SlideShare a Scribd company logo
Enviar búsqueda
Cargar
Iniciar sesión
Registrarse
Social networking, direct media
Denunciar
pawineeyooin
Seguir
12 de Feb de 2012
•
0 recomendaciones
•
562 vistas
1
de
14
Social networking, direct media
12 de Feb de 2012
•
0 recomendaciones
•
562 vistas
Descargar ahora
Descargar para leer sin conexión
Denunciar
pawineeyooin
Seguir
Recomendados
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
1.7K vistas
•
17 diapositivas
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tanyarad Chansawang
512 vistas
•
18 diapositivas
บทที่ 22
อติมา อุ่นจิตร
292 vistas
•
11 diapositivas
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
prakaytip
561 vistas
•
24 diapositivas
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Sirintip Kongchanta
344 vistas
•
11 diapositivas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ปรียาพร ศิริวัฒน์
461 vistas
•
19 diapositivas
Más contenido relacionado
La actualidad más candente
Social network
นู๋ผึ้ง สุภัสสรา นวลสม
336 vistas
•
32 diapositivas
บทที่2
หฤทัย จารุจิตร
531 vistas
•
13 diapositivas
2
Pattharasaya Mheeta
266 vistas
•
19 diapositivas
บทที่2
mewinlove1995
132 vistas
•
13 diapositivas
Mil chapter 1_2(2)
ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช
350 vistas
•
6 diapositivas
บทที่ 2
She's Ning
384 vistas
•
11 diapositivas
La actualidad más candente
(16)
Social network
นู๋ผึ้ง สุภัสสรา นวลสม
•
336 vistas
บทที่2
หฤทัย จารุจิตร
•
531 vistas
2
Pattharasaya Mheeta
•
266 vistas
บทที่2
mewinlove1995
•
132 vistas
Mil chapter 1_2(2)
ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช
•
350 vistas
บทที่ 2
She's Ning
•
384 vistas
01 บทที่ 1-บทนำ
Print25
•
209 vistas
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ปุ๊ปลั๊ก ลุ๊ลั๊ก
•
916 vistas
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ปุ๊ปลั๊ก ลุ๊ลั๊ก
•
2.4K vistas
บทที่ 2
Kanistha Chudchum
•
330 vistas
Facebook
Alex Sarawoot
•
146 vistas
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Miw Inthuorn
•
291 vistas
01 บทที่ 1-บทนำ
Wilaiporn Seehawong
•
102 vistas
Aw22
Jirapong Thongseeon
•
853 vistas
01 บทที่ 1-บทนำ
พรสุดา สุโขยชัย
•
173 vistas
แบบเสนอโครงร่าง
She's Ning
•
200 vistas
Similar a Social networking, direct media
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
114.3K vistas
•
14 diapositivas
บทที่ 22
อติมา อุ่นจิตร
166 vistas
•
11 diapositivas
บทที่ 22
อติมา อุ่นจิตร
275 vistas
•
11 diapositivas
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
1.8K vistas
•
13 diapositivas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
814.5K vistas
•
19 diapositivas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tangkwa Tom
316 vistas
•
23 diapositivas
Similar a Social networking, direct media
(20)
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
•
114.3K vistas
บทที่ 22
อติมา อุ่นจิตร
•
166 vistas
บทที่ 22
อติมา อุ่นจิตร
•
275 vistas
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
•
1.8K vistas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
•
814.5K vistas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tangkwa Tom
•
316 vistas
2
Siraporn Wangkeeree
•
302 vistas
บทที่ 2
Kanistha Chudchum
•
344 vistas
2
Dexloei Prawza
•
240 vistas
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
•
767 vistas
บทที่ 1
นิชนิภา อรรถพร
•
434 vistas
บทที่ 1
นิชนิภา อรรถพร
•
209 vistas
งานHUGE
Nattaporn Keawpimon
•
766 vistas
digital marketing
Aew Zhiitzu
•
2.3K vistas
บทที่1
Tangkwa Tom
•
169 vistas
บทที่1
Tangkwa Tom
•
181 vistas
บทที่1
Paveena Saleesri
•
140 vistas
01 บทที่ 1-บทนำ
Sirintip Kongchanta
•
194 vistas
บทที่1
Dexloei Prawza
•
161 vistas
Digital trend 2014
Suthasinee Lieopairoj
•
1.2K vistas
Social networking, direct media
2.
