SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
1


                          Geospatial System on Cloud Computing

1. บทนํา
                                                      ้
            Cloud Computing (การประมวลผลแบบกอนเมฆ) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ทีมีการประมวลผล
    ่                                                                         ่
อยูในระบบอินเทอร์ เน็ต บนรู ปแบบของโครงสร้างการประมวลผลขนาดใหญทีทํางานรวมกน มีการ       ่ ั
แบงปั นทรัพยากรในการประมวลผลร่ วมกนบนเครื อขายอินเตอร์ เน็ต ราวกบวาเป็ นหนวยประมวลผล
      ่                                          ั      ่                  ั ่        ่
เดียวกน ปั จจุบนมีการให้นิยามจากผูพฒนาแนวคิดนีได้แก่
          ั        ั                     ้ ั
                                             ่
            บริ ษท Gartner ได้ให้นิยามวา “Cloud computing is a style of computing where massively
                 ั
scalable IT-related capabilities are provided ‘as a service’ across the Internet to multiple external
customers” หรื อ ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆคือ แนวทางการประมวลผลทีพลังของโครงสร้าง
                     ่
ทางไอทีขนาดใหญทีขยายตัวได้ถูกนําเสนอยังลูกค้าภายนอกจํานวนมหาศาลในรู ปแบบของบริ การ
                                       ่
            ฟอเรสเตอร์ กรุ๊ ป ได้นิยามวา “Cloud computing: A pool of abstracted, highly scalable,and
managed infrastructure capable of hosting end-customer applications and billed by consumption”
หรื อ กลุ่มของโครงสร้างพืนฐานทีถูกบริ หารจัดการและขยายตัวได้อยางมาก ซึ งมีขีดความสามารถใน
                                                                     ่
การรองรับโปรแกรมประยุกต์ต่างๆของผูใช้และเกบคาบริ การตามการใช้งาน
                                               ้   ็ ่
            Cloud Computing เป็ นเทคโนโลยีทีพัฒนาขึนมาเพือตอบสนองรู ปแบบการทํางานและการใช้
                         ่           ่
งานระบบสารสนเทศผานเครื อขายอินเตอร์ เน็ต โดยเน้นไปทีการจัดทําระบบประมวลผลและโครงสร้าง
                                   ่                                     ่
พืนฐานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญเพือรองรับการใช้งานของผูใช้จานวนมากผานโปรแกรมประยุกต์ที
                                                              ้ ํ
                                                          ่
ทํางานแบบ SAAS ผูใช้งาน Cloud Computing ไมจําเป็ นทีต้องรับภาระการดําเนิ นการจัดทําระบบ
                            ้
                                                                             ่ ่
คอมพิวเตอร์ หรื อการขยายระบบเมือองค์กรมีจานวนผูใช้มากขึน และจายคาบริ การการใช้หนวย
                                                    ํ       ้                                     ่
                                                                       ่
ประมวลผลตามการใช้งานจริ ง ซึ งจะทําให้ลดต้นทุนการลงทุนในสวนของคอมพิวเตอร์ประมวลผล
        ่                                                         ั
และคาบํารุ งรักษา แนวคิด Cloud Computing นี เปรี ยบเสมือนกบการบริ การไฟฟ้ า โดยมองการบริ การ
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็ นเหมือนโครงสร้างสาธารณูปโภคพืนฐานที                               ่
                                                                                องค์กรหรื อหนวยงาน
สามารถใช้งานได้โดยไมมีขอบเขต  ่




                                                                                   นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
2


2. Architectural layers of Cloud Computing
                                                              ั
        รู ปแบบการทํางานของ Cloud Computing นันคล้ายคลึงกบระบบ GRID Computing บน
                             ่     ่ ั
เทคโนโลยี virtualization แตแตกตางกนตรงทีมีการออกแบบและพัฒนา API รวมถึงรายละเอียดของ
                                            ื ่             ั ิ            ิ
โปรโตคอลและการเชือมโยงการทํางานใหม่ให้ยดหยุนและเหมาะกบกจกรรมทางธุรกจมากขึน โดย
                                     ่ ั
Cloud Computing นันเป็ นการทํางานรวมกนเพือนําเอาความสามารถของระบบประมวลผลมหาศาลมา
              ่                                                                 ั
ใช้งาน โดยไมจําเป็ นทีต้องมีชนิ ดและประเภทของ hardware และระบบปฏิบติการทีเหมือนกน
                                                                  ั




