่างๆ ต่อการพัฒนาการท่องเทียว	
่
														 กรุงเทพมหานคร	
									8.3	 โอกาสของหน่วยงานต่างๆ ต่อการพัฒนาการท่องเทียว	
่
														 กรุงเทพมหานคร	
บทที่ 9		กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
									9.1	 การสังเคราะห์กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับ	
														 การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร

77
79
82
86
88

91
100
109
113
132

134
150
150

151
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 10		แผนยุทธศาสตร์และนโยบายที่เกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของ
										 กรุงเทพมหานคร	
										 10.1	 การสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์และนโยบายที่เกี่ยวกับ	
															 การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
										 10.2 	ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว	
															 ของประเทศและของกรุงเทพมหานครตามแผนยุทธศาสตร์
															 ต่างๆ

157
193

บทที่ 11		แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558	
										 11.1	 หลักการและเหตุผล	
										 11.2	 วิสัยทัศน์	
										 11.3	 พันธกิจ	
	11.4	 เป้าประสงค์การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
	11.5	 ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน	
															 ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
										 11.6	 เครือข่ายการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร	
										 11.7	 เครือข่ายการท่องเที่ยวเชื่อมโยงของกรุงเทพมหานคร 	

214
223

บทที่ 12		การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล
											12.1	 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ	
											12.2	 การติดตามและประเมินผล	

226
227

บรรณานุกรม			
	
คณะผู้จัดท�ำ			

	

203
205
205
205
205

229
232
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1.1		
															
															
ตารางที่ 2.1		
ตารางที่ 3.1		
															
ตารางที่ 3.2		
															
ตารางที่ 3.3		
															
ตารางที่ 3.4		
															
ตารางที่ 3.5		
															
ตารางที่ 3.6		
															
ตารางที่ 3.7		
															
ตารางที่ 3.8 		
															
ตารางที่ 3.9		
															
ตารางที่ 3.10		
															
ตารางที่ 3.11		
															
ตารางที่ 3.12		
															
ตารางที่ 3.13		
															
ตารางที่ 4.1		
ตารางที่ 4.2		
															
ตารางที่ 4.3		
ตารางที่ 4.4		

ผลการส�ำรวจเมืองที่ดีที่สุดในโลก เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุด	
ในโลกและ เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดของเอเชีย โดยนิตยสาร
ทราเวล แอนด์ เลเชอร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2553	
สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
จ�ำนวนนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง	
ปี พ.ศ. 2546-2550	
จ�ำนวนวันพักของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง	
ปี พ.ศ. 2548-2550	
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง	
ปี พ.ศ. 2548-2550	
จ�ำนวนครั้งการท่องเที่ยวต่อปีของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
ระหว่างปี พ.ศ. 2548-2550	
รายได้จากนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง	
ปี พ.ศ. 2548-2550	
ถิ่นที่อยู่ของนักท่องเที่ยวชาวไทยของกรุงเทพมหานคร	
ปี พ.ศ. 2550	
ถิ่นที่อยู่ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติของกรุงเทพมหานคร	
ปี พ.ศ. 2550	
ลักษณะการเดินทางของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
ปี พ.ศ. 2550	
สถานที่พักแรมของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
ปี พ.ศ. 2550	
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวไทย	
ในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 	
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ	
ในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 	
สถิตินักท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครระหว่าง	
ปี พ.ศ. 2540-2553	
ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของ	
กรุงเทพมหานคร	
ข้อมูลส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยวชาวไทยในกลุ่มตัวอย่าง	
พฤติกรรมการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยว	
ชาวไทย	
รูปแบบการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบ	
สถานที่ท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยวสนใจ	

13
38
49
49
50
50
50
51
51
51
52
52
53
53
55
60
63
65
66
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 4.5		
															
ตารางที่ 4.6		
															
ตารางที่ 4.7		
															
ตารางที่ 4.8 		
ตารางที่ 4.9		
ตารางที่ 4.10		
															
ตารางที่ 4.11 	
															
ตารางที่ 4.12 	
															
ตารางที่ 4.13		
															
ตารางที่ 5.1 		
ตารางที่ 5.2 		
															
ตารางที่ 5.3 		
															
ตารางที่ 5.4 		
															
ตารางที่ 5.5 		
															
ตารางที่ 5.6 		
															
ตารางที่ 5.7 		
															
ตารางที่ 5.8 		
															
ตารางที่ 6.1 		
															
ตารางที่ 6.2 		
															

ความพร้อมในการให้บริการตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยว	
(6As) ของกรุงเทพมหานคร	
ความพร้อมในการให้บริการตามกลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว	
16Ps ของกรุงเทพมหานคร	
ระดับศักยภาพของสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร	
ตามองค์ประกอบ การท่องเที่ยว	
ข้อมูลส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในกลุ่มตัวอย่าง	
พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ	
สถานที่ท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยว	
ชาวต่างชาติสนใจ	
ความพร้อมในการให้บริการตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยว	
(6As) ของกรุงเทพมหานคร	
ความพร้อมในการให้บริการตามกลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว	
16Ps ของกรุงเทพมหานคร	
ระดับศักยภาพของสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร	
ตามองค์ประกอบการท่องเที่ยว	
ข้อมูลส่วนบุคคลของชาวกรุงเทพมหานครที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง	
ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนา	
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน	
ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง	
ด้านประชากรและการเมือง	
ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง	
ด้านนิเวศและสภาพแวดล้อม	
ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง	
ด้านเศรษฐกิจ	
ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง	
ด้านสังคมและวัฒนธรรม	
ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
ของคนในชุมชน	
ระดับการรับข่าวสารของชาวกรุงเทพมหานครผ่านสื่อ	
ประเภทต่างๆ	
ผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวที่โดดเด่นของแต่ละเขต	
ในกรุงเทพมหานคร	
สรุปศักยภาพของทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของเขตต่างๆ	
ในกรุงเทพมหานคร	

69
71
74
76
77
80
82
84
86
88
90
93
94
95
96
97
99
115
120
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 8.1 		 บทบาทของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร	
ตารางที่ 9.1 		 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับสถานบริการ	
															 ด้านการท่องเที่ยว	
ตารางที่ 9.2 		 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการก�ำหนดการใช้พื้นที่	
ตารางที่ 9.3 		 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารพื้นที่หรือ	
															 แหล่งท่องเที่ยว	
ตารางที่ 9.4 		 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ	
															 ธุรกิจท่องเที่ยว	
ตารางที่ 9.5 		 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารการท่องเที่ยว	
ตารางที่ 10.1		 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและกลยุทธ์ (ร่าง) แผนพัฒนา	
															 การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559	
ตารางที่ 10.2		 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและกลยุทธ์ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์	
															 กู้วิกฤติและมาตรการ กระตุ้นการท่องเที่ยว
															 พ.ศ. 2552-2555	
ตารางที่ 10.3	 	 ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร	
															 พ.ศ. 2552-2555	
ตารางที่ 11.1 	 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 1	
ตารางที่ 11.2		 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 2	
ตารางที่ 11.3		 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 3	
ตารางที่ 11.4		 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 4	
ตารางที่ 11.5 	 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว	
															 กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 5	
ตารางที่ 11.6		 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่โดดเด่นที่สุดในแต่ละเขตของ	
															 กรุงเทพมหานคร	
ตารางที่ 11.7		 สรุปจ�ำนวนเขตของแต่ละเครือข่าย	
ตารางที่ 11.8 	 โครงการท่องเที่ยวสัมผัสธรรมชาติกลางเมืองหลวง	
															 ของเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของกรุงเทพมหานคร	
ตารางที่ 11.9 	 โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวย้อนรอยประวัติศาสตร์	
ตารางที่ 11.10	 โครงการท่องเที่ยววิถีไทยในกรุงเทพมหานคร	

145
163
164
164
165
166
183
185
194
217
219
221
222
224
226
228
230
231
232
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 11.11	 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวสวรรค์บนดิน แหล่งจับจ่าย	
															 ใช้สอยและพักผ่อนหย่อนใจในกรุงเทพมหานคร	
ตารางที่ 11.12	 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้	
ตารางที่ 11.13	 โครงการแสดงแสงสีเสียงลุ่มน�้ำเจ้าพระยาย้อนรอยวิถีชีวิต	
															 และประวัติศาสตร์จากกรุงธนบุรีสู่กรุงรัตนโกสินทร์	

233
234
236
สารบัญแผนผัง
หน้า
แผนผังที่ 2.1		
															
แผนผังที่ 2.2		
															
แผนผังที่ 6.1		
แผนผังที่ 6.2		
แผนผังที่ 7.1		
แผนผังที่ 10.1	
															
แผนผังที่ 10.2	

กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว	
กรุงเทพมหานคร	
กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 	
(พ.ศ. 2554–2558)	
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542	
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549	
โครงสร้างการบริหารด้านการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร	
กรอบการสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์และนโยบาย	
เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
เป้าหมายต�ำแหน่งทางการตลาด	

16
17
121
121
126
168
189
สารบัญแผนภูมิ
หน้า
แผนภูมิที่ 3.1		 อัตราการขยายตัวของ GDP เฉลี่ยของโลกและจ�ำนวน	
															 นักท่องเที่ยวโลก ปี พ.ศ. 2532-2551	
แผนภูมิที่ 3.2 	 การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจและการเดินทางของผู้โดยสาร	
															 ปี ค.ศ. 2009-2011	
แผนภูมิที่ 3.3 	 คาดการณ์จ�ำนวนการเดินทางของนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชีย	
															 และแปซิฟิก ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 	
แผนภูมิที่ 3.4 	 คาดการณ์อัตราการเติบโตของจ�ำนวนนักท่องเที่ยว	
															 ชาวต่างชาติของประเทศต่างๆ ปี พ.ศ. 2553-2555	
แผนภูมิที่ 3.5 	 จ�ำนวนและอัตราการเปลี่ยนแปลงของนักท่องเที่ยว	
															 ปี พ.ศ. 2548-2553	
แผนภูมิที่ 3.6		 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ	
															 ของโลกและของไทย ปี พ.ศ. 2548-2553	
แผนภูมิที่ 3.7		 สัดส่วนนักท่องเที่ยว ปี พ.ศ. 2548 และ ปี พ.ศ. 2553	
															 จ�ำแนกตามภูมิภาค	
แผนภูมิที่ 3.8		 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจ�ำแนกตามภูมิภาค	
															 ปี พ.ศ. 2548-2553	
แผนภูมิที่ 3.9		 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจ�ำแนกตามภูมิภาค	
															 ปี พ.ศ. 2553	
แผนภูมิที่ 3.10	 รายได้จากการท่องเที่ยวและอัตราการเปลี่ยนแปลง	
															 ของรายได้ปี พ.ศ. 2548-2553	
แผนภูมิที่ 3.11	 สัดส่วนรายได้จากนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศปี พ.ศ. 2553	
															 จ�ำแนกตามภูมิภาค 	
แผนภูมิที่ 3.12	 สถิตินักท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครระหว่าง	
															 ปี พ.ศ. 2540-2552	
แผนภูมิที่ 7.1		 สรุปงบประมาณกรุงเทพมหานครปีงบประมาณ 2551 	
															 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2550- 30 กันยายน พ.ศ. 2551)	
แผนภูมิที่ 7.2		 สรุปการจัดสรรงบประมาณกรุงเทพมหานครปีงบประมาณ	
															 พ.ศ. 2551 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2550-30 กันยายน พ.ศ. 2551)	

41
42
43
44
45
45
46
46
47
48
48
54
126
128
สารบัญแผนที่
หน้า
แผนที่ 6.1			 เส้นทางรถไฟฟ้าใหม่	
แผนที่ 11.1	 แผนที่เครือข่ายการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร	
แผนที่ 11.2	 แผนที่เครือข่ายการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน�้ำเจ้าพระยา	