แนวโน้ มของการบริ โภคสื่ออินเตอร์
เน็ต โดยเฉพาะโลกของสังคมเครื อข่าย (Social Networking) ทังการอัพโหลดข้ อมูล การแชร์ รูปภาพ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บบล็อก ต่างก็ ้ กาลังเข้ าสูกระแสของสังคม ความนิยมไม่ได้ เกิดขึ ้นเฉพาะในกลุมวัยรุ่นที่มีอายุตงแต่อายุ 15-30 ปี ที่ ่ ่ ั้ เรี ยกกันว่า Generation Y, Z หรื อ D ที่เป็ นนักเรี ยน นักศึกษาเท่านัน แต่ครอบคลุมไปถึงกลุมคนวัย ้ ่ ทางาน ทังระดับพนักงาน ผู้บริ หาร นักวิชาการ นักวิชาชีพ รวมถึง นักการเมือง ศิลปิ น ดารา และคนสูงอายุ ้ ที่หนมาให้ ความสนใจและให้ ความสาคัญกับการใช้ ประโยชน์ผ่านสังคมเครื อข่ายนี ้อย่างมากมาย ยิ่งไปกว่า ั นัน สังคมเครื อข่ายยังสามารถเข้ าถึงได้ ไม่จากัดเวลา และพื ้นที่ เพราะทุกที่ ทุกเวลาสามารถทาการ ้ ติดต่อสื่อสารได้ หากสามารถเข้ าถึงอินเตอร์ เน็ตได้ ที่สาคัญโลกของการสื่อสารออนไลน์ก็ได้ ย้ายเข้ ามาสู่ โทรศัพท์มือถือที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต และมีแอพพลิเคชัน รวมทังแพลตฟอร์ มต่างๆ ให้ สามารถใช้ ่ ้ สื่อสารได้
3.
ประเภทของ Social Networking •
การเขียนบทความ (Weblog) เป็ นระบบจัดการเนื ้อหา (Content Management System: CMS) รูปแบบหนึง ซึง ่ ่ ทาให้ ผ้ ใช้ สามารถเขียนบทความที่เรี ยกว่าโพสต์และทาการเผยแพร่ได้ โดยง่ายเป็ นปั จจุบนนักการตลาดนิยมให้ Blogger ได้ เข้ ามา ู ั ทดลองใช้ สินค้ า แทนการใช้ ดารา หรื อบุคคลที่มีชื่อเสียงมาเป็ นพรี เซ็นเตอร์ แล้ วให้ Blogger เขียนข้ อความในลักษณะสนับสนุน หรื อแนะนาสินค้ าจนกลายเป็ นกลยุทธ์Marketing Influencer • แหล่ งข้ อมูลหรื อความรู้ (Data/ Knowledge) เป็ นเว็บที่รวบรวมข้ อมูล ความรู้ในเรื่ องต่างๆ ในลักษณะเนื ้อหาอิสระ ทัง้ วิชาการ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สินค้ า หรื อบริการ โดยมุ่งเน้ นให้ บคคลที่มีความรู้ในเรื่ องต่างๆ เหล่านันเป็ นผู้เข้ ามาเขียนหรื อแนะนา ุ ้ ไว้ • ประเภทเกมส์ ออนไลน์ (Online games) เป็ นเว็บที่นยมมากเพราะเป็ นแหล่งรวบรวมเกมส์ไว้ มากมาย จะมีลกษณะเป็ นวิดีโอ ิ ั เกมส์ที่เล่นบนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะบนอินเทอร์ เน็ต ซึงเกมออนไลน์นี ้ ผู้เล่นสามารถที่จะสนทนา เล่น แลกเปลี่ยน items ่ ในเกมส์กบบุคคลอื่นๆ ในเกมส์ได้ และสาเหตุที่มีผ้ นยมมากเนื่องจาก ผู้เล่นได้ เข้ าสังคมจึงรู้สึกสนุกที่จะมีเพื่อนเล่นเกมไปด้ วยกัน ั ู ิ มากกว่าการเล่นเกมคนเดียว อีกทัง้ มีกราฟฟิ คที่สวยงามมากและมีกิจกรรมต่างๆ
4.