สามารถจําแนกชนิ ดของ Cloud Computing ออกได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ตามรู ปแบบการบริ การได้แก่
                                                                                       ่
                   1. Public Clouds : เป็ นระบบบริ การทีทัวไปเน้นไปทีการทํางานแบบไมเฉพาะเจาะจง
                                       ่
เพือบริ การลูกค้าจํานวนมาก ราคาไมแพงผูใช้ทวไปสามารถเข้าถึงได้
                                              ้ ั
                                                                                              ่
                   2. Private clouds : เป็ นระบบทีมีความเฉพาะเพือทํางานสําหรับลูกค้า โดยเชือมตอการ
                 ่
ทํางานโดยตรงผาน Cloud Provider มีระบบการจัดการข้อมูล การรักษาความปลอดภัยทีดี
                   3. Hybrid Clouds: เป็ นระบบแบบเชือมประสานการทํางานของทัง Public Clouds และ
                           ่ ่                          ่
Private clouds สามารถสงตอข้อมูลและคําสังข้ามระหวาง Application ของ Public Cloud และ Private
Cloud ได้




        สามารถจําแนกชัน(Layers) ของการทํางานบน Cloud Computing ออกได้เป็ นดังนี



                                                                                 นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
3


                                                       ่
                 1. SaaS คือ Cloud Application Layer สวนทีนําข้อมูลจากระบบมาทําการประมวลผล
               ่                          ่              ่     ่      ่ ้ ั
ตามคําร้องขอผานโปรแกรมประยุกต์ โดยสวนนีจะเป็ นสวนติดตอระหวางผูใช้กบ cloud computing
                                            ่                               ่ ่
โดยทํางานในลักษณะเว็บแอปพลิเคชัน ซึ งไมจําเป็ นต้องติดตังโปรแกรม ตัวอยางเชน Hotmail, Gmail,
Google Doc, Google Fusion Table, SalesForce, Twitter
                 2. Paas คือสวน Cloud Software Environment layer ให้บริ การสิ งแวดล้อม เครื องมือ
                               ่
สําหรับการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์บน cloud computing เชน Google App             ่
Engine,Heroku,Mosso,Engine Yard,Joyent,force.com(Sale force platform)
                 3. IaaS คือ Cloud Software Infrastructure layer สําหรับการสร้างระบบ ใช้งานแบบ
                                   ่                                   ่
Virtual Machines(VMs) มีบริ การตางๆสนับสนุนการทํางานครบถ้วน เชน Amazon Elastic Compute
Cloud(EC2) , SunGrid, Gogrid
                                       ็                                 ่ ่ ั
                 4. DaaS คือระบบจัดเกบข้อมูล Data storage ทีขนาดใหญไมจํากด รองรับการสื บค้น
                             ่
และการจัดการข้อมูลขันสู ง เชน Amazon’s S3
                                 ่
                 5. CaaS คือสวนของ Composite Service ทีทําหน้าทีรวมโปรแกรมประยุกต์ หรื อ
จัดลําดับการเชือมโยงแบบ workflow ข้าม network รวมถึงการจัดการด้านความปลอดภัย เชน               ่
Microsoft Connected Service Framework (CSF)




4. Benefit of cloud
                                                                   ่       ่
         1. Could Computing สามารถเพิม scalability ของระบบ โดยซอนความยุงยากของการจัดการ
ระบบไว้ ลดภาระการลงทุนและการบํารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่
                  ่ ้ ั                ่
         2. ง่ายตอผูพฒนาลดการปรับแตงระบบ การขยายระบบและการทํา load balancing หรื อ
distributed computing/database
                                              ิ
         3. Cloud Computing สนับสนุนให้เกดโมเดล SaaS ซึ งเป็ นการเปลียนแนวคิดของธุรกจ ิ
                               ่                              ่
ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ให้ไปอยูในรู ปการขายบริ การ เน้นไปทีการจายเงินตามการใช้งานจริ ง



                                                                                นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
4


                     ่ ่                           ่
         4. สะดวกและงายตอการเปลียนแปลง มีความยืดหยุนการปรับเปลียนระบบคอมพิวเตอร์ ของ
องค์กร
                       ่
           5. ลดต้นทุนคาการติดตังและบํารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์ประมวลผลสมรรถนะสู ง
           6. ลดภาระการดูแลระบบ การรักษาความปลอดภัย โดยผูใช้สามารถปลอยภาระนีกบ
                                                                     ้        ่       ั
ผูเ้ ชียวชาญในการจัดการเรื องนีผานระบบจัดการ cloud computing
                                ่
           7. เพิมประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผลของโปรแกรมประยุกต์ ทําให้โปรแกรมทีมีการ
                                                        ่
ประมวลผลและคํานวณซับซ้อนสามารถทํางานได้เสร็ จในชวงวินาที เนืองจาก Cloud Computing มี
      ่
หนวยประมวลผลมหาศาลทีรองรับการใช้งาน ดังนันโปรแกรมสามารถทํางานทีซับซ้อนได้บนเครื อง
                   ่                         ่                                   ่  ่
คอมพิวเตอร์ ลูกขายทีมีทรัพยากรน้อยโดยสงคําสังมาประมวลผลบน cloud computing ผานเครื อขาย
                ่                          ่
อินเตอร์เน็ต เชน โทรศัพท์มือถือ, เครื องเลนเกม และ netbook

