SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่มีผลต่ อภาวะ
     โภชนาการของวัยรุ่ นในกรุ งเทพมหานคร
The fast food consumer behavior that effect to the
       nutrition status of Bangkok teenage
ปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของคนไทยสามารถถ่ ายทอดถึงกันได้
อย่ างแพร่ หลาย โดยเฉพาะอาหารจานด่ วนจากตะวันตกที่เข้ ามามีบทบาท และมี
อิทธิพลต่ อพฤติกรรมการบริโภคโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นในกรุงเทพมหานครมี
อาหารประเภทฟาสต์ ฟู้ดหลายชนิด เช่ น ไก่ทอด ฮอดดอก แฮมเบเกอร์
แซนด์ วช พิซซ่ า มันฝรั่งทอด เป็ นต้ น พบว่ าพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย
        ิ
ในกรุงเทพมหานครเปลียนแปลงไปมาก โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น มีการบริโภค
                           ่
อาหารประเภทไขมัน และนาตาลสู งขึนในขณะเดียวกันมีการบริโภคผัก ผลไม้
                                ้          ้
และอาหารกากใยลดน้ อยลง จากการสารวจพบว่ าลูกค้ าส่ วนใหญ่ ของอาหาร
ประเภทนีเ้ ป็ นกลุ่มวัยรุ่น ที่เป็ นนักเรียน นักศึกษาถึงร้ อยละ 75 ทีเ่ หลือเป็ นกลุ่ม
บุคคลวัยทางาน แม่ บ้านและเด็ก นอกจากนียงพบว่ าร้ านอาหารเหล่านียงเป็ นที่
                                                ้ั                          ้ั
พบปะสั งสรรค์ และแหล่งนัดพบทีสาคัญของวัยรุ่น ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งของ
                                       ่
ปัญหาภาวะทางโภชนาการทีเ่ กิดกับวัยรุ่น
ภาวะโภชนาการจากวัยรุ่นทีบริโภคอาหารฟาสต์ ฟู้ด
                        ่

                           ภาวะโภชนาการ



                  17.67%

                                                ภาวะโภชนาการเกิน
                            82.33%              ภาวะโภชนาการปกติ
เครื่องมือและวิธีการในการวิจัย
    กลุ่มตัวอย่ างทีใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ เป็ นวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร ทีมา
                      ่                                                  ่
ใช้ บริการร้ านอาหารฟาสต์ ฟู้ดตามแหล่งจับจ่ ายใช้ สอยต่ าง ๆ เช่ น
สยามสแควร์ สี ลม สุ ขุมวิท และห้ างสรรพสิ นค้ าชั้นนาต่ าง ๆ โดยใช้
วิธีการสุ่ มตัวอย่ าง เพือการตรวจสอบแบบ Taro Yamane สุ่ มตัวอย่ าง
                         ่
จานวน 300 คนทีมีอายุระหว่ าง 13 – 22 ปี เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้
                    ่
เป็ แบบสอบถาม มี 4 ตอน ประกอบด้ วย ข้ อมูลพืนฐาน ได้ แก่ เพศ อายุ
                                                        ้
การศึกษา อาชีพบิดามารดา รายรับต่ อเดือน พฤติกรรมในการบริโภค
อาหารฟาสต์ ฟู้ด ได้ แก่ ประเภทของอาหารฟาสต์ ฟู้ดทีนิยมบริโภค ความ
                                                             ่
บ่ อยในการบริโภค ปริมาณในการบริโภคต่ อครั้ง
ข้ อมูลพืนฐานของกลุ่มตัวอย่ าง
         ้
             ข้ อมูลพืนฐาน้      ร้ อยละ
                 เพศ หญิง         60.00
                    ชาย           40.00
             อายุ 13 – 15 ปี      39.00
                16 – 18 ปี        51.67
                19 – 21 ปี          6.33
                22 ปี ขึ ้นไป       3.00
             ระดับการศึกษา        31.33
                 มัธยมต้ น        60.67
               มัธยมปลาย             8.0
                อุดมศึกษา
ผลจากการวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ พบว่ ากลุ่มตัวอย่ างมากกว่ า
ครึ่งหนึ่ง (ร้ อยละ 60.00) เป็ นผู้หญิง ร้ อยละ 51.67 มีอายุระหว่ าง
16 – 18 ปี รองลงมาร้ อยละ 39.00 มีอายุระหว่ าง 13 – 15 ปี ร้ อยละ 6.33
มีอายุระหว่ าง 19 – 21 ปี มีเพียงร้ อยละ 3.00 ทีมีอายุ มากกว่ า 22 ปี ส่ วน
                                                  ่
ระดับการศึกษาพบว่ า ร้ อยละ 60.67 กาลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมปลาย
รองลงมาร้ อยละ 31.33 กาลังศึกษาอยู่ระดับมัธยมต้ น และร้ อยละ 8.00
ศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา
ประเภทอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่นิยมบริโภค