•
ประเภทชุมชนออนไลน์ (Community) เป็ นเว็บที่เน้นการหาเพื่อนใหม่ หรื อการตามหาเพื่อนเก่าที่ไม่ได้เจอกันนาน การสร้าง Profile ของตนเอง โดยการใส่ รูปภาพ, กราฟฟิ คที่แสดงถึงความเป็ นตัวตนของเรา (Identity) ให้เพื่อนที่ อยูในเครื อข่ายได้รู้จกเรามากยิ่งขึ้น และยังมีลกษณะของการแลกเปลี่ยนเรื่ องราว ถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆ ร่ วมกัน เช่น ่ ั ั Hi5, Facebook, MySpace, MyFriend เป็ นต้น • ประเภทฝากรู ปภาพ (Photo management) เว็บที่เน้นฝากเฉพาะรู ปภาพ (Photo) โดยไม่เปลืองฮาร์ดดิสก์ ส่ วนตัว โดยการ Upload รู ปภาพจากกล้องถ่ายรู ป หรื อโทรศัพท์มือถือไปเก็บไว้บนเว็บ ซึ่ งสามารถแชร์ภาพหรื อซื้ อ ขายภาพกันได้อย่างง่ายดาย เช่น Flickr, Photoshop Express, Photobucket ฯลฯ เป็ นต้น • ประเภทสื่ อ (Media) เว็บที่ใช้ฝากหรื อแบ่งปัน (Sharing) ไฟล์ประเภท Multimedia อย่าง คลิปวีดีโอ ภาพยนตร์ เพลง ฯลฯ โดยใช้วธีเดียวกันแบบเว็บฝากภาพ แต่เว็บนี้เน้นเฉพาะไฟล์ที่เป็ น Multimedia เช่น ิ YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เป็ นต้น • ประเภทซื้อ-ขาย (Business / commerce) เป็ นเว็บที่ทาธุ รกิจออนไลน์ที่เน้นการซื้อ-ขายสิ นค้า หรื อบริ การต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ (E-commerce) เช่น การซื้อ-ขายรถยนต์ หนังสื อ หรื อ ที่พกอาศัย ซึ่ง ั เป็ นเว็บที่ได้รับความนิยมมาก เช่น Amazon, eBay, Tarad, Pramool ฯลฯ แต่เว็บไซต์ ประเภทนี้ยงไม่ถือว่าเป็ น Social Network ที่แท้จริ ง เนื่องจากมิได้เปิ ดโอกาสให้ผใช้บริ การ ั ู้ แชร์ ข้อมูลกันได้หลากหลาย นอกจากเน้นการสังซื้อและแนะนาสิ นค้าเป็ นส่วนใหญ่ ่
5.
กระแสนิยม หรื อ
แฟชัน (Fashion) คือ ความนิยม ความคลังไคล้ ที่มีลกษณะแบบฉาบฉวย นิยมเร็ว เบื่อเร็ว เป็ นไปตามแฟชัน เพื่อสร้ าง ่ ่ ั ่ การมีส่วนร่วม การยอมรับในสังคม ณ เวลาใด เวลาหนึง แต่เมื่อเวลาผ่านไปเมื่อเทคโนโลยี เรื่ องราว หรื อพฤติกรรมต่างๆ ได้ ถกละเลยหรื อมี ่ ู สิ่งใหม่เข้ ามาทดแทน สิ่งนันก็จะไม่เป็ นกระแสต่อไป แนวโน้ ม หรื อ เทรนด์ คือ การที่สงคมยอมรับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม เทคโนโลยี ้ ั หรื อความคิดที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคต ส่วนคาว่า “สื่อหลัก” (Mainstream Media) คือ ช่องทางการสื่อสารที่คนทัวไปในสังคมให้ ่ ความสาคัญและมีความจาเป็ นต้ องใช้ ในการติดต่อสื่อสาร หรื อบริโภคข้ อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างต่อเนื่องเป็ นประจา โดยสามารถใช้ สื่อ เหล่านันเป็ นแหล่งข้ อมูลอ้ างอิง และสร้ างความเชื่อถือได้ ้ ในอนาคตคนในสังคมโลกมีแนวโน้ มว่าอาจต้ องใช้ Social Networking เป็ นช่องทางหลักในการ ติดต่อสื่อสาร และเป็ นไปได้ วา รูปแบบการสื่อสารในสังคมโลกยุคต่อไปจะดารงอยูบนโลกเสมือนจริ ง (Virtual ่ ่ Communication) มากกว่าการสื่อสารที่อยูบนโลกของความเป็ นจริ ง ดังนัน เราคงต้ องให้ ระยะเวลาเป็ นตัว ่ ้ ขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็ น ค่อยไป
6.