5. Cloud Computing กับระบบ GIS
         GIS เป็ นระบบสารสนเทศอีกประเภททีซอฟต์แวร์ ตองการการประมวลผลแบบขันสู ง และ
                                                             ้
ต้องการเครื องคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู งมาทําการประมวลผลและใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลเชิงพืนทีทีมี
                                                                                    ้
จํานวนมากและมีความสัมพันธ์ทีซับซ้อน cloud computing จึงเป็ นอีกเทคโนโลยีทีเข้ามาเติมเต็มใน
เรื องนี ปั จจุบนมีบริ ษทผูพฒนาโปรแกรมภูมิสารสนเทศ (GIS) ได้เริ มปรับเปลียนโมเดลธุกิจของการ
                  ั       ั ้ ั
                                                   ่
ขายซอฟต์แวร์ GIS โดยพัฒนาโปรแกรม GIS ให้อยูในรู ปแบบ SaaS และเน้นไปทีการประมวลผลเชิง
                                                          ่
ขนาน เพือเพิมประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผลเชิงตําแหนงทีมีภาระงานมากและซับซ้อน , ลดการ
                                                               ่        ่
ติดตังและบํารุ งรักษาซอฟต์แวร์ โดยซอฟต์แวร์ GIS ยุคใหมจะทํางานผานเว็บแอปพลิเคชัน รู ปแบบ
       ่ ่              ็
การจายคาบริ การกจะเป็ นไปตามการใช้งานจริ งและตามความต้องการใช้งานของผูใช้ ทําให้ตนทุนตอ
                                                                                ้          ้    ่
หนวยของซอฟต์แวร์ มีราคาถูกลง เนืองจากผูใช้ไมจําเป็ นทีจะต้องซือซอฟต์แวร์ ขนาดใหญ่ ในกรณี ทีใช้
     ่                                     ้ ่
                ์
งานเพียงฟังกชันเบืองต้นไมมากนัก ่
                                       ์
         ปัจจุบนซอฟต์แวร์ GIS ทีมีฟังกชัน Geo Processing และ Geo Analysis ได้มีการพัฒนาใน
                    ั
รู ปแบบ SaaS (Software as a Service) รองรับการประมวลผลข้อมูลเชิงพืนทีแบบออนไลน์ (Online
GeoProcessing Service) และสนันสนุนการทํางานแบบ Internet GIS หรื อ WebGIS เพือปลอยออกมา   ่
ให้องค์กรและผูใช้ได้รับบริ การ โดยอาศัยการทํางานบนระบบ Cloud Computing ทีมีให้บริ การใน
                      ้
                                                                              ่
รู ปแบบ PaaS (Platform as a Service) และ IaaS (Infrastructure as a Service) เชน Amazon S3, Amazon
EC2, Gogrid, Google App Engine, Azure Services Platform เป็ นต้น รวมไปถึงการพัฒนารู ปแบบการ
                                                                     ่
บริ การของซอฟต์แวร์ เพือรองรับการทํางานของระบบภูมิสารสนเทศผานเว็บเซอร์ วสแบบ      ิ


                                                                                นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
5


สถาปัตยกรรมบริ การ(Service Orientation Architecture, SOA) บนบริ การ Cloud Computing แบบ
CaaS (Composite as a Service) ซึ งจะทําให้การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในองค์กรมีรูปแบบที
               ่               ่
เปลียนไป กลาวคือมีความยืดหยุนและเพิมประสิ ทธิภาพการทํางาน รวมถึงการเพิมขีดความสามารถใน
การเชือมโยงระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศในองค์กรให้สามารถหลอมรวมเป็ นเนือ
เดียวกนได้อยางลงตัว
      ั      ่
         นอกจากนี ยงเป็ นการเพิมประสิ ทธิภาพในการประมวลผลข้อมูลเชิงพืนทีทีมีความซับซ้อนและ
                    ั
                                 ่
มีขนาดของข้อมูลจํานวนมหาศาลเชน การประมวลผลข้อมูลพืนผิวแบบสามมิต,ิ การประมวลผลข้อมูล
                                                                           ั
จาก Lidar และอืนๆ รวมถึงการนําระบบ cloud computing เชือมโยงการทํางานกบฐานข้อมูลเชิงพืนที
                      ่
(Spatial Database) เชน Oracal spatial และ Oracle GeoRaster, Microsoft SQL Server 2008 ทีรองรับ
                                                                      ั ่
Spatial SQL Azure โดยเทคโนโลยี Cloud Computing นีได้มีการนํามาปฏิบติอยางเป็ นรู ปธรรมแล้ว ทัง
                                                          ั ่ ่
ในด้านงานวิจยและพัฒนา ตลอดจนถึงการออกเป็ นผลิตภัณฑ์ตวอยางเชนดังตอไปนี
                 ั                                                      ่