90   85.33
80
                                                          ไก่ทอด
70           64   62
                                                          มันฝรั่งทอด
60                     51.67
                               47.33 47.33   45           ฮอทดอก
50                                                41.33   แซนด์ วช
                                                                 ิ
40
                                                          โดนัท
30
                                                          สลัด
20
                                                          พิซซ่ า
10
                                                          แฮมเบเกอร์
0
                       ประเภทอาหาร
จากผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพบว่ า อาหารทีวยรุ่นนิยมบริโภคส่ วนใหญ่ ร้ อย
                                               ่ั
ละ 85.33 คือ ไก่ทอด รองลงมาร้ อยละ 64.00 ได้ แก่ มันฝรั่งทอด ฮอทดอกร้ อย
ละ 62.00 แซนด์ วชร้ อยละ 51.67 และน้ อยทีสุด คือแฮมเบเกอร์ ร้อยละ 41.33
                    ิ                        ่
วัยรุ่นนิยมบริโภคไก่ทอดสู งสุ ด อาจเนื่องมาจากไก่ทอดบริโภคได้ ง่าย รสชาติ
อร่ อย และมีเนือสั ตว์ เป็ นส่ วนประกอบหลัก ทาให้ คุ้มกับราคาอาหารซึ่งให้ ผล
                  ้
ตรงกับข้ อมูลของมติชนสุ ดสั บดาห์ ปี 2545 ว่ า ฟาสต์ ฟู้ดที่ได้ รับความนิยมจาก
ผู้บริโภคมี 4 ประเภท ได้ แก่ ไก่ทอด ร้ อยละ 35.00 แฮมเบเกอร์ ร้ อยละ 30.00
พิซซ่ าร้ อยละ25.00 ส่ วนโดนัท และเบเกอรี่ร้อยละ 15.00 และร้ านอาหาร
ประเภทไก่ทอดยังมีการใช้ กลยุทธทางการตลาดในการเข้ าถึงผู้บริโภคกลุ่ม
วัยรุ่นได้ อย่ างรวดเร็ว คือการใช้ ธุรกิจระบบแฟรนไชส์
แหล่งการรับรู้ข้อมูลข่ าวสารเกียวกับอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่
                                         ่
แหล่ งข้ อมูล                          จานวนร้ อยละ
โทรทัศน์                               75.33 %
เพื่อน                                 68.67 %
ใบปลิว                                 52.33 %
ด้ วยตนเอง                             51.00 %
หนังสือพิมพ์                            31.33 %
พ่อแม่                                  30.33 %
นิตยสาร                                27.33 %
วิทยุ                                  16.33 %
สื่ออินเตอร์ เนต                       15.00 %
จากการวิคราะห์ ข้อมูลทางสถิติพบว่ า วัยรุ่นส่ วนใหญ่ ร้อยละ
75.33 ได้ รับข้ อมูลจากโทรทัศน์ รองลงมาร้ อยละ 68.67 ได้ รับข้ อมูลจาก
การบอกกล่าวของเพือน มีเพียงร้ อยละ 15.00 ได้ รับสื่ อจากทาง
                            ่
อินเตอร์ เน็ตเมื่อพิจารณาผลการวิจัยพบว่ า วัยรุ่นได้ รับข้ อมูลเกียวกับ
                                                                      ่
อาหารฟาสต์ ฟู้ด จากสื่ อทางโทรทัศน์ มากทีสุดนั่นก็เป็ นเพราะว่ า
                                                  ่
โทรทัศน์ เป็ นสื่ อทีเ่ ข้ าถึงผู้บริโภคได้ ดทสุด อีกทั้งผลิตภัณฑ์ อาหารฟาสต์
                                             ี ่ี
ฟูด้ ยังมีการลงทุนในการโฆษณาทางโทรทัศน์ สูงขึน ทาให้ สื่อเป็ นที่
                                                          ้
สนใจกับกลุ่มวัยรุ่น
เอกสารอ้ างอิง
                มาริน สาลี Marin Salee
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
                           ธัญบุรี
  Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala
           University of Technology Thanyaburi.
 _Corresponding author. E-mail: marinsalee@yahoo.co.th