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์
2548 Mark Zuckerburg ได้เปิ ดตัวเว็บไซต์ facebook ซึ่ งเป็ นเว็บประเภท social network ที่ตอนนั้น เปิ ดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น และเว็บนี้ก็ดงขึ้นมาใน ั ่ ชัวพริ บตา เพราะแค่เพียงเปิ ดตัวได้สองสัปดาห์ ครึ่ งหนึ่งของนักศึกษาที่เรี ยนอยูที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ก็สมัครเป็ น ่ สมาชิก facebook เพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่ มมี ความต้องการ และอยากขอเข้าใช้งาน facebook บ้างเหมือนกัน facebook ถือได้ วาเป็ นเว็บไซต์ที่มีผ้ ใช้ งานมากที่สดเป็ นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริ กาและเป็ นเว็บไซต์ที่มีผ้ อพโหลด ่ ู ุ ูั รูป ภาพสูงที่สดด้ วยจานวน 4 หมื่นหนึ่งพันล้ านรูป และปั จจุบนก็เป็ นที่นิยมทัวโลก ุ ั ่
7.
Business analysis การประมาณยอดขาย
กาไร และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนของสินค้ าใหม่ใน อนาคตFacebook มีรายได้ สวนใหญ่มาจากการโฆษณา โดยไมโครซอฟท์เป็ นผู้ร่วมหุ้นพิเศษในด้ านการบริ การแบน ่ เนอร์ โฆษณา และเฟซบุ๊กให้ มีการโฆษณาเฉพาะที่อยูในรายการลูกค้ าของไมโครซอฟท์ และจากข้ อมูลของคอมสกอร์ ่ และจากจานวนสถิติไมโครซอฟต์ได้ ร่วมลงทุนใน facebook เป็ นจานวนเงิน 240 ล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ เพื่อแลกกับ หุ้นจานวน 1.6 % ในเดือนตุลาคม 2551 ทาให้ มลค่ารวมของ facebook มีมากกว่า 15,000 ล้ านบาท และ ู ทาให้ facebook เป็ นบริ ษัทอินเทอร์ เน็ตที่มีมลค่าสูงเป็ นอันดับ 5 ในหมูบริ ษัทอินเทอร์ เน็ตในสหรัฐอเมริ กา ด้ วย ู ่ มูลค่ารายรับต่อปี เพียงแค่ 150 ล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ การแบ่ งส่ วนตลาดของ Facebook เป็ นสัดส่ วนดังนี ้ Facebook จะครองแชมป์ผู้ให้ บริการโฆษณา ออนไลน์ ด้ วยจานวนโฆษณาที่นาเสนอต่อผู้ใช้ บริ การในสหรัฐ 176,300 ล้ านดิสเพลย์ เพิ่มขึ ้นจาก 70,700 ล้ านดิสเพลย์เมื่อปี ก่อน คิดเป็ นส่วนแบ่งตลาด 16.2% เพิ่มเป็ น 2 เท่าจากส่วนแบ่งตลาด 7.5% ตลอดทังปี ้ 2552 ขณะที่แชมปเก่า ที่ครองตาแหน่งมายาวนานอย่างยาฮู อิงค์ ตกไปอยูอนดับสอง โดยไตรมาสแรกมีดิสเพลย์ ์ ่ั โฆษณาทังหมด 131,500 ล้ านดิสเพลย์ หรื อ 12.1% ในตลาดตามมาด้ วยไมโครซอฟท์ 60,200 ล้ านดิสเพลย์ ้ คิดเป็ นส่วนแบ่งตลาด 5.5% และในส่วนของเดือนมี.ค. ที่ผ่านมา Facebook ขึ ้นแท่นเป็ นเว็บไซต์ที่มีผ้ เู ข้ าเยี่ยม ชมมากที่สด แซงหน้ า กูเกิล อิงค์ ที่อยูในตาแหน่งนี ้มานาน ุ ่
8.