122
229
235
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

บทที่ 1
กรอบการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

1

1.1		หลักการและเหตุผล
อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วของไทยใน
ปั จ จุ บั น มี บ ทบาทส� ำ คั ญ มากต่ อ เศรษฐกิ จ ของ
ประเทศ สามารถน�ำเงินตราต่างประเทศเข้ามาสู่
ประเทศไทยมากกว่าห้าแสนล้านบาทต่อปี ทังยังก่อ
้
ให้เกิดการจ้างงาน การกระจายรายได้ไปสูอตสาหกรรม
ุ่
ที่เกี่ยวเนื่องและประชาชนในพื้นที่ การกระจาย
ความเจริญด้านต่างๆ ไปสู่ภูมิภาค ทั้งการสร้าง
ระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก
การท่องเทียวยังเป็นเครืองมือส�ำคัญในการยกระดับ
่
่
คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ พัฒนาสังคม
อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรม อนุรักษ์และคุ้มครอง
สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง สร้ า งกระบวนการเรี ย นรู ้
อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวไม่เพียงก่อให้เกิด
ผลกระทบเชิงบวกเท่านัน หากแต่ยงสร้างผลกระทบ
้
ั
เชิ ง ลบอี ก มากมายหากไม่ ไ ด้ รั บ การวางแผน
การพัฒนาและบริหารจัดการที่เหมาะสม
ประเทศไทยมีแหล่งท่องเทียวทีมชอเสียงเป็น
่ ่ ี ื่
ที่ รู ้ จั ก อย่ า งแพร่ ห ลายทั้ ง ในระดั บ ภู มิ ภ าคและ
ระดับโลก โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครซึ่งไม่เพียง
เป็นเมืองหลวง เป็นศูนย์กลางความเจริญด้านต่างๆ
อาทิ เทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง สาธารณสุข การสือสาร การคมนาคม
่
ขนส่งและการท่องเทียว เป็นต้น หากแต่กรุงเทพมหานคร
่
ยั ง เป็ น เมื อ งที่ ร�่ ำ รวยวั ฒ นธรรมที่ ส อดผสาน
อย่างลงตัวกับประวัตศาสตร์ทรงคุณค่าอันยาวนาน
ิ
มีแหล่งนันทนาการ มากมายทีเ่ ปิดโอกาสให้นกท่องเทียว
ั
่
ได้ จั บ จ่ า ยใช้ ส อย สั ม ผั ส กั บ อาหารนานาชนิ ด
ความบั น เทิ ง ครบครั น สวนสาธารณะส� ำ หรั บ

การพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ สนามกี ฬ าส� ำ หรั บ
การออกก�ำลังกาย มีศลปะวิทยาการทีพร้อมเปิดโอกาส
ิ
่
ให้ทกคนได้เรียนรูและเป็นเมืองทีมแหล่งท่องเทียว
ุ
้
่ี
่
เชิงนิเวศอยูทามกลางความเจริญ กรุงเทพมหานคร
่ ่
จึงเป็นศูนย์กลางด้านต่างๆ ทังในระดับภูมภาคและ
้
ิ
ระดับโลก รวมถึงเป็นเมืองทีพร้อมกระจายความเจริญ
่
สู่จังหวัดต่างๆ ทั้งในบริเวณใกล้เคียงและห่างไกล
ออกไป หากกรุงเทพมหานครประสบปัญหาก็จะ
ส่ ง ผลกระทบต่ อ จั ง หวั ด อื่ น ๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร
ที่ เ ป็ น ฐานการท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ ของประเทศ
หากการท่องเทียวของกรุงเทพมหานครไม่เข้มแข็งพอ
่
ก็ จ ะเชื่ อ มต่ อ ความอ่ อ นแอไปยั ง การท่ อ งเที่ ย ว
ในภาพรวมของประเทศ สะท้อนให้เห็นความส�ำคัญ
ของการท่องเทียวของกรุงเทพมหานครทีมตอประเทศ
่
่ี่
ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาคได้เป็นอย่างดี
ห า ก จ ะ พิ จ า ร ณ า ถึ ง บ ท บ า ท ข อ ง
กรุงเทพมหานครต้องค�ำนึงถึง 2 นัยยะ กล่าวคือ
นั ย ยะแรก คื อ ในเชิ ง พื้ น ที่ ซึ่ ง กรุ ง เทพมหานคร
มีเนือทีทงหมด 1,568.737 ตารางกิโลเมตร และ
้ ่ ั้
เป็นที่ตั้งของหลายหน่วยงาน นัยยะที่สอง คือ
กรุ ง เทพมหานครเป็ น เขตการปกครองพิ เ ศษ
ตามพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ทีตองบริหารจัดการ
่้
ด้านต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเอง หากแต่
กรุงเทพมหานครเป็นทั้งเมืองหลวงและศูนย์กลาง
ด้านต่างๆ การบริหารจัดการกรุงเทพมหานครจึง
มีความเชือมโยงกับหลายหน่วยงานและมีลกษณะ
่
ั
การด�ำเนินงานที่มีความแตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

กรุงเทพมหานครมีบทบาทสูงมากต่อการพัฒนา
การท่องเที่ยวของประเทศหรืออาจกล่าวได้ว่า
กรุ ง เทพมหานครเป็ น หั ว ใจของการท่ อ งเที่ ย ว
ของประเทศ ด้ ว ยความได้ เ ปรี ย บในการเป็ น
ศูนย์กลางการเดินทางของนักท่องเทียว โดยเฉพาะ
่
นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ที่ ต ้ อ งการท่ อ งเที่ ย ว
ในแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ของประเทศไทยและ
ประเทศเพื่อนบ้านแถบอินโดจีน อย่างไรก็ตาม
กระแสการเปลี่ ย นแปลงในปั จ จุ บั น ก่ อ ให้ เ กิ ด
ความท้าทายในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทียว
่
ของกรุงเทพมหานครหลายประการ เช่น ความวุนวาย
่
ทางการเมื อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกรุ ง เทพมหานคร
อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การเติ บ โตของการคมนาคม
การเดินทางไปยังแหล่งท่องเทียวโดยตรงในจังหวัด
่
อื่นโดยไม่ผ่านกรุงเทพมหานคร ภาวการณ์เติบโต

ของเมืองท่องเที่ยวคู่แข่ง เป็นต้น ล้วนกระทบต่อ
การเติบโตของการท่องเทียวของกรุงเทพมหานคร
่
โดยตรง กรุงเทพมหานครจึงจ�ำเป็นต้องพัฒนา
และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ซึ่ ง
ประสบความส�ำเร็จไม่น้อย ดังปรากฏหลักฐาน
ชั ด เจนจากผลการส� ำ รวจความคิ ด เห็ น ของ
นักท่องเที่ยวทั่วโลกโดยนิตยสารทราเวล แอนด์
เลเชอร์ (Travel & Leisure Magazine) (ดังตารางที่
1.1) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอันดับที่เพิ่มขึ้นและลดลง
ของกรุ ง เทพมหานครในการเป็ น เมื อ งที่ ดี ที่ สุ ด
ในโลก จากอันดับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2550 เพิ่มเป็น
อันดับที่ 1 ในปี พ.ศ. 2551 ลดลงเป็นอันดับที่ 3
ในปี พ.ศ. 2552 และกลับมาเป็นอันดับที่ 1 อีกครัง
้
ในปี พ.ศ. 2553 ส�ำหรับการเป็นเมืองท่องเที่ยว
ทีดทสดในโลกและเมืองท่องเทียวทีดทสดของเอเชีย
่ ี ี่ ุ
่ ่ ี ี่ ุ

ตารางที่ 1.1		 ผลการส�ำรวจเมืองที่ดีที่สุดในโลก เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลกและเมืองท่องเที่ยวที่ดี
													 ที่สุดของเอเชียโดยนิตยสารทราเวล แอนด์ เลเชอร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2553
เมืองท่องเที่ยว
Bangkok, Thailand
Chiang Mai, Thailand
Florence, Italy
San Miguel de Allende,
Mexico
Rome, Italy
Sydney, Australia
Buenos Aires, Argentina
Oaxaca, Mexico
Barcelona, Spain
New York, United States
of America

ปี พ.ศ. 2553
ล�ำดับ คะแนน
1
90.30
2
89.35
3
89.17
4
89.09
5
6
7
8
9
10

88.60
87.99
87.98
87.78
87.71
87.68

ปี พ.ศ. 2552
ล�ำดับ คะแนน
3
86.80
5
86.18
6
85.61
9
11
4
8

84.63
84.27
86.22
84.65

ปี พ.ศ. 2551 ปี พ.ศ. 2550
ล�ำดับ คะแนน
ล�ำดับ
1
87.61
3
5
86.24
1
7
4
2
8

85.12
86.49
87.24
85.03

4
5
2
6

ที่มา : www.travelandleisure.com เข้าถึง 20 มีนาคม พ.ศ. 2554

2
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

3

การพิ จ ารณารางวั ล ดั ง กล่ า วใช้ เ กณฑ์ 6
ประเด็น คือ สถานทีทองเทียว (Sights) ศิลปวัฒนธรรม
่่ ่
(Culture and Arts) ภั ต ตาคารและอาหาร
(Restaurants and Food) ผู้คน (People)
แหล่งจับจ่ายใช้สอย (Shopping) และความคุมค่า
้
(Value) ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับรางวัลดังกล่าว
อย่างต่อเนื่องถึง 4 ปี อันเป็นเครื่องหมายยืนยัน
ความนิยมของนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกได้
เป็นอย่างดี
กระนันก็ตาม ยังมีปจจัยภายในและภายนอก
้
ั
ที่ เ ป็ น จุ ด อ่ อ นและเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การพั ฒ นา
การท่องเทียวของกรุงเทพมหานคร ทังศักยภาพของ
่
้
การบริหารจัดการภายในกรุงเทพมหานครที่ไม่มี
หน่วยงานรับผิดชอบด้านการท่องเทียวโดยตรงใน
่
ระดับเขต สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง
ของประเทศที่ มั ก ใช้ ก รุ ง เทพมหานครเป็ น
ศูนย์กลางในการเรียกร้องและเดินขบวนประท้วง
ปั ญ หาเศรษฐกิ จ ทั้ ง จากภายในและภายนอก
ประเทศ ภาวะการแข่งขันทางการท่องเที่ยวที่ ท วี
ความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะจากเมืองท่องเที่ยว
คูแข่งต่างๆ ทีปรับกลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเทียว
่
่
่
ในหลายรู ป แบบ พฤติ ก รรมนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่
เปลียนแปลงไป การถดถอยอย่างรุนแรงของตลาด
่
นักท่องเทียวชาวต่างชาติ รวมทังสภาพการท่องเทียว
่
้
่
ของโลกในภาพรวมทีเ่ ปลียนแปลงไป ล้วนเป็นปัจจัย
่
ที่กรุงเทพมหานครต้องพิจารณาและวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
การท่องเทียวเพือน�ำมาจัดท�ำแผนพัฒนา การท่องเทียว
่ ่
่
ของกรุ ง เทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การท่องเที่ยวโลก
และแนวโน้มการพัฒนาเมืองท่องเที่ยวที่ส� ำคัญ
ทั่วโลก พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ทัศนคติของ
ชาวกรุงเทพมหานครในฐานะเจ้าบ้าน ศักยภาพ
ทรัพยากรทางการท่องเทียวและการบริหารจัดการ
่
การท่องเที่ยว บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวกับ

การพัฒนาการท่องเที่ยว กฎหมาย ระเบียบและ
แผนยุ ท ธศาสตร์ ใ นระดั บ ต่ า งๆ ซึ่ ง เป็ น การให้
ความส�ำคัญอย่างรอบด้านทั้งปัจจัยภายในและ
ภายนอก บนฐานความสมดุ ล ของการพั ฒ นา
การท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวและเจ้าบ้าน
ดังนัน เพือให้การพัฒนาการท่องเทียวเป็นไปตาม
้ ่
่
ทิศทางทีสร้างสรรค์ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
่
สั ง คม วั ฒ นธรรมและสิ่ ง แวดล้ อ มในปั จ จุ บั น
ส� ำ นั ก วั ฒ นธรรม กี ฬ า และการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครจึงจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียว
่
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
1.2		วัตถุประสงค์โครงการ
1.2.1		เพือให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนา
่
การท่องเทียวกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558)
่
ซึ่งมีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์
ในการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร
ในด้านต่างๆ อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
โดยสอดคล้องกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2552-2555 แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ
และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 10 แผนพั ฒ นา
การท่องเที่ยวแห่งชาติ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ด้านการท่องเที่ยว
1.2.2	เพื่ อ ให้ ไ ด้ แ ผนงาน โครงการและ
ข้อเสนอแนะตามแผนในข้อ 1.2.1 ซึงกรุงเทพมหานคร
่
และหน่วยงานทีเ่ กียวข้อง สามารถน�ำไปปฏิบตเิ พือ
่
ั ่
ให้บรรลุตามยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนด
1.2.3		เพือให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
่
องค์กร ผู้ประกอบการและประชาชนที่เกี่ยวข้อง
ด้านการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาการท่องเที่ยว
1.2.4		เพื่ อ ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า น
การท่องเทียวของกรุงเทพมหานครได้ศกษาเรียนรู้
่
ึ
วิธีการและกระบวนการจัดท�ำแผนในข้อ 1.2.11.2.3
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