More Related Content

What's hot

Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supplybnongluk
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์Rose Banioki
 
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...ssuser91ca10
 
B 11 3_olbaltumvielu_biosinteze
B 11 3_olbaltumvielu_biosintezeB 11 3_olbaltumvielu_biosinteze
B 11 3_olbaltumvielu_biosintezeDaina Birkenbauma
 
тема 2 грошовий обіг
тема 2 грошовий обігтема 2 грошовий обіг
тема 2 грошовий обігRudInna1
 
патофизиология экстремальных состояний.
патофизиология экстремальных состояний. патофизиология экстремальных состояний.
патофизиология экстремальных состояний. Igor Stefanet
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
вступ+тема1(1)
вступ+тема1(1)вступ+тема1(1)
вступ+тема1(1)cit-cit
 
тема 8
тема 8тема 8
тема 8cit-cit
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติกUtai Sukviwatsirikul
 
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1nattha rachamool
 
Лекція Гострі та хронічні розлади.pptx
Лекція  Гострі та хронічні розлади.pptxЛекція  Гострі та хронічні розлади.pptx
Лекція Гострі та хронічні розлади.pptxTetianaitova
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

MDRO
MDROMDRO
MDRO
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...
Перша допомога при ударах, вивихах, переломах, розтягненні зв'язок. Припиненн...
 
Cpg mdd-gp
Cpg mdd-gpCpg mdd-gp
Cpg mdd-gp
 
B 11 3_olbaltumvielu_biosinteze
B 11 3_olbaltumvielu_biosintezeB 11 3_olbaltumvielu_biosinteze
B 11 3_olbaltumvielu_biosinteze
 
тема 2 грошовий обіг
тема 2 грошовий обігтема 2 грошовий обіг
тема 2 грошовий обіг
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
патофизиология экстремальных состояний.
патофизиология экстремальных состояний. патофизиология экстремальных состояний.
патофизиология экстремальных состояний.
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
вступ+тема1(1)
вступ+тема1(1)вступ+тема1(1)
вступ+тема1(1)
 
тема 8
тема 8тема 8
тема 8
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1
ใบงานประวัติศาสตร์สากล 1
 
Лекція Гострі та хронічні розлади.pptx
Лекція  Гострі та хронічні розлади.pptxЛекція  Гострі та хронічні розлади.pptx
Лекція Гострі та хронічні розлади.pptx
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Патофізіологія імунної системи
Патофізіологія імунної системиПатофізіологія імунної системи
Патофізіологія імунної системи
 

Similar to พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด

สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคpawineeyooin
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันMett Raluekchat
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพPreeya Leelahagul
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคJimmy Pongpisut Santumpol
 
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)W&S Thailand Market Research
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5ohmsyeppii
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม Tuang Thidarat Apinya
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontDok-Dak R-Sasing
 
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิงานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิNuanchawee Junsen
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยSirirat Yimthanom
 

Similar to พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด (20)

สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควัน
 
วิจัยSlide
วิจัยSlideวิจัยSlide
วิจัยSlide
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)
รายงานผลสำรวจความนิยมในการรับประทานอาหารเจสำเร็จรูปในประเทศไทย (พฤศจิกายน 2557)
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.5
 
Research method
Research methodResearch method
Research method
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
 
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิงานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัย
 