Market size วิเคราะห์ Market
size ของ บริษัท Facebook • ปั จจุบนมีขนาดตลาดที่ใหญ่และกว้ างขวางและมีผ้ ใช้ งานทัวโลก ั ู ่ • สามารถเจาะกลุมลูกค้ าได้ อย่างกว้ างขวาง ่ • Facebook ไม่ใช่สินค้ าที่เป็ นผลิตภัณฑ์แต่เป็ นการบริ การจึงมีการเจาะตลาดที่รวดเร็ วและสะดวกสบาย ปริมาณของผู้ใช้ Facebook โดยเฉลี่ย
9.
SWOT Analysis Strengths (จุดแข็ง) •
การสร้ างสังคมเหมือนจริ ง ทาให้ facebook ใกล้ ชิดกับผู้ใช้ งานมาก และมีฐานข้ อมูลรายละเอียดของผู้ใช้ งานเหนือกว่าคูแข่งการหารายได้ จากโฆษณา ่ เจ้ าใหญ่ อย่าง Google • การพัฒนาล ้าหน้ าหรื อให้ ก้าวทันคูแข่งอยูเ่ สมอ ทังด้ านความสมบูรณ์ ของความสามารถหลัก และความหลากหลายของความสามารถอืน ทาให้ สามารถสร้ าง ่ ้ ่ network effect เติบโตได้ อย่างต่อเนื่อง • การสร้ างความเชื่อมโยงกับ website อื่นๆ ทาให้ ผ้ ใช้ งาน ใช้ งาน facebook เพิ่มขึ ้นแม้ อยูใน website อื่น ู ่ • ความรวดเร็ วในการแก้ ไขปั ญหา เช่นประเด็นปั ญหาที่เปราะบางอย่างเรื่ องสิทธิ สวนบุคคล ่ • การได้ รับการสนับสนุนจากผู้ถือหุ้น ซึงเป็ นเจ้ าตลาดไอทีอย่าง Microsoft ่ Weaknesses (จุดอ่อน) • ผู้พฒนาโปรแกรมยังมีน้อยทาให้ ไม่มีโปรแกรมทีดีเพียงพอในการใช้ งานบน facebook platform ั ่ • ความสามารถในการทากาไรของบริษัทยังน้ อยเมื่อเปรี ยบเทียบกับมูลค่า website • อัตราการคลิกโฆษณายังตามหลัง search engine อยูมาก ่ Opportunities (อุปสรรค) • อัตราการใช้ internet ของคนทัวไปเพิ่มสูงขึ ้นอย่างมาก ่ • การพัฒนาของ gadget ต่างๆ ที่สามารถรองรับการใช้ โปรแกรม และ internet ได้ เป็ นพื ้นฐาน Threats (โอกาส) • การแข่งขันในธุรกิจที่สูง • การพัฒนาระบบให้ รองรับ และก้ าวทันขนาดของข้ อมูล และ feature ที่เกิดขึ ้นใหม่ๆ • ไม่สามารถสร้ างความได้ เปรี ยบในด้ านการใช้ งานได้ อย่างยังยืน เนื่องจากคูแข่งสามารถสร้ างความสามารถที่คล้ ายกันหรือเหนือกว่าตามได้ ตลอดเวลา ่ ่
10.