1.3		เป้าหมายของโครงการ
1.3.1		จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุ ง เทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558)
โดยครอบคลุมทรัพยากรและศักยภาพแหล่งท่องเทียว
่
ทุกส�ำนักงานเขต จ�ำนวน 1 แผน
1.3.2		จัดท�ำแผนงาน โครงการและข้อเสนอ
แนะให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558)
1.3.3		การจั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของ
แผนงานโครงการต่างๆ และสามารถด�ำเนินการ
ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่างเป็นระบบ

1.4		ลักษณะโครงการ
1.4.1		เป็นโครงการต่อเนื่องในการจัดท�ำ
แผนแม่บทเพือพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร
่
่
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2548-2552)
1.4.2		สอดคล้ อ งกั บ แผนบริ ห ารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552-2555 แผนพัฒนา
เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 แผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติและแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ด้านการท่องเที่ยว
1.4.3		มีแผนงาน โครงการและข้อเสนอแนะ
ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558

4
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

บทที่ 2
กรอบแนวคิดการศึกษา
2.1		กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
สถานการณการทองเที่ยวโลก
แนวโนมการทองเที่ยว
ของประเทศไทยและการพัฒนา
เมืองทองเที่ยวที่สำคัญของโลก

พฤติกรรมของนักทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร
การดำเนินการ
ตามแผนพัฒนา
การทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร

ทัศนคติของ
ชาวกรุงเทพมหานครตอ
การพัฒนาการทองเที่ยว
ศักยภาพทรัพยากร
การทองเที่ยวและศักยภาพ
การบริหารจัดการ
การทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
บทบาทของหนวยงาน
ที่เกี่ยวกับการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร

แผนพัฒนา
การทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร
การดำเนินงาน
ตามแผนภายใต
ความรวมมือจาก
ภาคสวนตางๆ

การพัฒนา
การทองเที่ยวของ
กรุงเทพมหานคร
อยางสรางสรรคและ
ยั่งยืน

กฎหมาย ระเบียบและ
แผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวกับ
การพัฒนาการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร

แผนผังที่ 2.1 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
่

5
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

2.2		แนวทางการด�ำเนินโครงการ
แนวทางการด�ำเนินงานเพือจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
่
่
สรุปกระบวนการด�ำเนินงานได้ดังแผนผังที่ 1.2
ขั้นที่ ๑ การเก็บรวมรวมและวิเคราะหขอมูล
- การวิเคราะหสถานการณการทองเที่ยวโลก แนวโนมการทองเที่ยวของประเทศไทยและการพัฒนาเมืองทองเที่ยวที่สำคัญของโลก
- การสำรวจและวิเคราะหพฤติกรรมการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
- การสำรวจและวิเคราะหทัศนคติของชาวกรุงเทพมหานครตอการพัฒนาการทองเที่ยว
- การสำรวจและวิเคราะหศักยภาพทรัพยากรการทองเที่ยวและศักยภาพการบริหารจัดการการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
- การศึกษาบทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
- การวิเคราะหกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
- การสังเคราะหแผนยุทธศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานคร
- การจัดประชุมเพื่อรับฟงขอมูลเพิ่มเติมจากกลุมเปาหมาย

ขั้นที่ ๒ การรางแผนฯ
๑. การจัดประชุมเพื่อรางแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร
๒. การจัดประชุมเพื่อรางแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
๑.๑ การจัดประชุมระดมความคิดเพื่อพิจารณารางแผนพัฒนา
การทองเที่ยวกรุงเทพมหานครจากกลุมเปาหมายหลัก
๑.๒ การประชุมประชาพิจารณแผนพัฒนาการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร
๑.๓ การประชุมเพื่อยกรางแผนพัฒนาการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานคร

๒.๑ การจัดประชุมระดมความคิดเพื่อพิจารณารางแผนพัฒนา
การทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
จากกลุมเปาหมายหลัก
๒.๒ การประชุมประชาพิจารณแผนพัฒนาการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่จากกลุมเปาหมาย
๒.๓ การประชุมเพื่อยกรางแผนพัฒนาการทองเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่

ขั้นที่ ๓ การเผยแพรและฝกอบรม
๑. การประชุมชี้แจงแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
๒. การประชุมฝกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวของ
๓. การเผยแพรแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่

แผนผังที่ 2.2 กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
ขั้นที่ 1		 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนนี้มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้ข้อมูลส�ำหรับใช้ในการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครที่เป็นจริง
เป็นปัจจุบนและมีความหมายในเชิงกลยุทธ์ โดยมีรายละเอียดแนวทาง การด�ำเนินงานในแต่ละประเด็น
ั
ดังต่อไปนี้

6
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

7

1.1		การวิเคราะห์สถานการณ์การท่องเทียวโลก
่
แนวโน้ ม การท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทยและ
การพั ฒ นาเมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของโลก
เป็นการวิเคราะห์กลุมเมืองท่องเทียวทีมผลิตภัณฑ์
่
่ ่ี
การท่ อ งเที่ ย วคล้ า ยคลึ ง กั บ กรุ ง เทพมหานคร
อาทิ ลอนดอน ปารีส โรม เป็นต้น ซึ่งเป็นเมืองที่มี
วัฒนธรรมอันสวยงาม ประวัติศาสตร์อันยาวนาน
และเป็ น เมื อ งหลวงของประเทศต่ า งๆ ที่ เ ป็ น
เมืองท่องเทียวมีชอเสียงสามารถดึงดูดนักท่องเทียว
่ ื่
่
ได้ จ ากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก และกลุ ่ ม เมื อ งท่ อ งเที่ ย ว
ที่ เ ป็ น คู ่ แข่ ง ส� ำ คั ญ กั บ กรุ ง เทพมหานคร อาทิ
โตเกียว ปักกิ่ง โซล สิงคโปร์ ดูไบ เป็นต้น เหล่านี้
เป็นเมืองท่องเที่ยว ที่ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว
มี ก ารส่ ง เสริ ม การตลาดอย่ า งเต็ ม ที่ แ ละสร้ า ง
สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเพื่อขยายส่วนแบ่ง
ทางการตลาดการท่องเที่ยว
1.2		การส�ำรวจและวิเคราะห์พฤติกรรม
ของนักท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย
่
การส�ำรวจพฤติกรรมการท่องเทียวของนักท่องเทียว
่
่
จากกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย 400 คน
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 400 คน และวิเคราะห์
ข้อมูลแต่ละกลุ่ม ทั้งข้อมูลส่วนบุคคล ลักษณะ
การเดินทาง ผูรวมเดินทาง การเลือกทีพก การรับรู้
้่
่ ั
ข้อมูลข่าวสารการท่องเทียว กิจกรรมการท่องเทียว
่
่
ระยะเวลาพ�ำนักและการใช้จ่าย เป็นต้น
1.3		ก ารส� ำ รวจและวิ เ คราะห์ ทั ศ นคติ
ของชาวกรุ ง เทพมหานครต่ อ การพั ฒ นา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
การส�ำรวจทัศนคติในการพัฒนาการท่องเทียว
่
ของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น ชาวกรุ ง เทพมหานคร
400 คน กระจายตามเขตต่างๆ เพื่อวิเคราะห์
ผลกระทบด้านต่างๆ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
1.4		การส� ำ รวจและวิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพ
ทรั พ ยากรทางการท่ อ งเที่ ย วและศั ก ยภาพ
การบริหาร จัดการการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร
่

เป็นการค้นหาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเทียวที่
่
โดดเด่นในแต่ละเขตและวิเคราะห์ศกยภาพในการบริหาร
ั
จั ด การการท่ อ งเที่ ย วของกรุ ง เทพมหานคร
ทั้งในระดับเขตและระดับส่วนกลาง
1.5		การศึ ก ษาบทบาทของหน่ ว ยงานที่
เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร
่
่
เป็ น การวิ เ คราะห์ บ ทบาทของหน่ ว ยงาน
ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วของ
กรุงเทพมหานคร
1.6		วิ เ คราะห์ ก ฎหมายและระเบี ย บที่
เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร
่
่
เป็ น การวิ เ คราะห์ ก ฎหมายและระเบี ย บ
ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุ ง เทพมหานคร อาทิ พระราชบั ญ ญั ติ รั ก ษา
ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ
บ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติควบคุม
อาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติส่งเสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
และพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 เป็นต้น
1.7		การสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์อนๆ ที่
ื่
เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร
่
่
เป็ น การสั ง เคราะห์ แ ผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละ
แผนพัฒนาอื่นๆ ในระดับที่สูงกว่าและเกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร
อาทิ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ
ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 (ร่าง) แผนพัฒนา
การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2555-2559
แผนการตลาดของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2553 แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 12 ปี
(พ.ศ. 2552-2563) เป็นต้น
1.8	การจัดประชุมเพือรับฟังข้อมูลเพิมเติม
่
่
จากกลุ่มเป้าหมาย
เป็ น การน� ำ ผลการวิ เ คราะห์ ทั้ ง หมดตาม
ประเด็นข้างต้นมาคืนข้อมูลและรับฟังข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติมจากกลุ่มเป้าหมายหลัก 6 กลุ่ม ได้แก่
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

1)	 ผู้บริหารของกรุงเทพมหานคร
2)	 บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การ
การท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร
3)	 ตัวแทนผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว
และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
4)	 หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
5)	 ตัวแทนนักวิชาการด้านการท่องเที่ยว
6)	 ตัวแทนชุมชนและปราชญ์ท้องถิ่น
ขั้นที่ 2 การร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
ขั้ น ตอนนี้ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ น� ำ ข้ อ มู ล และ
ผลการวิเคราะห์ที่ได้จากขั้นที่ 1 มาใช้ในการร่าง
แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558 และแผนพัฒนาการท่องเทียว
่
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ โดยเปิดโอกาสให้
ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย วของ
กรุงเทพมหานคร ได้แก่ ส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และ
การท่องเที่ยว ส�ำนักงานเขต ผู้ประกอบการธุรกิจ
ท่องเที่ยว องค์กรบริหารแหล่งท่องเที่ยว ชุมชน
นั ก วิ ช าการ ได้ เ สนอความคิ ด เห็ น เพื่ อ ยกร่ า ง
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและ
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะ
พื้ น ที่ บ นฐานผลการวิ เ คราะห์ จ ากขั้ น ที่ 1
ทีครอบคลุมทุกมิตของการพัฒนาการท่องเทียวด้วย
่
ิ
่
กระบวนการมีสวนร่วมทีสงเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ
่
่่
ที่เกี่ยวข้องนี้มีความรู้ความเข้าใจในแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา
การท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่
ที่ร่างขึ้น ซึ่งเอื้อต่อการด�ำเนินงานร่วมกันในเชิง
เครือข่ายพันธมิตร ในการด�ำเนินการตามแผนพัฒนา
การท่องเทียวกรุงเทพมหานครเพือน�ำไปสูการปฏิบติ
่
่
่
ั
ทีสมฤทธิผล โดยมีขนตอนในการด�ำเนินการ ดังนี้
่ั ์
ั้