Jp treport summary1
Jp treport summary1Jp treport summary1
Jp treport summary1
 

พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด

  • 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่มีผลต่ อภาวะ โภชนาการของวัยรุ่ นในกรุ งเทพมหานคร The fast food consumer behavior that effect to the nutrition status of Bangkok teenage
  • 2. ปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของคนไทยสามารถถ่ ายทอดถึงกันได้ อย่ างแพร่ หลาย โดยเฉพาะอาหารจานด่ วนจากตะวันตกที่เข้ ามามีบทบาท และมี อิทธิพลต่ อพฤติกรรมการบริโภคโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นในกรุงเทพมหานครมี อาหารประเภทฟาสต์ ฟู้ดหลายชนิด เช่ น ไก่ทอด ฮอดดอก แฮมเบเกอร์ แซนด์ วช พิซซ่ า มันฝรั่งทอด เป็ นต้ น พบว่ าพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย ิ ในกรุงเทพมหานครเปลียนแปลงไปมาก โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น มีการบริโภค ่ อาหารประเภทไขมัน และนาตาลสู งขึนในขณะเดียวกันมีการบริโภคผัก ผลไม้ ้ ้ และอาหารกากใยลดน้ อยลง จากการสารวจพบว่ าลูกค้ าส่ วนใหญ่ ของอาหาร ประเภทนีเ้ ป็ นกลุ่มวัยรุ่น ที่เป็ นนักเรียน นักศึกษาถึงร้ อยละ 75 ทีเ่ หลือเป็ นกลุ่ม บุคคลวัยทางาน แม่ บ้านและเด็ก นอกจากนียงพบว่ าร้ านอาหารเหล่านียงเป็ นที่ ้ั ้ั พบปะสั งสรรค์ และแหล่งนัดพบทีสาคัญของวัยรุ่น ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งของ ่ ปัญหาภาวะทางโภชนาการทีเ่ กิดกับวัยรุ่น
  • 3. ภาวะโภชนาการจากวัยรุ่นทีบริโภคอาหารฟาสต์ ฟู้ด ่ ภาวะโภชนาการ 17.67% ภาวะโภชนาการเกิน 82.33% ภาวะโภชนาการปกติ
  • 4. เครื่องมือและวิธีการในการวิจัย กลุ่มตัวอย่ างทีใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ เป็ นวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร ทีมา ่ ่ ใช้ บริการร้ านอาหารฟาสต์ ฟู้ดตามแหล่งจับจ่ ายใช้ สอยต่ าง ๆ เช่ น สยามสแควร์ สี ลม สุ ขุมวิท และห้ างสรรพสิ นค้ าชั้นนาต่ าง ๆ โดยใช้ วิธีการสุ่ มตัวอย่ าง เพือการตรวจสอบแบบ Taro Yamane สุ่ มตัวอย่ าง ่ จานวน 300 คนทีมีอายุระหว่ าง 13 – 22 ปี เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ ่ เป็ แบบสอบถาม มี 4 ตอน ประกอบด้ วย ข้ อมูลพืนฐาน ได้ แก่ เพศ อายุ ้ การศึกษา อาชีพบิดามารดา รายรับต่ อเดือน พฤติกรรมในการบริโภค อาหารฟาสต์ ฟู้ด ได้ แก่ ประเภทของอาหารฟาสต์ ฟู้ดทีนิยมบริโภค ความ ่ บ่ อยในการบริโภค ปริมาณในการบริโภคต่ อครั้ง
  • 5. ข้ อมูลพืนฐานของกลุ่มตัวอย่ าง ้ ข้ อมูลพืนฐาน้ ร้ อยละ เพศ หญิง 60.00 ชาย 40.00 อายุ 13 – 15 ปี 39.00 16 – 18 ปี 51.67 19 – 21 ปี 6.33 22 ปี ขึ ้นไป 3.00 ระดับการศึกษา 31.33 มัธยมต้ น 60.67 มัธยมปลาย 8.0 อุดมศึกษา