วิเคราะห์ Strengths และ
Weaknesses My Space • Strengths (จุดแข็ง) - มีลกเล่นค่อยข้ างมากกว่าที่อื่นไม่วาจะเป็ นในส่วนของ Layout, Music ,Photo เป็ นต้ น รวมทัง ู ่ ้ - มีการแสดงให้ เห็นใน Contact list ของ MSN อีกด้ วย (เป็ นรูปดาวๆหน้ าชื่อนันล่ะครับ ) ่ - สามารถกาหนดสิทธิคนที่จะเข้ าดูได้ หลายระดับ - myspace ก็เป็ นเครื่ องมือที่ดีในการนาม าใช้ ทางการศึกษา การสร้ างบล็อคแหล่งเรี ยนรู้ร่วมกันในmyspaceนี ้ สามารถออกแบบให้ สวยงามน่าเข้ าไปใช้ งานมากกว่าเฟสบุ๊ค • Weaknesses (จุดอ่ อน) คือเปิ ดดูช้ามากยิ่งถ้ าเราต้ องการให้ บล็อคนี ้มีลกเล่นเยอะทาให้ เข้ าช้ า ดูยาก จึงทาให้ เป็ นที่นิยมในกลุม ู ่ นักเ ขียนบทความที่ต้องการนาเสนอเรื่ องราวต่างๆ ซึงจะต่างจากเฟสบุ๊คที่ต้องการพบปะพูดคุยทักทาย ่ ซึงการทักทายเป็ นกิจวัตรประจาวันทาให้ มีกลุมผู้ใช้ มากกว่า และเข้ า เฟสบุ๊คเป็ นประจาทุกวันทาให้ เรา ่ ่ สามารถนา เรื่ องราวข่าวสารหรื อบทความความรู้ ขึ ้นไปไว้ ได้ กลุมเปาหมายที่เราต้ องการสือสารก็ ่ ้ ่ สามารถเข้ าถึงได้ ง่ายกว่า
11.
6W 1H คือกระบวนการในการวิเคาระห์ถึงการตอบสนอง
ความต้ องการของผู้บริโภคประกอบด้ วย WHO:ผู้ บริโภคคือใครตังแต่เด็ก วัยรุ่น วัยทางาน วัยสูงอายุ กลุ่มลูกค้ าเปาหมายของเรา เป็ นใครฐานะดีหรื อไม่ดี การึกษาเป็ นอย่างไร ้ ้ Facebookกลุ่มเปาหมายคือวัยรุ่น วัยทางาน สามารถเล่นได้ ทกระดับไม่ได้ จากัดเรื่ องฐานะ ้ ุ WHO:ผู้ บริโภคคือใครตังแต่เด็ก วัยรุ่น วัยทางาน วัยสูงอายุ กลุ่มลูกค้ าเปาหมายของเรา เป็ นใครฐานะดีหรื อไม่ดี การึกษาเป็ นอย่างไร ้ ้ Facebookกลุ่มเปาหมายคือวัยรุ่น วัยทางาน สามารถเล่นได้ ทกระดับไม่ได้ จากัดเรื่ องฐานะ ้ ุ WHAT:ซื ้ออะไร ดูProductขององค์กรว่าเราขายอะไรFacebookเป็ นบริการออนไลน์ที่สามารถติดต่อสือสารกันได้ และยังให้ ความ บันเทิงที่ไม่เสียค่าใช่จ่าย WHERE:ซื ้อที่ไหน ลูกค้ าหรื อผู้บริโภคจะสามารถจัดหา จัดซื ้อสินค้ า ได้ จากไหนFacebookสามารถเล่นได้ ทกที่ ที่มีอินเตอร์ เน็ต ุ WHEN:ต้ องการซื ้อเมื่อไหร่ เช่นส่วนใหญ่จะซื ้อต้ นเดือน เพระเป็ นช่วงกระเป๋ าตุงเงินเดือนส่วนของ Facebook เป็ นบริการสือออนไลน์ ที่ไม่เสียค่าบริการสารามาถเล่นได้ ทกเวลาที่ต้องการ ุ WHY:ทาไมต้ องซื ้อสินค้ าชนิดนี ้ แบบนี ้ Facebook เป็ นการติดต่อสือสารกันอีกทางหนึงที่นยมใช้ กนในปั จจุบน ่ ิ ั ั WHOM:ใครมีส่วนตัดสินใจในการซื ้อ เวลาซื ้อใครมาเอี่ยวเกี่ยวข้ องด้ วยนี ้ Facebookจะเป็ นกลุ่มเพื่อนที่เป็ นตัวกระตุ้นในการ สมัครเล่นเพราะเป็ นการติดต่อสื่อสารกัน HOW:ซื ้ออย่างไร คาถามข้ อนี ้เพื่อให้ ทราบถึงวิธีการซื ้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคเช่นค่านิยมที่จะชาระค่าผลิตภัณฑ์ด้วยบัตรเครดิต เงินสด หรื อเงินผ่อนFacebookไม่ได้ เป็ นการเลือกซื ้อเพราะไม่มีค่าใช้ จ่ายในการให้ บริการ
12.