        5.1 ARCGIS Server on the Cloud
                                               ่
               บริ ษท ESRI ออกผลิตภัณฑ์ใหมบน ArcGIS 10 ซึ งเป็ นการผนวกรวมซอฟต์แวร์
                    ั
ArcGIS ในรู ปแบบ SaaS ใน IaaS ของ Amazon Cloud Computing บน Amazon Independent Software
                                                                 ่
Vendor ผูใช้สามารถนําฟี เจอร์ ของ ArcGIS มาพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศผาน AWS AMIS (Windows
         ้
Server AMI)




                                                 ่                              ่
                ผูใช้สามารถใช้งาน ARCGIS Server ผาน AMIS โดยการประมวลผลจะอยูบน Cloud
                  ้
            ้       ั                                    ็
Computing ผูใช้ทีมีบญชีการใช้งาน Amazon Cloud Computing กสามารถใช้งานได้ โดยข้อมูลสามารถ
     ็                                               ่ ่            ่
จัดเกบบน Cloud Storage Amazon S3 การใช้งานและการจายคาซอฟต์แวร์ อยูในรู ปแบบ on demand
ทดลองใช้งานที Arcgis.com



                                                                              นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
6




          ตัวอยางสถาปั ตยกรรมของระบบ
               ่




     ่                           ่
ตัวอยางซอฟต์แวร์ ArcGIS ทีทํางานผานเว็บแอปพลิเคชัน




                                                     นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
7




                     ่
                ตัวอยาง ARC Catalog สําหรับการเลือก Map Project บน Storage

         5.2 Autodesk on Cloud
                       ั                        ่
                  บริ ษท Autodesk ออกโปรเจคนํารองการพัฒนาซอฟต์แวร์ ภมิสารสนเทศแบบ SaaS
                                                                     ู
ในชือ Butterfly Project โดยใช้ PaaS ของ Amazon Cloud Computing (EC2 และ S3) เน้นไปทีการทํา
                               ั                                               ็
Spatial Digitization แบบเดียวกบโปรแกรม AutoDesk Map สามารถเรี ยกไฟล์ขอมูลทีเกบบน S3 มาใช้
                                                                       ้
                                                            ่
ในการสร้างแผนที รวมไปถึงการซ้อนทับข้อมูลแผนทีจากภาพถายดาวเทียม และแผนทีจากระบบ
Google Map Service โปรแกรมทํางานแบบเว็บแอปพลิเคชัน บนโปรแกรมประยุกต์ทีพัฒนาจาก Flash
Technology ทดลองใช้งานได้ที http://butterfly.autodesk.com/index.html




                                                                             นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
8




                   ่
              ตัวอยางการเริ มต้นใช้งานโปรแกรม AutoCad Map




ทดลองดิจิไทล์แปลงทีดิน โดยสามารถบันทึกไฟล์ในรู ปแบบ dwg บน Cloud Storage




                                                                นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
9


                                ี        ่
      ดิจิไทล์ขอมูลอาคารและสนามกฬาจากภาพถายดาวเทียมจากระบบ Google Map Service
               ้

       5.3 WeoGEO +FME Server on the Cloud
                                                                                ็
                WeoGeo เป็ น Spatial Content Management ทีบริ การเรื องการ จัดเกบ จัดการและ
     ่                 ่               ่
จําหนายข้อมูลเชิงตําแหนงแบบออนไลน์ผานอินเตอร์ เน็ต โดยมีการบริ การไลบารี สําหรับการแสดงผล
                              ่ ่
และประมวลผลข้อมูลเชิงตําแหนงเชน LibraryTM internet-based service ปั จจุบน WeoGeo รองรับการ
                                                                           ั
ทํางานบน cloud computing environment บน Amazon Web Services (AWS) และรวมตัวกบระบบ     ั
ประมวลผลและวิเคราะห์ขอมูลเชิงพืนที FME Server และ spatial ETL
                         ้