  • 6. ผลจากการวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ พบว่ ากลุ่มตัวอย่ างมากกว่ า ครึ่งหนึ่ง (ร้ อยละ 60.00) เป็ นผู้หญิง ร้ อยละ 51.67 มีอายุระหว่ าง 16 – 18 ปี รองลงมาร้ อยละ 39.00 มีอายุระหว่ าง 13 – 15 ปี ร้ อยละ 6.33 มีอายุระหว่ าง 19 – 21 ปี มีเพียงร้ อยละ 3.00 ทีมีอายุ มากกว่ า 22 ปี ส่ วน ่ ระดับการศึกษาพบว่ า ร้ อยละ 60.67 กาลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมปลาย รองลงมาร้ อยละ 31.33 กาลังศึกษาอยู่ระดับมัธยมต้ น และร้ อยละ 8.00 ศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา
  • 7. ประเภทอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่นิยมบริโภค 90 85.33 80 ไก่ทอด 70 64 62 มันฝรั่งทอด 60 51.67 47.33 47.33 45 ฮอทดอก 50 41.33 แซนด์ วช ิ 40 โดนัท 30 สลัด 20 พิซซ่ า 10 แฮมเบเกอร์ 0 ประเภทอาหาร
  • 8. จากผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพบว่ า อาหารทีวยรุ่นนิยมบริโภคส่ วนใหญ่ ร้ อย ่ั ละ 85.33 คือ ไก่ทอด รองลงมาร้ อยละ 64.00 ได้ แก่ มันฝรั่งทอด ฮอทดอกร้ อย ละ 62.00 แซนด์ วชร้ อยละ 51.67 และน้ อยทีสุด คือแฮมเบเกอร์ ร้อยละ 41.33 ิ ่ วัยรุ่นนิยมบริโภคไก่ทอดสู งสุ ด อาจเนื่องมาจากไก่ทอดบริโภคได้ ง่าย รสชาติ อร่ อย และมีเนือสั ตว์ เป็ นส่ วนประกอบหลัก ทาให้ คุ้มกับราคาอาหารซึ่งให้ ผล ้ ตรงกับข้ อมูลของมติชนสุ ดสั บดาห์ ปี 2545 ว่ า ฟาสต์ ฟู้ดที่ได้ รับความนิยมจาก ผู้บริโภคมี 4 ประเภท ได้ แก่ ไก่ทอด ร้ อยละ 35.00 แฮมเบเกอร์ ร้ อยละ 30.00 พิซซ่ าร้ อยละ25.00 ส่ วนโดนัท และเบเกอรี่ร้อยละ 15.00 และร้ านอาหาร ประเภทไก่ทอดยังมีการใช้ กลยุทธทางการตลาดในการเข้ าถึงผู้บริโภคกลุ่ม วัยรุ่นได้ อย่ างรวดเร็ว คือการใช้ ธุรกิจระบบแฟรนไชส์
  • 9. แหล่งการรับรู้ข้อมูลข่ าวสารเกียวกับอาหารฟาสต์ ฟู้ดที่ ่ แหล่ งข้ อมูล จานวนร้ อยละ โทรทัศน์ 75.33 % เพื่อน 68.67 % ใบปลิว 52.33 % ด้ วยตนเอง 51.00 % หนังสือพิมพ์ 31.33 % พ่อแม่ 30.33 % นิตยสาร 27.33 % วิทยุ 16.33 % สื่ออินเตอร์ เนต 15.00 %
  • 10. จากการวิคราะห์ ข้อมูลทางสถิติพบว่ า วัยรุ่นส่ วนใหญ่ ร้อยละ 75.33 ได้ รับข้ อมูลจากโทรทัศน์ รองลงมาร้ อยละ 68.67 ได้ รับข้ อมูลจาก การบอกกล่าวของเพือน มีเพียงร้ อยละ 15.00 ได้ รับสื่ อจากทาง ่ อินเตอร์ เน็ตเมื่อพิจารณาผลการวิจัยพบว่ า วัยรุ่นได้ รับข้ อมูลเกียวกับ ่ อาหารฟาสต์ ฟู้ด จากสื่ อทางโทรทัศน์ มากทีสุดนั่นก็เป็ นเพราะว่ า ่ โทรทัศน์ เป็ นสื่ อทีเ่ ข้ าถึงผู้บริโภคได้ ดทสุด อีกทั้งผลิตภัณฑ์ อาหารฟาสต์ ี ่ี ฟูด้ ยังมีการลงทุนในการโฆษณาทางโทรทัศน์ สูงขึน ทาให้ สื่อเป็ นที่ ้ สนใจกับกลุ่มวัยรุ่น
  • 11. เอกสารอ้ างอิง มาริน สาลี Marin Salee คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. _Corresponding author. E-mail: marinsalee@yahoo.co.th