2.1		การจัดประชุมเพือจัดท�ำร่างแผนพัฒนา
่
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็ น การประชุ ม ระดมความคิ ด ร่ ว มกั น
ระหว่างคณะท�ำงาน คณะที่ปรึกษาและผู้บริหาร
ของกรุงเทพมหานคร โดยน� ำผลการวิเคราะห์
ข้อมูลจากขั้นที่ 1 มาสังเคราะห์สภาพแวดล้อม
ของการพัฒนา การท่องเทียวกรุงเทพมหานครและ
่
ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน
ตัวชี้วัดและโครงการเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558
2.2		การจั ด ประชุ ม ระดมความคิ ด เพื่ อ
พิ จ ารณาร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็นการประชุมระดมความคิดกลุมเป้าหมาย
่
6 กลุม ซึงประกอบด้วย ผูบริหารของกรุงเทพมหานคร
่ ่
้
บุคลากรทีเ่ กียวข้องกับการจัดการการท่องเทียวของ
่
่
กรุงเทพมหานคร ตัวแทนผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว
้
่
และธุรกิจทีเ่ กียวข้อง หน่วยงานภาครัฐอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง
่
่
่
ตัวแทนนักวิชาการด้านการท่องเทียว ตัวแทนชุมชน
่
และปราชญ์ท้องถิ่น แล้วประมวลความคิดเห็น
เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพืนทีให้มความสมบูรณ์มากขึน
้ ่ ี
้
2.3 การจัดประชุมเพือสรุปร่างแผนพัฒนา
่
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็นการน�ำความคิดเห็นที่ได้จากการประชุม
ระดมความคิดมาประมวลผลและใช้เป็นแนวทาง
ในการปรั บ ปรุ ง แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ให้มีความสมบูรณ์
โดยการประชุ ม ระดมความคิ ด ร่ ว มกั น ระหว่ า ง

8
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

คณะท� ำ งาน คณะที่ ป รึ ก ษาและผู ้ บ ริ ห ารของ
กรุงเทพมหานครก่อนน�ำไปประชาพิจารณ์ต่อไป
2.4 การประชุมประชาพิจารณ์แผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็ น การน� ำ ร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่ ที่ ป รั บ ปรุ ง ตาม
ข้อเสนอแนะจากการประชุมระดมความคิดและ
ประชุมสรุปร่างแผนฯ มาจัดประชุมประชาพิจารณ์
กับกลุ่มเป้าหมายทั้ง 6 กลุ่มข้างต้น

9

ขั้นที่ 3 การเผยแพร่และการฝึกอบรม
ขันตอนนีมเี ป้าหมายเพือชีแจง สร้างการรับรู้
้
้
่ ้
และความเข้ า ใจต่ อ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพืนทีทผานการประชาพิจารณ์
้ ่ ี่ ่
แล้ ว แก่ ก ลุ ่ ม เป้าหมายหลัก 3 กลุ่ม คือ
1)	 ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
1)	 บุคลากรกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงาน
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
1)	 กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ สื่อมวลชน นักวิชาการ
ผูประกอบการเอกชน หน่วยงานราชการ
้
อื่นๆ ผู้น�ำชุมชนและปราชญ์ท้องถิ่น
การเผยแพร่และการฝึกอบรมประกอบด้วย
3 กิจกรรมดังนี้
3.1 การจั ด ประชุ ม ชี้ แ จงแผนพั ฒ นา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็นการจัดประชุมชีแจงแผนพัฒนาการท่องเทียว
้
่
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห าร
กรุ ง เทพมหานครทั้ ง ระดั บ ส่ ว นกลางและ
ส�ำนักงานเขต เพื่อให้กลุ่มผู้บริหารตระหนักถึง
ความส� ำ คั ญ และประโยชน์ ข องแผนฯ และ

มีความรู้ความเข้าใจต่อองค์ประกอบของแผนฯ
ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ส ามารถแปลงแผนไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ
ในระดับต่างๆ ได้ ทั้งการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
และพั ฒ นาในระดั บ หน่ ว ยงานหรื อ พื้ น ที่ แ ละ
การวางแผนงานหรือด�ำเนินโครงการให้สอดคล้อง
กับแผนพัฒนา การท่องเทียวกรุงเทพมหานครได้
่
3.2		ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม บุ ค ล า ก ร ข อ ง
กรุงเทพมหานครที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
เป็นการฝึกอบรมให้บคลากรของกรุงเทพมหานคร
ุ
ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวทั้งระดับส่วนกลางและ
ส�ำนักงานเขตให้สามารถเขียนแผนพัฒนาการท่องเทียว
่
ในระดับเขต ระดับเครือข่ายการท่องเที่ยวและ
โครงการที่สอดคล้องกับแผนฯ ได้
3.3 การเผยแพร่แผนพัฒนาการท่องเทียว
่
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่
เป็นการเผยแพร่แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่แก่กลุ่มเป้าหมาย
กลุมอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง ได้แก่ สือมวลชน นักวิชาการ
่ ่
่
่
ผู้ประกอบการเอกชน หน่วยงานราชการอื่นๆ
ผูนำชุมชนและปราชญ์ทองถิน เพือให้เกิดการรับรู้
้ �
้ ่ ่
และความเข้าใจต่อแนวทางการพัฒนาการท่องเทียว
่
ของกรุงเทพมหานคร อันจะน�ำไปสู่การท�ำงาน
อย่างบูรณาการระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร
และภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
2.3		พื้นที่ศึกษา
พื้นที่กรุงเทพมหานคร
2.4			งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย ว
กรุงเทพมหานคร
การท่องเทียวกรุงเทพมหานครได้รบความสนใจ
่
ั
จากนักวิจัยหลายท่านในการศึกษา โดยในครั้งนี้
รายงานฉบับสมบูรณ์
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2558

ขอน�ำเสนอสรุปผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 17 เรื่อง
ดังนี้
2.4.1		 แนวทางการพั ฒ นาการตลาด
การท่องเทียวเชิงนิเวศส�ำหรับนักท่องเทียวสูงอายุ
่
่
ชาวญี่ ปุ ่ น ในกรุ ง เทพมหานคร โดยสมหมาย
เที่ยงแท้ (2549) ซึ่งมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ
1)	 ศึกษาพฤติกรรมและรูปแบบความต้องการ
การท่องเทียว ความสนใจและความคิดเห็น
่
ของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่น
2)	 ศึกษาความคิดเห็น ทัศนคติของหน่วยงาน
ภาครัฐบาล ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง
กับการท่องเทียวทีมตอตลาดนักท่องเทียว
่ ่ี่
่
สูงอายุชาวญี่ปุ่น
3)	 ศึกษาสภาพพืนทีทวไปในแหล่งท่องเทียว
้ ่ ั่
่
ที่นักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นนิยมเดินทาง
ไปเยี่ยมเยือนบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์
ถนนสีลม สยามช้อปปิ้งเซ็นเตอร์ ถนน
สุขุมวิท
4)	 วิเคราะห์ศักยภาพทางด้านสิ่งแวดล้อม
การท่ อ งเที่ ย ว สั ง คม เศรษฐกิ จ ใน
แหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น
นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวบริเวณเกาะ
รัตนโกสินทร์ ถนนสีลม สยามช้อปปิ้ง
เซ็นเตอร์ ถนนสุขุมวิท
5)	 ศึ ก ษาแนวทางการพั ฒ นาการตลาด
การท่องเทียวเชิงนิเวศส�ำหรับนักท่องเทียว
่
่
สูงอายุชาวญี่ปุ่นในกรุงเทพมหานคร
การศึกษาใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยการสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก และการสั ง เกตการณ์
กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคคล 3 กลุ่ม ได้แก่
1)	 เจ้าหน้าทีรฐบาล/รัฐวิสาหกิจ
่ั
2)	 ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง 	
3)	 นักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่นที่มีอายุ
มากกว่า 50 ปีขึ้นไป (นักท่องเที่ยว

20 คน เป็นผูชาย 10 คน ผูหญิง 10 คน)
้
้
รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 51 คน
ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมและรูปแบบ
ความต้ อ งการการท่ อ งเที่ ย ว ความสนใจและ
ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่น
พบว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วส่ ว นใหญ่ มี อ ายุ อ ยู ่ ใ นช่ ว ง
50-60 ปี โดยจะเดิ น ทางมาในช่ ว งวั น หยุ ด
มีระยะเวลาพ�ำนัก 7-10 วัน เหตุทมาเทียวเมืองไทย
ี่ ่
เพราะคนไทย มีอธยาศัยดี มีไมตรีจต มีความสุภาพ
ั
ิ
ท� ำ ให้ อ ยากเดิ น ทางกลั บ มาพ�ำ นั ก ระยะยาวใน
ประเทศไทย หลังเกษียณอายุการท�ำงาน ที่พัก
ในกรุ ง เทพมหานครระหว่ า งการท่ อ งเที่ ย ว คื อ
อพาร์ ต เม้ น ท์ โดยจะเลื อ กที่ มี ค วามปลอดภั ย
ทั้งทางด้านร่างกายและทรัพย์สิน มีสิ่งอ� ำนวย
ความสะดวกและสภาพแวดล้อมดี ระดับราคาทีพก
่ ั
ที่พอใจอยู่ในระดับราคา 2,000-3,000 บาท
ส�ำหรับค่าใช้จ่ายที่นอกเหนือจากค่าที่พักจะอยู่ที่
ประมาณวันละ 2,000-3,000 บาท มีความสนใจ
ทีจะซือผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายและผลิตภัณฑ์
่ ้
หัตถกรรมพื้นบ้าน รูปแบบการท่องเที่ยว ไม่ชอบ
การจั บ จ่ า ยใช้ ส อยต้ อ งการไปท่ อ งเที่ ย วใน
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน
ในต่างจังหวัด เช่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย
ส�ำหรับแหล่งข้อมูลการท่องเทียวจะหาจากอินเตอร์เน็ต
่
แผ่นพับ หนังสือน�ำเที่ยวและบริษัทน�ำเที่ยว
ปัญหาทีนกท่องเทียวสูงอายุชาวญีปนพบคือ
่ ั
่
่ ุ่
1)	 การสือสารกับพนักงานสนามบิน โรงแรม
่
ทีพกอาศัย ร้านอาหาร คนขับแท็กซีหรือ
่ ั
่
สามล้อเครื่องและสถานบริการต่างๆ
ซึ่ ง ไม่ ส ามารถสื่ อ สารกั น ให้ เข้ า ใจได้
อย่างชัดเจน
2)	 ป้ายสื่อความหมายหรือป้ายบอกทาง
มีแต่ภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ อยากให้
มีภาษาญี่ปุ่นด้วย

10
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015

More Related Content

What's hot

แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกtakuapa
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1khon Kaen University
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapeChompooh Cyp
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓Rose Banioki
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านgueste5023c7
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษามาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษาDenpong Soodphakdee
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐Rose Banioki
 

What's hot (13)

แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
 
Learn c21
Learn c21Learn c21
Learn c21
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
Cashew Resize
Cashew ResizeCashew Resize
Cashew Resize
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษามาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
 

Viewers also liked

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยNuttz Kasemmussu
 
Bangkok Thailand
Bangkok ThailandBangkok Thailand
Bangkok ThailandCory Plough
 
Chapter 4 the economics of tourism
Chapter 4 the economics of tourismChapter 4 the economics of tourism
Chapter 4 the economics of tourismJC
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจa
 
Role of Government in Tourism
Role of Government in TourismRole of Government in Tourism
Role of Government in Tourismnareshtanwar5
 
Public sector reforms
Public sector reformsPublic sector reforms
Public sector reforms1999gaurav
 

Viewers also liked (8)

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
 
The economics of tourism development 2012 part 1
The economics of tourism development 2012 part 1The economics of tourism development 2012 part 1
The economics of tourism development 2012 part 1
 
Bangkok Thailand
Bangkok ThailandBangkok Thailand
Bangkok Thailand
 
Chapter 4 the economics of tourism
Chapter 4 the economics of tourismChapter 4 the economics of tourism
Chapter 4 the economics of tourism
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
Role of Government in Tourism
Role of Government in TourismRole of Government in Tourism
Role of Government in Tourism
 
Public sector reforms
Public sector reformsPublic sector reforms
Public sector reforms
 
Thailand Presentation
Thailand PresentationThailand Presentation
Thailand Presentation
 