        5.4 Spatial Cloud Computing (SC2)
                Spatial Cloud Computing (SC2) เป็ น Spatial platform ทีรองรับการทํางานบน Cloud
Computing เน้นไปทีการจัดการข้อมูลเชิงพืนที การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล แบบ SaaS ทํางาน
 ่ ั
รวมกบโมดูล Business systems integration ในรู ปแบบ Geo portal ซึงรองรับการทํางานแบบโปรแกรม
GIS ทัวไปแต่สามารถทํางานได้บนเว็ปเบราเซอร์ โดย SaaS ทํางานบน IaaS ของ Amazon's Elastic
Compute Cloud (EC2)




                                                                              นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
10




                                     ่
                                ตัวอยางการนําเข้าข้อมูลอาคาร




        5.5 GIS Cloud
                GIS Cloud เป็ นการพัฒนาซอฟต์แวร์ GIS ในรู ปแบบของ SaaS ทํางานบน Cloud
                                ้
Computing รองรับงานด้านการแกไข นําเข้าข้อมูลภูมิสารสนเทศ ,การวิเคราะห์และการประมวลผลเชิง
                                                              ่
พืนที รวมถึงการจัดทําแผนทีและการสร้างข้อมูลเชิงบรรยาย โดยคิดคาบริ การในลักษณะ pay-per-use มี



                                                                            นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
11


รู ปแบบการทํางานบน Restful API ,รองรับการประมวลผลข้อมูลออนไลน์ และสามารถสนับสนุ นการ
ทํางานบน Iphone และ Ipad ได้




                                ่
                           หน้าตางควบคุมการทํางานของระบบ




                                ้
                           การแกไขข้อมูลและการนําเข้าข้อมูล

                                                                      นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
12


6. การทดลองพัฒนาระบบ Spatial Caching on Cloud Computing
         6.1 เป้ าหมาย
                                                                   ่
                   1. เรี ยนรู ้การทํางานของระบบ CloudComputing เชนการจัดการข้อมูล, การ
ประมวลผลข้อมูล เป็ นต้น
                   2. พัฒนาซอฟต์แวร์ จัดการข้อมูลภูมิสารสนเทศทํางานในรู ปแบบ SaaS บน Cloud
Computing
         6.2 การทดลอง
                                                      ่                       ่
                   ศึกษาพัฒนาระบบบริ การข้อมูลภาพถายดาวเทียมรายละเอียดสู งผานอินเตอร์ เน็ต โดย
                                  ่ ั
ใช้เทคนิ ค Spatial Caching รวมกบเทคนิ ค Multi tile Service บนระบบ Cloud Computing ของ Google
                                                                 ็
App Engine (Google Cloud Computing Platform) โดยทําการจัดเกบข้อมูลดัชนี เชิงตําแหนงใน ่
                                    ่
รู ปแบบกริ ด MBR และตําแหนงของ Sensor บน Bigtable (Cloud Database) รวมถึงการสร้าง Caching
                                               ็
File ในรู ปแบบ BitMap และ upload ไปจัดเกบบน Cloud Storage แบบ GFS (Google File System)

        6.3 ขันตอนการพัฒนา
                1. ติดตังชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ และชุดสภาวะแวดล้อม GAE Python SDK ทํางาน
 ่ ั
รวมกบตัวประมวลผลภาษา Python บนเครื องคอมพิวเตอร์
                2. ออกแบบระบบ
                                                              ่
                          ระบบจะทําการบริ การข้อมูลแผนทีภาพถายดาวเทียมรายละเอียดสู งใน
                                                   ็
รู ปแบบ WMST โดยข้อมูลภาพจะถูกทําดัชนีและจัดเกบบนคลังภาพ โดยเมือโปรแกรมประยุกต์ร้อง
                            ่ ่                             ่        ่           ่
ขอข้อมูลภาพแผนทีมายังแมขาย Spatial-Cache Engine จะทําการสงภาพทีแบงเป็ น Tile ยอยไปยัง
              ่                              ่
โปรแกรมลูกคาย และทําการบันทึกภาพทีถูกแบงและบีบอัดเป็ นภาพ Jpeg พร้อมดัชนีเชิงตําแหนงลง ่
บน Google Cloud ในกรณี ทีเกดการร้องขอแผนทีภาพครังใหม่ Spatial-Cache Engine จะทําการ
                                ิ
                                                                       ็           ่
ตรวจเช็คดัชนีและ Caching ID บน Google Cloud ถ้ามีการสร้าง Caching แล้วกจะทําการสงภาพ
                                           ่              ่
ผลลัพธ์ไปยังโปรแกรมปลายทางทันที โดยไมต้องทําการเรี ยกอานและค้นหาข้อมูลดิบ GeoRefencing
                                                                               ั
Image บนคลังภาพอีก ซึ งลดเวลาในการทํางานลง โดยข้อมูลแผนทีจะแสดงบนระบบพิกดอ้างอิงแบบ
Spherical Mercator ปั จจุบนทดสอบการทํางานของ Tiles Image บน Cloud computing จํานวน 4000
                          ั
ภาพ