วิเคราะห์ STP
S การแบ่งส่วนตลาด (Segmentation) หมายถึง เป็ นการแบ่งกลุมลูกค้ าที่มีความต้ องการเหมือนๆกัน ช่วง ่ อายุเดียวกัน เพศเดียวกัน หรื อเชื ้อชาติเดียวกัน เข้ าไว้ ด้วยกัน ข้ อมูลที่มีใน facebook ads มีข้อมูลเฉพาะช่วงอายุ 13-64 ปี ซึงเชื่อว่าคนที่มีอายุมากหรื อน้ อยกว่านี ้มีอยูแล้ ว และ ่ ่ ข้ อมูลน่าจะมีความคาดเคลื่อนบ้ างแต่คิดว่าไม่น่าจะมาก ในประเทศไทยกลุมคนที่มีอายุ 20 ปี ใช้ Facebook เยอะ ่ ที่สดในประเทศไทย คือประมาณ 284,400 คน หรื อประมาณ 6% ของทังหมด ช่วงอายุที่มีคนเล่นมากว่า 2 แสนคนคือ ุ ้ 18-26 ปี จานวนทังหมดของคนไทยที่ใช้ Facebook คือ 4,755,980 คน เป็ นชาย 2,094,740 คน และเป็ นผู้หญิง ้ 2,661,240 คน หรื อคิดเป็ นเปอร์ เซนต์ได้ วา เป็ นผู้หญิง 56% เป็ นผู้ชาย 44% ตอนนี ้ผู้หญิงเล่น Facebook มากกว่า ่ ผู้ชายเกือบ 6 แสนคน ผมสรุปได้ วาผู้หญิง ชอบการเข้ าสังคม อยูเ่ ป็ นกลุมมากกว่าผู้ชาย ทังโลกจริ งและโลกเสมือน มี ่ ่ ้ ข้ อสังเกตอีกนิดคือ ผู้ชายจะมีสดส่วนผู้ใช้ มากกว่าผู้หญิงเมื่ออายุมากขึ ้น เริ่ มตังแต่อายุ 38 ปี ขึ ้นไป ั ้
13.
T การกาหนดตลาดเปาหมาย (Targeting)
หมายถึง การเลือกส่วนตลาดหนึงส่วนตลาด หรื อหลายส่วนตลาด หรื อทั ้งหมด ้ ่ เพื่อใช้ เป็ นตลาดเปาหมายสาหรับการใช้ สวนประสมทางการตลาดในการดาเนินการกับตลาดเปาหมายที่ได้ เลือกไว้ ้ ่ ้ กลุมตลาดเปาหมายของ facebook ส่วนใหญ่จะไม่เจาะจงอายุ และเพศ แต่จะเน้ นไปถึงกลุมคนที่ชอบเทคโนโลยี การ ่ ้ ่ สือสารออนไลน์ ซึงจะมีเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆอย่างเห็นได้ ชดในปั จจุบน ่ ่ ั ั P การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์ (Positioning) หมายถึง การสร้ างลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ที่คาดว่าจะตรงตามความต้ องการ ของตลาดบริ ษัทจาเป็ นต้ องนาเสนอให้ ตลาดได้ รับรู้ และจดจาตาแหน่งผลิตภัณฑ์ของตนทั ้งนี ้ เพื่อเป็ นการตอกย ้าการนาเสนอ คุณสมบัติที่สามารถครองใจลูกค้ าได้
14.
ส่ วนผสมทางการตลาด Marketing
Mix 4P’s ผลิตภัณฑ์ (Product) - facebook เป็ นบริ การสื่อออนไลน์ ราคา(Price) - facebook ไม่มีราคาสินค้ าเพราะเป็ นสังคมออนไลน์ที่เกี่ยวกับสื่อสารออนไลน์ สถานที่(Place) - facebook รู้ จกต่อๆกันมาจากสังคมเล็กๆจนขยายออกไปในสังคมขนาดใหญ่ ั การส่ งเสริมการตลาด (Promotiom) - facebookไม่มีการจัดโปรโมชันหรื อกิจกรรมทางการตลาดใดๆ เพราะเป็ นการบริการผ่านสื่อออนไลน์ ่