Recently uploaded

محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfKhaled Elbattawy
 
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Eesti Loodusturism
 
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaranFAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaransekolah233
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 

Recently uploaded (9)

LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
 
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
 
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 3 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
 
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaranFAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
 
Energy drink .
Energy drink                           .Energy drink                           .
Energy drink .
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 

Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015

  • 3. เลขที่ ISBN 978-616-272-016-1 รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 พิมพ์ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2555 จ�ำนวน 500 เล่ม จ�ำนวน 235 หน้า ลิขสิทธิ์เป็นของ กองการท่องเที่ยว ส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร เลขที่ 17/1 ถนนพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท์/โทรสาร 0-2225-7614 Website : www.bangkoktourist.com ศึกษาและจัดท�ำโดย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 สุขุมวิท 23 คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพ 10110 โทรศัพท์ 0-2664-1000 โทรสาร 0-2258-0311 website : www.swu.ac.th
  • 4. ค�ำน�ำ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว น�ำมาซึ่งรายได้ให้แก่ พี่น้องประชาชนและประเทศชาติเป็นจ�ำนวนมาก ในท่ามกลางสถานการณ์การท่องเที่ยวของโลก ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในสังคมโลกปัจจุบัน ท�ำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีการแข่งขันกัน ในระดับสูงทั้งด้านการพัฒนาทรัพ ยากรการท่ อ งเที่ ย ว การประชาสั ม พั น ธ์ การตลาดทั้ ง ในและ ต่างประเทศ การพัฒนาการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการท่องเที่ยว การก�ำหนด มาตรการรักษาความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาการให้บริการที่เป็นเลิศ กรุ ง เทพมหานครได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากผู ้ อ ่ า นนิ ต ยสาร Travel & Leisure ให้ เ ป็ น เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลก ถึง 3 ครั้ง คือ ในปี พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2554 โดยมี ปัจจัยการคัดเลือก ทีสำคัญคือ สถานทีและทัศนียภาพทีสวยงาม เอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมประเพณี ่� ่ ่ อาหารและแหล่งจับจ่าย ความเป็นมิตรไมตรีของผูคน และความคุมค่าของเงินทีใช้จาย กรุงเทพมหานคร ้ ้ ่ ่ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการส่งเสริม อนุรกษ์และการพัฒนาการท่องเทียว ซึงเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนา ั ่ ่ เศรษฐกิจของประเทศ จึงได้จัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น กรอบในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร “มุงสูมหานครท่องเทียวทีดทสด” เพือเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเทียวทัวโลก โดยมียทธศาสตร์ ่ ่ ่ ่ ี ี่ ุ ่ ่ ่ ุ ในการขับเคลื่อน 5 ด้าน ประกอบด้วย การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ และยั่งยืน การพัฒนาและส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกบริหารจัดการ การท่องเที่ยวเชิงเครือข่าย การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ทางด้านการท่องเที่ยว และการพัฒนา คุณภาพบริการด้านการท่องเที่ยว ผมหวังเป็นอย่างยิงว่า แผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 จะเป็น ่ ่ กรอบและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ได้อย่างสร้างสรรค์และ ยั่งยืน น�ำมาซึ่งรอยยิ้มและความประทับใจของผู้มาเยือนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติตลอดไป (หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
  • 5. สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนผัง สารบัญแผนภูมิ สารบัญแผนที่ บทที่ 1 บทน�ำ 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์โครงการ 1.3 เป้าหมายของโครงการ 1.4 ลักษณะโครงการ บทที่ 2 กรอบแนวคิดการศึกษา 2.1 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 2.2 แนวทางการด�ำเนินโครงการ 2.3 พื้นที่ศึกษา 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร บทที่ 3 สถานการณ์การท่องเที่ยว 3.1 สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก 3.2 แนวโน้มการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3.3 สถานการณ์การท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร 3.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของ กรุงเทพมหานคร 3.5 แนวโน้มการพัฒนาเมืองท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ บทที่ 4 พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติใน กรุงเทพมหานคร 4.1 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย 4.2 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 1 3 4 4 5 6 9 9 30 32 37 44 46 50 64
  • 6. สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 5 ทัศนคติของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร 5.1 ข้อมูลส่วนบุคคลของชาวกรุงเทพมหานครในกลุ่มตัวอย่าง 5.2 ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน 5.3 การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในอนาคต 5.4 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 5.5 แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเพื่อสร้างทัศนคติที่ดี ต่อการร่วมพัฒนา บทที่ 6 การวิเคราะห์ศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร 6.1 ศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวในแต่ละเขตของ กรุงเทพมหานคร 6.2 ประเภทแหล่งท่องเที่ยว 6.3 การขยายตัวของเมืองในการรองรับการท่องเที่ยว บทที่ 7 ศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร 7.1 ศักยภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 7.2 แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครที่เหมาะสม ทั้งในระดับส่วนกลางและ ในระดับเขต บทที่ 8 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร 8.1 บทบาทของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร 8.2 ข้อจ�ำกัดของหน่วยงานต่างๆ ต่อการพัฒนาการท่องเทียว ่ กรุงเทพมหานคร 8.3 โอกาสของหน่วยงานต่างๆ ต่อการพัฒนาการท่องเทียว ่ กรุงเทพมหานคร บทที่ 9 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 9.1 การสังเคราะห์กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับ การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 77 79 82 86 88 91 100 109 113 132 134 150 150 151
  • 7. สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 10 แผนยุทธศาสตร์และนโยบายที่เกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของ กรุงเทพมหานคร 10.1 การสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์และนโยบายที่เกี่ยวกับ การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 10.2 ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว ของประเทศและของกรุงเทพมหานครตามแผนยุทธศาสตร์ ต่างๆ 157 193 บทที่ 11 แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 11.1 หลักการและเหตุผล 11.2 วิสัยทัศน์ 11.3 พันธกิจ 11.4 เป้าประสงค์การพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 11.5 ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 11.6 เครือข่ายการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร 11.7 เครือข่ายการท่องเที่ยวเชื่อมโยงของกรุงเทพมหานคร 214 223 บทที่ 12 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล 12.1 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ 12.2 การติดตามและประเมินผล 226 227 บรรณานุกรม คณะผู้จัดท�ำ 203 205 205 205 205 229 232
  • 8. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 ตารางที่ 2.1 ตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.3 ตารางที่ 3.4 ตารางที่ 3.5 ตารางที่ 3.6 ตารางที่ 3.7 ตารางที่ 3.8 ตารางที่ 3.9 ตารางที่ 3.10 ตารางที่ 3.11 ตารางที่ 3.12 ตารางที่ 3.13 ตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.4 ผลการส�ำรวจเมืองที่ดีที่สุดในโลก เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุด ในโลกและ เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดของเอเชีย โดยนิตยสาร ทราเวล แอนด์ เลเชอร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2553 สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จ�ำนวนนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2546-2550 จ�ำนวนวันพักของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2548-2550 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2548-2550 จ�ำนวนครั้งการท่องเที่ยวต่อปีของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ระหว่างปี พ.ศ. 2548-2550 รายได้จากนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2548-2550 ถิ่นที่อยู่ของนักท่องเที่ยวชาวไทยของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 ถิ่นที่อยู่ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 ลักษณะการเดินทางของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 สถานที่พักแรมของนักท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 สถิตินักท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2540-2553 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของ กรุงเทพมหานคร ข้อมูลส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยวชาวไทยในกลุ่มตัวอย่าง พฤติกรรมการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยว ชาวไทย รูปแบบการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบ สถานที่ท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยวสนใจ 13 38 49 49 50 50 50 51 51 51 52 52 53 53 55 60 63 65 66
  • 9. สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 4.5 ตารางที่ 4.6 ตารางที่ 4.7 ตารางที่ 4.8 ตารางที่ 4.9 ตารางที่ 4.10 ตารางที่ 4.11 ตารางที่ 4.12 ตารางที่ 4.13 ตารางที่ 5.1 ตารางที่ 5.2 ตารางที่ 5.3 ตารางที่ 5.4 ตารางที่ 5.5 ตารางที่ 5.6 ตารางที่ 5.7 ตารางที่ 5.8 ตารางที่ 6.1 ตารางที่ 6.2 ความพร้อมในการให้บริการตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยว (6As) ของกรุงเทพมหานคร ความพร้อมในการให้บริการตามกลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว 16Ps ของกรุงเทพมหานคร ระดับศักยภาพของสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ตามองค์ประกอบ การท่องเที่ยว ข้อมูลส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในกลุ่มตัวอย่าง พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ สถานที่ท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่นักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติสนใจ ความพร้อมในการให้บริการตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยว (6As) ของกรุงเทพมหานคร ความพร้อมในการให้บริการตามกลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว 16Ps ของกรุงเทพมหานคร ระดับศักยภาพของสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ตามองค์ประกอบการท่องเที่ยว ข้อมูลส่วนบุคคลของชาวกรุงเทพมหานครที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครต่อการพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ด้านประชากรและการเมือง ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ด้านนิเวศและสภาพแวดล้อม ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ด้านเศรษฐกิจ ความคิดเห็นของชาวกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ด้านสังคมและวัฒนธรรม ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ของคนในชุมชน ระดับการรับข่าวสารของชาวกรุงเทพมหานครผ่านสื่อ ประเภทต่างๆ ผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวที่โดดเด่นของแต่ละเขต ในกรุงเทพมหานคร สรุปศักยภาพของทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของเขตต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 69 71 74 76 77 80 82 84 86 88 90 93 94 95 96 97 99 115 120