                                                                              นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
13




รู ปแบบการออกแบบ Tile Coordinates และ Caching Index




              ภาพสถาปั ตยกรรมระบบ




                                                      นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
14


                                                              ่
             3. พัฒนาโค้ดการทํางาน ในรู ปแบบ OOP สร้าง Class ตางๆทีใช้ใน Spatial Cache
Management




             4. Deploy Code บน Google Cloud Environment




             5. การควบคุมการทํางานและการประมวลผลบน Cloud Computing
                                                                   ่
                    5.1 ตรวจสอบการทํางานและการเรี ยกใช้งาน CPU บนหนวยประมวลผลของ
Google




                                                                          นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
15




                                ่
                   ภาพแสดง ตัวอยางการใช้งาน CPU บน Cloud Computing




การ Query Processing บนตารางฐานข้อมูล Tile Storage บน BigTable ของ Google Cloud Computing




                                                                          นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
16




                            ่                   ็
                       ตัวอยางรายละเอียดการจัดเกบ Blob บนฐานข้อมูล




                                                                      ่
        ทดสอบการทํางานของ Spatial Cache Management API เพือเข้าถึงภาพถายดาวเทียม

                6. พัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพือทดสอบการทํางาน โดยใช้เทคนิคของ Multi Proxy
Server สําหรับการเข้าถึงข้อมูลบน Cloud Computing โดยพัฒนาโปรแกรมเพิมเติมจาก Open layers
library




                                                                          นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
17




                                http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_2.py



   http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_1.py




   http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_3.py




                              http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_4.py




7. สรุ ปผล
         ในอนาคต Cloud Computing จะเข้ามามีบทบาทในระบบสารสนเทศ โดยจะเข้ามาเพิม
ประสิ ทธิภาพและศักย์ภาพของระบบภูมิสารสนเทศ ด้วยซอฟต์แวร์ ทีทํางานในรู ปแบบ SaaS โดยการ
พัฒนาจะควบคู่ไปกบการสร้างโครงขายอินเตอร์เน็ตความเร็ วสู ง เพือรองรับการทํางานในลักษณะนี
                 ั              ่

8. อ้ างอิงจาก
1. http://news.gislounge.com/2010/04/“how-will-gis-companies-weather-the-cloud-computing-
storm”/
2. http://joesonic.com/blog/2010/03/21/cloud-computing-the-new-gis-trend-online-version-of-arcgis-
coming-soon/
3. http://www.esri.com/news/releases/10_1qtr/amazon.html
4. http://www.esri.com/news/arcwatch/0110/feature.html
5. Full Paper for the UKUUG Spring 2009 Conference “Instant Cloud Computing with openORM”
by Mattias Rechenburg
6. White Paper “A New Paradigm for Geographic Information Services”


                                                                                  นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
18


7. http://pragmaticgeographer.blogspot.com/2008/10/gis-in-cloud.html
8. http://www.esri.com/news/arcuser/1009/cloudcomputing.html
9. http://www.giscloud.com/about/gis-cloud-vs-traditional-gis/
10. http://en.wikipedia.org/wiki/Software_as_a_service
11. http://www.vector1media.com/vectorone/?p=624
12. http://www.skeinc.com/pages/SC2/SKE_SC2_White_Paper.pdf
13. http://www.pbinsight.com/files/resource-library/resource-files/pbbi-gisplugsin-wp-4-13.pdf
14. http://whitepapers.virtualprivatelibrary.net/Grid%20Resources.pdf
15. http://www.slideshare.net/geocommunitylive/tim-warr-cloud-computing-and-gis-all-hype-or-
something-useful
16. http://www.davidchappell.com/CloudPlatforms--Chappell.pdf
17. http://www.isprs.org/proceedings/XXXVIII/7-C4/126_GSEM2009.pdf
18. http://www.springerlink.com/content/j27037741134r8w8/




                                                                                  นาย ชัยภัทร เนืองคํามา

Más contenido relacionado

Similar a 30879960 geospatial-system-on-cloud-computing

Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECIMC Institute
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆThanachart Numnonda
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีCloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีSoftware Park Thailand
 
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdfNuttavutThongjor1
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 

Similar a 30879960 geospatial-system-on-cloud-computing (20)

Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
 
What is Cloud Computing ?
What is Cloud Computing ?What is Cloud Computing ?
What is Cloud Computing ?
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
Emerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learningEmerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learning
 
Emerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learningEmerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learning
 
Cloud computing-trouble
Cloud computing-troubleCloud computing-trouble
Cloud computing-trouble
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีCloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
 
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 

Más de Ayutthaya GIS (13)

Python for GIS
Python for  GISPython for  GIS
Python for GIS
 
Wps
WpsWps
Wps
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
Concect postgis
Concect postgisConcect postgis
Concect postgis
 
Foss4g thai
Foss4g thaiFoss4g thai
Foss4g thai
 
Ogctaxmap
OgctaxmapOgctaxmap
Ogctaxmap
 
GeoSMSSensor
GeoSMSSensorGeoSMSSensor
GeoSMSSensor
 
WebGIS
WebGISWebGIS
WebGIS
 
Geoserver 85
Geoserver 85Geoserver 85
Geoserver 85
 
Map
MapMap
Map
 
Ajax&Geoweb C
Ajax&Geoweb CAjax&Geoweb C
Ajax&Geoweb C
 
Chula Geoportal Emap
Chula Geoportal EmapChula Geoportal Emap
Chula Geoportal Emap
 
geoweb2.0
geoweb2.0geoweb2.0
geoweb2.0
 

30879960 geospatial-system-on-cloud-computing

  • 1. 1 Geospatial System on Cloud Computing 1. บทนํา ้ Cloud Computing (การประมวลผลแบบกอนเมฆ) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ทีมีการประมวลผล ่ ่ อยูในระบบอินเทอร์ เน็ต บนรู ปแบบของโครงสร้างการประมวลผลขนาดใหญทีทํางานรวมกน มีการ ่ ั แบงปั นทรัพยากรในการประมวลผลร่ วมกนบนเครื อขายอินเตอร์ เน็ต ราวกบวาเป็ นหนวยประมวลผล ่ ั ่ ั ่ ่ เดียวกน ปั จจุบนมีการให้นิยามจากผูพฒนาแนวคิดนีได้แก่ ั ั ้ ั ่ บริ ษท Gartner ได้ให้นิยามวา “Cloud computing is a style of computing where massively ั scalable IT-related capabilities are provided ‘as a service’ across the Internet to multiple external customers” หรื อ ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆคือ แนวทางการประมวลผลทีพลังของโครงสร้าง ่ ทางไอทีขนาดใหญทีขยายตัวได้ถูกนําเสนอยังลูกค้าภายนอกจํานวนมหาศาลในรู ปแบบของบริ การ ่ ฟอเรสเตอร์ กรุ๊ ป ได้นิยามวา “Cloud computing: A pool of abstracted, highly scalable,and managed infrastructure capable of hosting end-customer applications and billed by consumption” หรื อ กลุ่มของโครงสร้างพืนฐานทีถูกบริ หารจัดการและขยายตัวได้อยางมาก ซึ งมีขีดความสามารถใน ่ การรองรับโปรแกรมประยุกต์ต่างๆของผูใช้และเกบคาบริ การตามการใช้งาน ้ ็ ่ Cloud Computing เป็ นเทคโนโลยีทีพัฒนาขึนมาเพือตอบสนองรู ปแบบการทํางานและการใช้ ่ ่ งานระบบสารสนเทศผานเครื อขายอินเตอร์ เน็ต โดยเน้นไปทีการจัดทําระบบประมวลผลและโครงสร้าง ่ ่ พืนฐานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญเพือรองรับการใช้งานของผูใช้จานวนมากผานโปรแกรมประยุกต์ที ้ ํ ่ ทํางานแบบ SAAS ผูใช้งาน Cloud Computing ไมจําเป็ นทีต้องรับภาระการดําเนิ นการจัดทําระบบ ้ ่ ่ คอมพิวเตอร์ หรื อการขยายระบบเมือองค์กรมีจานวนผูใช้มากขึน และจายคาบริ การการใช้หนวย ํ ้ ่ ่ ประมวลผลตามการใช้งานจริ ง ซึ งจะทําให้ลดต้นทุนการลงทุนในสวนของคอมพิวเตอร์ประมวลผล ่ ั และคาบํารุ งรักษา แนวคิด Cloud Computing นี เปรี ยบเสมือนกบการบริ การไฟฟ้ า โดยมองการบริ การ ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็ นเหมือนโครงสร้างสาธารณูปโภคพืนฐานที ่ องค์กรหรื อหนวยงาน สามารถใช้งานได้โดยไมมีขอบเขต ่ นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 2. 