  • 10. สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 8.1 บทบาทของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตารางที่ 9.1 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับสถานบริการ ด้านการท่องเที่ยว ตารางที่ 9.2 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการก�ำหนดการใช้พื้นที่ ตารางที่ 9.3 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารพื้นที่หรือ แหล่งท่องเที่ยว ตารางที่ 9.4 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ธุรกิจท่องเที่ยว ตารางที่ 9.5 กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารการท่องเที่ยว ตารางที่ 10.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและกลยุทธ์ (ร่าง) แผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ตารางที่ 10.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและกลยุทธ์ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ กู้วิกฤติและมาตรการ กระตุ้นการท่องเที่ยว พ.ศ. 2552-2555 ตารางที่ 10.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552-2555 ตารางที่ 11.1 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ตารางที่ 11.2 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ตารางที่ 11.3 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 ตารางที่ 11.4 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 4 ตารางที่ 11.5 แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์ที่ 5 ตารางที่ 11.6 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่โดดเด่นที่สุดในแต่ละเขตของ กรุงเทพมหานคร ตารางที่ 11.7 สรุปจ�ำนวนเขตของแต่ละเครือข่าย ตารางที่ 11.8 โครงการท่องเที่ยวสัมผัสธรรมชาติกลางเมืองหลวง ของเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 11.9 โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวย้อนรอยประวัติศาสตร์ ตารางที่ 11.10 โครงการท่องเที่ยววิถีไทยในกรุงเทพมหานคร 145 163 164 164 165 166 183 185 194 217 219 221 222 224 226 228 230 231 232
  • 11. สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 11.11 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวสวรรค์บนดิน แหล่งจับจ่าย ใช้สอยและพักผ่อนหย่อนใจในกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 11.12 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ตารางที่ 11.13 โครงการแสดงแสงสีเสียงลุ่มน�้ำเจ้าพระยาย้อนรอยวิถีชีวิต และประวัติศาสตร์จากกรุงธนบุรีสู่กรุงรัตนโกสินทร์ 233 234 236
  • 12. สารบัญแผนผัง หน้า แผนผังที่ 2.1 แผนผังที่ 2.2 แผนผังที่ 6.1 แผนผังที่ 6.2 แผนผังที่ 7.1 แผนผังที่ 10.1 แผนผังที่ 10.2 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2554–2558) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 โครงสร้างการบริหารด้านการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร กรอบการสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์และนโยบาย เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร เป้าหมายต�ำแหน่งทางการตลาด 16 17 121 121 126 168 189
  • 13. สารบัญแผนภูมิ หน้า แผนภูมิที่ 3.1 อัตราการขยายตัวของ GDP เฉลี่ยของโลกและจ�ำนวน นักท่องเที่ยวโลก ปี พ.ศ. 2532-2551 แผนภูมิที่ 3.2 การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจและการเดินทางของผู้โดยสาร ปี ค.ศ. 2009-2011 แผนภูมิที่ 3.3 คาดการณ์จ�ำนวนการเดินทางของนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2555 แผนภูมิที่ 3.4 คาดการณ์อัตราการเติบโตของจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติของประเทศต่างๆ ปี พ.ศ. 2553-2555 แผนภูมิที่ 3.5 จ�ำนวนและอัตราการเปลี่ยนแปลงของนักท่องเที่ยว ปี พ.ศ. 2548-2553 แผนภูมิที่ 3.6 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ของโลกและของไทย ปี พ.ศ. 2548-2553 แผนภูมิที่ 3.7 สัดส่วนนักท่องเที่ยว ปี พ.ศ. 2548 และ ปี พ.ศ. 2553 จ�ำแนกตามภูมิภาค แผนภูมิที่ 3.8 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจ�ำแนกตามภูมิภาค ปี พ.ศ. 2548-2553 แผนภูมิที่ 3.9 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจ�ำแนกตามภูมิภาค ปี พ.ศ. 2553 แผนภูมิที่ 3.10 รายได้จากการท่องเที่ยวและอัตราการเปลี่ยนแปลง ของรายได้ปี พ.ศ. 2548-2553 แผนภูมิที่ 3.11 สัดส่วนรายได้จากนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศปี พ.ศ. 2553 จ�ำแนกตามภูมิภาค แผนภูมิที่ 3.12 สถิตินักท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครระหว่าง ปี พ.ศ. 2540-2552 แผนภูมิที่ 7.1 สรุปงบประมาณกรุงเทพมหานครปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2550- 30 กันยายน พ.ศ. 2551) แผนภูมิที่ 7.2 สรุปการจัดสรรงบประมาณกรุงเทพมหานครปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2550-30 กันยายน พ.ศ. 2551) 41 42 43 44 45 45 46 46 47 48 48 54 126 128
  • 14. สารบัญแผนที่ หน้า แผนที่ 6.1 เส้นทางรถไฟฟ้าใหม่ แผนที่ 11.1 แผนที่เครือข่ายการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร แผนที่ 11.2 แผนที่เครือข่ายการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน�้ำเจ้าพระยา 122 229 235
  • 15. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 บทที่ 1 กรอบการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 1 1.1 หลักการและเหตุผล อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วของไทยใน ปั จ จุ บั น มี บ ทบาทส� ำ คั ญ มากต่ อ เศรษฐกิ จ ของ ประเทศ สามารถน�ำเงินตราต่างประเทศเข้ามาสู่ ประเทศไทยมากกว่าห้าแสนล้านบาทต่อปี ทังยังก่อ ้ ให้เกิดการจ้างงาน การกระจายรายได้ไปสูอตสาหกรรม ุ่ ที่เกี่ยวเนื่องและประชาชนในพื้นที่ การกระจาย ความเจริญด้านต่างๆ ไปสู่ภูมิภาค ทั้งการสร้าง ระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก การท่องเทียวยังเป็นเครืองมือส�ำคัญในการยกระดับ ่ ่ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ พัฒนาสังคม อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรม อนุรักษ์และคุ้มครอง สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง สร้ า งกระบวนการเรี ย นรู ้ อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวไม่เพียงก่อให้เกิด ผลกระทบเชิงบวกเท่านัน หากแต่ยงสร้างผลกระทบ ้ ั เชิ ง ลบอี ก มากมายหากไม่ ไ ด้ รั บ การวางแผน การพัฒนาและบริหารจัดการที่เหมาะสม ประเทศไทยมีแหล่งท่องเทียวทีมชอเสียงเป็น ่ ่ ี ื่ ที่ รู ้ จั ก อย่ า งแพร่ ห ลายทั้ ง ในระดั บ ภู มิ ภ าคและ ระดับโลก โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครซึ่งไม่เพียง เป็นเมืองหลวง เป็นศูนย์กลางความเจริญด้านต่างๆ อาทิ เทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สาธารณสุข การสือสาร การคมนาคม ่ ขนส่งและการท่องเทียว เป็นต้น หากแต่กรุงเทพมหานคร ่ ยั ง เป็ น เมื อ งที่ ร�่ ำ รวยวั ฒ นธรรมที่ ส อดผสาน อย่างลงตัวกับประวัตศาสตร์ทรงคุณค่าอันยาวนาน ิ มีแหล่งนันทนาการ มากมายทีเ่ ปิดโอกาสให้นกท่องเทียว ั ่ ได้ จั บ จ่ า ยใช้ ส อย สั ม ผั ส กั บ อาหารนานาชนิ ด ความบั น เทิ ง ครบครั น สวนสาธารณะส� ำ หรั บ การพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ สนามกี ฬ าส� ำ หรั บ การออกก�ำลังกาย มีศลปะวิทยาการทีพร้อมเปิดโอกาส ิ ่ ให้ทกคนได้เรียนรูและเป็นเมืองทีมแหล่งท่องเทียว ุ ้ ่ี ่ เชิงนิเวศอยูทามกลางความเจริญ กรุงเทพมหานคร ่ ่ จึงเป็นศูนย์กลางด้านต่างๆ ทังในระดับภูมภาคและ ้ ิ ระดับโลก รวมถึงเป็นเมืองทีพร้อมกระจายความเจริญ ่ สู่จังหวัดต่างๆ ทั้งในบริเวณใกล้เคียงและห่างไกล ออกไป หากกรุงเทพมหานครประสบปัญหาก็จะ ส่ ง ผลกระทบต่ อ จั ง หวั ด อื่ น ๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร ที่ เ ป็ น ฐานการท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ ของประเทศ หากการท่องเทียวของกรุงเทพมหานครไม่เข้มแข็งพอ ่ ก็ จ ะเชื่ อ มต่ อ ความอ่ อ นแอไปยั ง การท่ อ งเที่ ย ว ในภาพรวมของประเทศ สะท้อนให้เห็นความส�ำคัญ ของการท่องเทียวของกรุงเทพมหานครทีมตอประเทศ ่ ่ี่ ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาคได้เป็นอย่างดี ห า ก จ ะ พิ จ า ร ณ า ถึ ง บ ท บ า ท ข อ ง กรุงเทพมหานครต้องค�ำนึงถึง 2 นัยยะ กล่าวคือ นั ย ยะแรก คื อ ในเชิ ง พื้ น ที่ ซึ่ ง กรุ ง เทพมหานคร มีเนือทีทงหมด 1,568.737 ตารางกิโลเมตร และ ้ ่ ั้ เป็นที่ตั้งของหลายหน่วยงาน นัยยะที่สอง คือ กรุ ง เทพมหานครเป็ น เขตการปกครองพิ เ ศษ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ทีตองบริหารจัดการ ่้ ด้านต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเอง หากแต่ กรุงเทพมหานครเป็นทั้งเมืองหลวงและศูนย์กลาง ด้านต่างๆ การบริหารจัดการกรุงเทพมหานครจึง มีความเชือมโยงกับหลายหน่วยงานและมีลกษณะ ่ ั การด�ำเนินงานที่มีความแตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ
  • 16. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 กรุงเทพมหานครมีบทบาทสูงมากต่อการพัฒนา การท่องเที่ยวของประเทศหรืออาจกล่าวได้ว่า กรุ ง เทพมหานครเป็ น หั ว ใจของการท่ อ งเที่ ย ว ของประเทศ ด้ ว ยความได้ เ ปรี ย บในการเป็ น ศูนย์กลางการเดินทางของนักท่องเทียว โดยเฉพาะ ่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ที่ ต ้ อ งการท่ อ งเที่ ย ว ในแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ของประเทศไทยและ ประเทศเพื่อนบ้านแถบอินโดจีน อย่างไรก็ตาม กระแสการเปลี่ ย นแปลงในปั จ จุ บั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ความท้าทายในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทียว ่ ของกรุงเทพมหานครหลายประการ เช่น ความวุนวาย ่ ทางการเมื อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกรุ ง เทพมหานคร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การเติ บ โตของการคมนาคม การเดินทางไปยังแหล่งท่องเทียวโดยตรงในจังหวัด ่ อื่นโดยไม่ผ่านกรุงเทพมหานคร ภาวการณ์เติบโต ของเมืองท่องเที่ยวคู่แข่ง เป็นต้น ล้วนกระทบต่อ การเติบโตของการท่องเทียวของกรุงเทพมหานคร ่ โดยตรง กรุงเทพมหานครจึงจ�ำเป็นต้องพัฒนา และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ซึ่ ง ประสบความส�ำเร็จไม่น้อย ดังปรากฏหลักฐาน ชั ด เจนจากผลการส� ำ รวจความคิ ด เห็ น ของ นักท่องเที่ยวทั่วโลกโดยนิตยสารทราเวล แอนด์ เลเชอร์ (Travel & Leisure Magazine) (ดังตารางที่ 1.1) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอันดับที่เพิ่มขึ้นและลดลง ของกรุ ง เทพมหานครในการเป็ น เมื อ งที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก จากอันดับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2550 เพิ่มเป็น อันดับที่ 1 ในปี พ.ศ. 2551 ลดลงเป็นอันดับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2552 และกลับมาเป็นอันดับที่ 1 อีกครัง ้ ในปี พ.ศ. 2553 ส�ำหรับการเป็นเมืองท่องเที่ยว ทีดทสดในโลกและเมืองท่องเทียวทีดทสดของเอเชีย ่ ี ี่ ุ ่ ่ ี ี่ ุ ตารางที่ 1.1 ผลการส�ำรวจเมืองที่ดีที่สุดในโลก เมืองท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลกและเมืองท่องเที่ยวที่ดี ที่สุดของเอเชียโดยนิตยสารทราเวล แอนด์ เลเชอร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2553 เมืองท่องเที่ยว Bangkok, Thailand Chiang Mai, Thailand Florence, Italy San Miguel de Allende, Mexico Rome, Italy Sydney, Australia Buenos Aires, Argentina Oaxaca, Mexico Barcelona, Spain New York, United States of America ปี พ.ศ. 2553 ล�ำดับ คะแนน 1 90.30 2 89.35 3 89.17 4 89.09 5 6 7 8 9 10 88.60 87.99 87.98 87.78 87.71 87.68 ปี พ.ศ. 2552 ล�ำดับ คะแนน 3 86.80 5 86.18 6 85.61 9 11 4 8 84.63 84.27 86.22 84.65 ปี พ.ศ. 2551 ปี พ.ศ. 2550 ล�ำดับ คะแนน ล�ำดับ 1 87.61 3 5 86.24 1 7 4 2 8 85.12 86.49 87.24 85.03 4 5 2 6 ที่มา : www.travelandleisure.com เข้าถึง 20 มีนาคม พ.ศ. 2554 2
  • 17. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 3 การพิ จ ารณารางวั ล ดั ง กล่ า วใช้ เ กณฑ์ 6 ประเด็น คือ สถานทีทองเทียว (Sights) ศิลปวัฒนธรรม ่่ ่ (Culture and Arts) ภั ต ตาคารและอาหาร (Restaurants and Food) ผู้คน (People) แหล่งจับจ่ายใช้สอย (Shopping) และความคุมค่า ้ (Value) ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับรางวัลดังกล่าว อย่างต่อเนื่องถึง 4 ปี อันเป็นเครื่องหมายยืนยัน ความนิยมของนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกได้ เป็นอย่างดี กระนันก็ตาม ยังมีปจจัยภายในและภายนอก ้ ั ที่ เ ป็ น จุ ด อ่ อ นและเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การพั ฒ นา การท่องเทียวของกรุงเทพมหานคร ทังศักยภาพของ ่ ้ การบริหารจัดการภายในกรุงเทพมหานครที่ไม่มี หน่วยงานรับผิดชอบด้านการท่องเทียวโดยตรงใน ่ ระดับเขต สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง ของประเทศที่ มั ก ใช้ ก รุ ง เทพมหานครเป็ น ศูนย์กลางในการเรียกร้องและเดินขบวนประท้วง ปั ญ หาเศรษฐกิ จ ทั้ ง จากภายในและภายนอก ประเทศ ภาวะการแข่งขันทางการท่องเที่ยวที่ ท วี ความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะจากเมืองท่องเที่ยว คูแข่งต่างๆ ทีปรับกลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเทียว ่ ่ ่ ในหลายรู ป แบบ พฤติ ก รรมนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เปลียนแปลงไป การถดถอยอย่างรุนแรงของตลาด ่ นักท่องเทียวชาวต่างชาติ รวมทังสภาพการท่องเทียว ่ ้ ่ ของโลกในภาพรวมทีเ่ ปลียนแปลงไป ล้วนเป็นปัจจัย ่ ที่กรุงเทพมหานครต้องพิจารณาและวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา การท่องเทียวเพือน�ำมาจัดท�ำแผนพัฒนา การท่องเทียว ่ ่ ่ ของกรุ ง เทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การท่องเที่ยวโลก และแนวโน้มการพัฒนาเมืองท่องเที่ยวที่ส� ำคัญ ทั่วโลก พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ทัศนคติของ ชาวกรุงเทพมหานครในฐานะเจ้าบ้าน ศักยภาพ ทรัพยากรทางการท่องเทียวและการบริหารจัดการ ่ การท่องเที่ยว บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวกับ การพัฒนาการท่องเที่ยว กฎหมาย ระเบียบและ แผนยุ ท ธศาสตร์ ใ นระดั บ ต่ า งๆ ซึ่ ง เป็ น การให้ ความส�ำคัญอย่างรอบด้านทั้งปัจจัยภายในและ ภายนอก บนฐานความสมดุ ล ของการพั ฒ นา การท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวและเจ้าบ้าน ดังนัน เพือให้การพัฒนาการท่องเทียวเป็นไปตาม ้ ่ ่ ทิศทางทีสร้างสรรค์ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ ่ สั ง คม วั ฒ นธรรมและสิ่ ง แวดล้ อ มในปั จ จุ บั น ส� ำ นั ก วั ฒ นธรรม กี ฬ า และการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครจึงจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียว ่ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 1.2 วัตถุประสงค์โครงการ 1.2.1 เพือให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนา ่ การท่องเทียวกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558) ่ ซึ่งมีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ ในการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร ในด้านต่างๆ อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ โดยสอดคล้องกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552-2555 แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 10 แผนพั ฒ นา การท่องเที่ยวแห่งชาติ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้านการท่องเที่ยว 1.2.2 เพื่ อ ให้ ไ ด้ แ ผนงาน โครงการและ ข้อเสนอแนะตามแผนในข้อ 1.2.1 ซึงกรุงเทพมหานคร ่ และหน่วยงานทีเ่ กียวข้อง สามารถน�ำไปปฏิบตเิ พือ ่ ั ่ ให้บรรลุตามยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนด 1.2.3 เพือให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ่ องค์กร ผู้ประกอบการและประชาชนที่เกี่ยวข้อง ด้านการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครมีส่วนร่วม ในการพัฒนาการท่องเที่ยว 1.2.4 เพื่ อ ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า น การท่องเทียวของกรุงเทพมหานครได้ศกษาเรียนรู้ ่ ึ วิธีการและกระบวนการจัดท�ำแผนในข้อ 1.2.11.2.3
  • 18. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 1.3 เป้าหมายของโครงการ 1.3.1 จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุ ง เทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558) โดยครอบคลุมทรัพยากรและศักยภาพแหล่งท่องเทียว ่ ทุกส�ำนักงานเขต จ�ำนวน 1 แผน 1.3.2 จัดท�ำแผนงาน โครงการและข้อเสนอ แนะให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2554-2558) 1.3.3 การจั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของ แผนงานโครงการต่างๆ และสามารถด�ำเนินการ ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่างเป็นระบบ 1.4 ลักษณะโครงการ 1.4.1 เป็นโครงการต่อเนื่องในการจัดท�ำ แผนแม่บทเพือพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ่ ่ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2548-2552) 1.4.2 สอดคล้ อ งกั บ แผนบริ ห ารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552-2555 แผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 แผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติและแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้านการท่องเที่ยว 1.4.3 มีแผนงาน โครงการและข้อเสนอแนะ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 4
  • 19. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 บทที่ 2 กรอบแนวคิดการศึกษา 2.1 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 สถานการณการทองเที่ยวโลก แนวโนมการทองเที่ยว ของประเทศไทยและการพัฒนา เมืองทองเที่ยวที่สำคัญของโลก พฤติกรรมของนักทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร การดำเนินการ ตามแผนพัฒนา การทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร ทัศนคติของ ชาวกรุงเทพมหานครตอ การพัฒนาการทองเที่ยว ศักยภาพทรัพยากร การทองเที่ยวและศักยภาพ การบริหารจัดการ การทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร บทบาทของหนวยงาน ที่เกี่ยวกับการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร แผนพัฒนา การทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร การดำเนินงาน ตามแผนภายใต ความรวมมือจาก ภาคสวนตางๆ การพัฒนา การทองเที่ยวของ กรุงเทพมหานคร อยางสรางสรรคและ ยั่งยืน กฎหมาย ระเบียบและ แผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวกับ การพัฒนาการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร แผนผังที่ 2.1 กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ่ 5
  • 20. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 2.2 แนวทางการด�ำเนินโครงการ แนวทางการด�ำเนินงานเพือจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ่ ่ สรุปกระบวนการด�ำเนินงานได้ดังแผนผังที่ 1.2 ขั้นที่ ๑ การเก็บรวมรวมและวิเคราะหขอมูล - การวิเคราะหสถานการณการทองเที่ยวโลก แนวโนมการทองเที่ยวของประเทศไทยและการพัฒนาเมืองทองเที่ยวที่สำคัญของโลก - การสำรวจและวิเคราะหพฤติกรรมการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร - การสำรวจและวิเคราะหทัศนคติของชาวกรุงเทพมหานครตอการพัฒนาการทองเที่ยว - การสำรวจและวิเคราะหศักยภาพทรัพยากรการทองเที่ยวและศักยภาพการบริหารจัดการการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร - การศึกษาบทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร - การวิเคราะหกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร - การสังเคราะหแผนยุทธศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานคร - การจัดประชุมเพื่อรับฟงขอมูลเพิ่มเติมจากกลุมเปาหมาย ขั้นที่ ๒ การรางแผนฯ ๑. การจัดประชุมเพื่อรางแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร ๒. การจัดประชุมเพื่อรางแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ ๑.๑ การจัดประชุมระดมความคิดเพื่อพิจารณารางแผนพัฒนา การทองเที่ยวกรุงเทพมหานครจากกลุมเปาหมายหลัก ๑.๒ การประชุมประชาพิจารณแผนพัฒนาการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร ๑.๓ การประชุมเพื่อยกรางแผนพัฒนาการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร ๒.๑ การจัดประชุมระดมความคิดเพื่อพิจารณารางแผนพัฒนา การทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ จากกลุมเปาหมายหลัก ๒.๒ การประชุมประชาพิจารณแผนพัฒนาการทองเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่จากกลุมเปาหมาย ๒.๓ การประชุมเพื่อยกรางแผนพัฒนาการทองเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ ขั้นที่ ๓ การเผยแพรและฝกอบรม ๑. การประชุมชี้แจงแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ ๒. การประชุมฝกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวของ ๓. การเผยแพรแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการทองเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ แผนผังที่ 2.2 กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ขั้นที่ 1 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนนี้มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้ข้อมูลส�ำหรับใช้ในการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครที่เป็นจริง เป็นปัจจุบนและมีความหมายในเชิงกลยุทธ์ โดยมีรายละเอียดแนวทาง การด�ำเนินงานในแต่ละประเด็น ั ดังต่อไปนี้ 6
  • 21. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 7 1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์การท่องเทียวโลก ่ แนวโน้ ม การท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทยและ การพั ฒ นาเมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของโลก เป็นการวิเคราะห์กลุมเมืองท่องเทียวทีมผลิตภัณฑ์ ่ ่ ่ี การท่ อ งเที่ ย วคล้ า ยคลึ ง กั บ กรุ ง เทพมหานคร อาทิ ลอนดอน ปารีส โรม เป็นต้น ซึ่งเป็นเมืองที่มี วัฒนธรรมอันสวยงาม ประวัติศาสตร์อันยาวนาน และเป็ น เมื อ งหลวงของประเทศต่ า งๆ ที่ เ ป็ น เมืองท่องเทียวมีชอเสียงสามารถดึงดูดนักท่องเทียว ่ ื่ ่ ได้ จ ากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก และกลุ ่ ม เมื อ งท่ อ งเที่ ย ว ที่ เ ป็ น คู ่ แข่ ง ส� ำ คั ญ กั บ กรุ ง เทพมหานคร อาทิ โตเกียว ปักกิ่ง โซล สิงคโปร์ ดูไบ เป็นต้น เหล่านี้ เป็นเมืองท่องเที่ยว ที่ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว มี ก ารส่ ง เสริ ม การตลาดอย่ า งเต็ ม ที่ แ ละสร้ า ง สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเพื่อขยายส่วนแบ่ง ทางการตลาดการท่องเที่ยว 1.2 การส�ำรวจและวิเคราะห์พฤติกรรม ของนักท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ่ การส�ำรวจพฤติกรรมการท่องเทียวของนักท่องเทียว ่ ่ จากกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย 400 คน นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 400 คน และวิเคราะห์ ข้อมูลแต่ละกลุ่ม ทั้งข้อมูลส่วนบุคคล ลักษณะ การเดินทาง ผูรวมเดินทาง การเลือกทีพก การรับรู้ ้่ ่ ั ข้อมูลข่าวสารการท่องเทียว กิจกรรมการท่องเทียว ่ ่ ระยะเวลาพ�ำนักและการใช้จ่าย เป็นต้น 1.3 ก ารส� ำ รวจและวิ เ คราะห์ ทั ศ นคติ ของชาวกรุ ง เทพมหานครต่ อ การพั ฒ นา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร การส�ำรวจทัศนคติในการพัฒนาการท่องเทียว ่ ของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น ชาวกรุ ง เทพมหานคร 400 คน กระจายตามเขตต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ ผลกระทบด้านต่างๆ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ 1.4 การส� ำ รวจและวิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพ ทรั พ ยากรทางการท่ อ งเที่ ย วและศั ก ยภาพ การบริหาร จัดการการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ่ เป็นการค้นหาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเทียวที่ ่ โดดเด่นในแต่ละเขตและวิเคราะห์ศกยภาพในการบริหาร ั จั ด การการท่ อ งเที่ ย วของกรุ ง เทพมหานคร ทั้งในระดับเขตและระดับส่วนกลาง 1.5 การศึ ก ษาบทบาทของหน่ ว ยงานที่ เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ่ ่ เป็ น การวิ เ คราะห์ บ ทบาทของหน่ ว ยงาน ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วของ กรุงเทพมหานคร 1.6 วิ เ คราะห์ ก ฎหมายและระเบี ย บที่ เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ่ ่ เป็ น การวิ เ คราะห์ ก ฎหมายและระเบี ย บ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุ ง เทพมหานคร อาทิ พระราชบั ญ ญั ติ รั ก ษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 เป็นต้น 1.7 การสังเคราะห์แผนยุทธศาสตร์อนๆ ที่ ื่ เกียวกับการพัฒนาการท่องเทียวกรุงเทพมหานคร ่ ่ เป็ น การสั ง เคราะห์ แ ผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละ แผนพัฒนาอื่นๆ ในระดับที่สูงกว่าและเกี่ยวข้อง กับการพัฒนาการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร อาทิ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 (ร่าง) แผนพัฒนา การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2555-2559 แผนการตลาดของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2553 แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 12 ปี (พ.ศ. 2552-2563) เป็นต้น 1.8 การจัดประชุมเพือรับฟังข้อมูลเพิมเติม ่ ่ จากกลุ่มเป้าหมาย เป็ น การน� ำ ผลการวิ เ คราะห์ ทั้ ง หมดตาม ประเด็นข้างต้นมาคืนข้อมูลและรับฟังข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมจากกลุ่มเป้าหมายหลัก 6 กลุ่ม ได้แก่
  • 22. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 1) ผู้บริหารของกรุงเทพมหานคร 2) บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การ การท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร 3) ตัวแทนผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 4) หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5) ตัวแทนนักวิชาการด้านการท่องเที่ยว 6) ตัวแทนชุมชนและปราชญ์ท้องถิ่น ขั้นที่ 2 การร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ ขั้ น ตอนนี้ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ น� ำ ข้ อ มู ล และ ผลการวิเคราะห์ที่ได้จากขั้นที่ 1 มาใช้ในการร่าง แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 และแผนพัฒนาการท่องเทียว ่ กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ โดยเปิดโอกาสให้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย วของ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ ส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และ การท่องเที่ยว ส�ำนักงานเขต ผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยว องค์กรบริหารแหล่งท่องเที่ยว ชุมชน นั ก วิ ช าการ ได้ เ สนอความคิ ด เห็ น เพื่ อ ยกร่ า ง แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะ พื้ น ที่ บ นฐานผลการวิ เ คราะห์ จ ากขั้ น ที่ 1 ทีครอบคลุมทุกมิตของการพัฒนาการท่องเทียวด้วย ่ ิ ่ กระบวนการมีสวนร่วมทีสงเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ ่ ่่ ที่เกี่ยวข้องนี้มีความรู้ความเข้าใจในแผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา การท่ อ งเที่ ย วกรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่ ที่ร่างขึ้น ซึ่งเอื้อต่อการด�ำเนินงานร่วมกันในเชิง เครือข่ายพันธมิตร ในการด�ำเนินการตามแผนพัฒนา การท่องเทียวกรุงเทพมหานครเพือน�ำไปสูการปฏิบติ ่ ่ ่ ั ทีสมฤทธิผล โดยมีขนตอนในการด�ำเนินการ ดังนี้ ่ั ์ ั้ 2.1 การจัดประชุมเพือจัดท�ำร่างแผนพัฒนา ่ การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็ น การประชุ ม ระดมความคิ ด ร่ ว มกั น ระหว่างคณะท�ำงาน คณะที่ปรึกษาและผู้บริหาร ของกรุงเทพมหานคร โดยน� ำผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากขั้นที่ 1 มาสังเคราะห์สภาพแวดล้อม ของการพัฒนา การท่องเทียวกรุงเทพมหานครและ ่ ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน ตัวชี้วัดและโครงการเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 2.2 การจั ด ประชุ ม ระดมความคิ ด เพื่ อ พิ จ ารณาร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็นการประชุมระดมความคิดกลุมเป้าหมาย ่ 6 กลุม ซึงประกอบด้วย ผูบริหารของกรุงเทพมหานคร ่ ่ ้ บุคลากรทีเ่ กียวข้องกับการจัดการการท่องเทียวของ ่ ่ กรุงเทพมหานคร ตัวแทนผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว ้ ่ และธุรกิจทีเ่ กียวข้อง หน่วยงานภาครัฐอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง ่ ่ ่ ตัวแทนนักวิชาการด้านการท่องเทียว ตัวแทนชุมชน ่ และปราชญ์ท้องถิ่น แล้วประมวลความคิดเห็น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพืนทีให้มความสมบูรณ์มากขึน ้ ่ ี ้ 2.3 การจัดประชุมเพือสรุปร่างแผนพัฒนา ่ การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็นการน�ำความคิดเห็นที่ได้จากการประชุม ระดมความคิดมาประมวลผลและใช้เป็นแนวทาง ในการปรั บ ปรุ ง แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ให้มีความสมบูรณ์ โดยการประชุ ม ระดมความคิ ด ร่ ว มกั น ระหว่ า ง 8
  • 23. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 คณะท� ำ งาน คณะที่ ป รึ ก ษาและผู ้ บ ริ ห ารของ กรุงเทพมหานครก่อนน�ำไปประชาพิจารณ์ต่อไป 2.4 การประชุมประชาพิจารณ์แผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็ น การน� ำ ร่ า งแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่ ที่ ป รั บ ปรุ ง ตาม ข้อเสนอแนะจากการประชุมระดมความคิดและ ประชุมสรุปร่างแผนฯ มาจัดประชุมประชาพิจารณ์ กับกลุ่มเป้าหมายทั้ง 6 กลุ่มข้างต้น 9 ขั้นที่ 3 การเผยแพร่และการฝึกอบรม ขันตอนนีมเี ป้าหมายเพือชีแจง สร้างการรับรู้ ้ ้ ่ ้ และความเข้ า ใจต่ อ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพืนทีทผานการประชาพิจารณ์ ้ ่ ี่ ่ แล้ ว แก่ ก ลุ ่ ม เป้าหมายหลัก 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 1) บุคลากรกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงาน เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 1) กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ สื่อมวลชน นักวิชาการ ผูประกอบการเอกชน หน่วยงานราชการ ้ อื่นๆ ผู้น�ำชุมชนและปราชญ์ท้องถิ่น การเผยแพร่และการฝึกอบรมประกอบด้วย 3 กิจกรรมดังนี้ 3.1 การจั ด ประชุ ม ชี้ แ จงแผนพั ฒ นา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็นการจัดประชุมชีแจงแผนพัฒนาการท่องเทียว ้ ่ กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุ ง เทพมหานครเฉพาะพื้ น ที่ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห าร กรุ ง เทพมหานครทั้ ง ระดั บ ส่ ว นกลางและ ส�ำนักงานเขต เพื่อให้กลุ่มผู้บริหารตระหนักถึง ความส� ำ คั ญ และประโยชน์ ข องแผนฯ และ มีความรู้ความเข้าใจต่อองค์ประกอบของแผนฯ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ส ามารถแปลงแผนไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ในระดับต่างๆ ได้ ทั้งการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ และพั ฒ นาในระดั บ หน่ ว ยงานหรื อ พื้ น ที่ แ ละ การวางแผนงานหรือด�ำเนินโครงการให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนา การท่องเทียวกรุงเทพมหานครได้ ่ 3.2 ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม บุ ค ล า ก ร ข อ ง กรุงเทพมหานครที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว เป็นการฝึกอบรมให้บคลากรของกรุงเทพมหานคร ุ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวทั้งระดับส่วนกลางและ ส�ำนักงานเขตให้สามารถเขียนแผนพัฒนาการท่องเทียว ่ ในระดับเขต ระดับเครือข่ายการท่องเที่ยวและ โครงการที่สอดคล้องกับแผนฯ ได้ 3.3 การเผยแพร่แผนพัฒนาการท่องเทียว ่ กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่ เป็นการเผยแพร่แผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครและแผนพัฒนาการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครเฉพาะพื้นที่แก่กลุ่มเป้าหมาย กลุมอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง ได้แก่ สือมวลชน นักวิชาการ ่ ่ ่ ่ ผู้ประกอบการเอกชน หน่วยงานราชการอื่นๆ ผูนำชุมชนและปราชญ์ทองถิน เพือให้เกิดการรับรู้ ้ � ้ ่ ่ และความเข้าใจต่อแนวทางการพัฒนาการท่องเทียว ่ ของกรุงเทพมหานคร อันจะน�ำไปสู่การท�ำงาน อย่างบูรณาการระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.3 พื้นที่ศึกษา พื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.4 งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย ว กรุงเทพมหานคร การท่องเทียวกรุงเทพมหานครได้รบความสนใจ ่ ั จากนักวิจัยหลายท่านในการศึกษา โดยในครั้งนี้
  • 24. รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554-2558 ขอน�ำเสนอสรุปผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 17 เรื่อง ดังนี้ 2.4.1 แนวทางการพั ฒ นาการตลาด การท่องเทียวเชิงนิเวศส�ำหรับนักท่องเทียวสูงอายุ ่ ่ ชาวญี่ ปุ ่ น ในกรุ ง เทพมหานคร โดยสมหมาย เที่ยงแท้ (2549) ซึ่งมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมและรูปแบบความต้องการ การท่องเทียว ความสนใจและความคิดเห็น ่ ของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่น 2) ศึกษาความคิดเห็น ทัศนคติของหน่วยงาน ภาครัฐบาล ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเทียวทีมตอตลาดนักท่องเทียว ่ ่ี่ ่ สูงอายุชาวญี่ปุ่น 3) ศึกษาสภาพพืนทีทวไปในแหล่งท่องเทียว ้ ่ ั่ ่ ที่นักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นนิยมเดินทาง ไปเยี่ยมเยือนบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ ถนนสีลม สยามช้อปปิ้งเซ็นเตอร์ ถนน สุขุมวิท 4) วิเคราะห์ศักยภาพทางด้านสิ่งแวดล้อม การท่ อ งเที่ ย ว สั ง คม เศรษฐกิ จ ใน แหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวบริเวณเกาะ รัตนโกสินทร์ ถนนสีลม สยามช้อปปิ้ง เซ็นเตอร์ ถนนสุขุมวิท 5) ศึ ก ษาแนวทางการพั ฒ นาการตลาด การท่องเทียวเชิงนิเวศส�ำหรับนักท่องเทียว ่ ่ สูงอายุชาวญี่ปุ่นในกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก และการสั ง เกตการณ์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคคล 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) เจ้าหน้าทีรฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ่ั 2) ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง 3) นักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่นที่มีอายุ มากกว่า 50 ปีขึ้นไป (นักท่องเที่ยว 20 คน เป็นผูชาย 10 คน ผูหญิง 10 คน) ้ ้ รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 51 คน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมและรูปแบบ ความต้ อ งการการท่ อ งเที่ ย ว ความสนใจและ ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวญี่ปุ่น พบว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วส่ ว นใหญ่ มี อ ายุ อ ยู ่ ใ นช่ ว ง 50-60 ปี โดยจะเดิ น ทางมาในช่ ว งวั น หยุ ด มีระยะเวลาพ�ำนัก 7-10 วัน เหตุทมาเทียวเมืองไทย ี่ ่ เพราะคนไทย มีอธยาศัยดี มีไมตรีจต มีความสุภาพ ั ิ ท� ำ ให้ อ ยากเดิ น ทางกลั บ มาพ�ำ นั ก ระยะยาวใน ประเทศไทย หลังเกษียณอายุการท�ำงาน ที่พัก ในกรุ ง เทพมหานครระหว่ า งการท่ อ งเที่ ย ว คื อ อพาร์ ต เม้ น ท์ โดยจะเลื อ กที่ มี ค วามปลอดภั ย ทั้งทางด้านร่างกายและทรัพย์สิน มีสิ่งอ� ำนวย ความสะดวกและสภาพแวดล้อมดี ระดับราคาทีพก ่ ั ที่พอใจอยู่ในระดับราคา 2,000-3,000 บาท ส�ำหรับค่าใช้จ่ายที่นอกเหนือจากค่าที่พักจะอยู่ที่ ประมาณวันละ 2,000-3,000 บาท มีความสนใจ ทีจะซือผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายและผลิตภัณฑ์ ่ ้ หัตถกรรมพื้นบ้าน รูปแบบการท่องเที่ยว ไม่ชอบ การจั บ จ่ า ยใช้ ส อยต้ อ งการไปท่ อ งเที่ ย วใน แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ในต่างจังหวัด เช่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย ส�ำหรับแหล่งข้อมูลการท่องเทียวจะหาจากอินเตอร์เน็ต ่ แผ่นพับ หนังสือน�ำเที่ยวและบริษัทน�ำเที่ยว ปัญหาทีนกท่องเทียวสูงอายุชาวญีปนพบคือ ่ ั ่ ่ ุ่ 1) การสือสารกับพนักงานสนามบิน โรงแรม ่ ทีพกอาศัย ร้านอาหาร คนขับแท็กซีหรือ ่ ั ่ สามล้อเครื่องและสถานบริการต่างๆ ซึ่ ง ไม่ ส ามารถสื่ อ สารกั น ให้ เข้ า ใจได้ อย่างชัดเจน 2) ป้ายสื่อความหมายหรือป้ายบอกทาง มีแต่ภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ อยากให้ มีภาษาญี่ปุ่นด้วย 10