2 2. Architectural layers of Cloud Computing ั รู ปแบบการทํางานของ Cloud Computing นันคล้ายคลึงกบระบบ GRID Computing บน ่ ่ ั เทคโนโลยี virtualization แตแตกตางกนตรงทีมีการออกแบบและพัฒนา API รวมถึงรายละเอียดของ ื ่ ั ิ ิ โปรโตคอลและการเชือมโยงการทํางานใหม่ให้ยดหยุนและเหมาะกบกจกรรมทางธุรกจมากขึน โดย ่ ั Cloud Computing นันเป็ นการทํางานรวมกนเพือนําเอาความสามารถของระบบประมวลผลมหาศาลมา ่ ั ใช้งาน โดยไมจําเป็ นทีต้องมีชนิ ดและประเภทของ hardware และระบบปฏิบติการทีเหมือนกน ั สามารถจําแนกชนิ ดของ Cloud Computing ออกได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ตามรู ปแบบการบริ การได้แก่ ่ 1. Public Clouds : เป็ นระบบบริ การทีทัวไปเน้นไปทีการทํางานแบบไมเฉพาะเจาะจง ่ เพือบริ การลูกค้าจํานวนมาก ราคาไมแพงผูใช้ทวไปสามารถเข้าถึงได้ ้ ั ่ 2. Private clouds : เป็ นระบบทีมีความเฉพาะเพือทํางานสําหรับลูกค้า โดยเชือมตอการ ่ ทํางานโดยตรงผาน Cloud Provider มีระบบการจัดการข้อมูล การรักษาความปลอดภัยทีดี 3. Hybrid Clouds: เป็ นระบบแบบเชือมประสานการทํางานของทัง Public Clouds และ ่ ่ ่ Private clouds สามารถสงตอข้อมูลและคําสังข้ามระหวาง Application ของ Public Cloud และ Private Cloud ได้ สามารถจําแนกชัน(Layers) ของการทํางานบน Cloud Computing ออกได้เป็ นดังนี นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 3. 3 ่ 1. SaaS คือ Cloud Application Layer สวนทีนําข้อมูลจากระบบมาทําการประมวลผล ่ ่ ่ ่ ่ ้ ั ตามคําร้องขอผานโปรแกรมประยุกต์ โดยสวนนีจะเป็ นสวนติดตอระหวางผูใช้กบ cloud computing ่ ่ ่ โดยทํางานในลักษณะเว็บแอปพลิเคชัน ซึ งไมจําเป็ นต้องติดตังโปรแกรม ตัวอยางเชน Hotmail, Gmail, Google Doc, Google Fusion Table, SalesForce, Twitter 2. Paas คือสวน Cloud Software Environment layer ให้บริ การสิ งแวดล้อม เครื องมือ ่ สําหรับการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์บน cloud computing เชน Google App ่ Engine,Heroku,Mosso,Engine Yard,Joyent,force.com(Sale force platform) 3. IaaS คือ Cloud Software Infrastructure layer สําหรับการสร้างระบบ ใช้งานแบบ ่ ่ Virtual Machines(VMs) มีบริ การตางๆสนับสนุนการทํางานครบถ้วน เชน Amazon Elastic Compute Cloud(EC2) , SunGrid, Gogrid ็ ่ ่ ั 4. DaaS คือระบบจัดเกบข้อมูล Data storage ทีขนาดใหญไมจํากด รองรับการสื บค้น ่ และการจัดการข้อมูลขันสู ง เชน Amazon’s S3 ่ 5. CaaS คือสวนของ Composite Service ทีทําหน้าทีรวมโปรแกรมประยุกต์ หรื อ จัดลําดับการเชือมโยงแบบ workflow ข้าม network รวมถึงการจัดการด้านความปลอดภัย เชน ่ Microsoft Connected Service Framework (CSF) 4. Benefit of cloud ่ ่ 1. Could Computing สามารถเพิม scalability ของระบบ โดยซอนความยุงยากของการจัดการ ระบบไว้ ลดภาระการลงทุนและการบํารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ่ ้ ั ่ 2. ง่ายตอผูพฒนาลดการปรับแตงระบบ การขยายระบบและการทํา load balancing หรื อ distributed computing/database ิ 3. Cloud Computing สนับสนุนให้เกดโมเดล SaaS ซึ งเป็ นการเปลียนแนวคิดของธุรกจ ิ ่ ่ ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ให้ไปอยูในรู ปการขายบริ การ เน้นไปทีการจายเงินตามการใช้งานจริ ง นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 4. 4 ่ ่ ่ 4. สะดวกและงายตอการเปลียนแปลง มีความยืดหยุนการปรับเปลียนระบบคอมพิวเตอร์ ของ องค์กร ่ 5. ลดต้นทุนคาการติดตังและบํารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์ประมวลผลสมรรถนะสู ง 6. ลดภาระการดูแลระบบ การรักษาความปลอดภัย โดยผูใช้สามารถปลอยภาระนีกบ ้ ่ ั ผูเ้ ชียวชาญในการจัดการเรื องนีผานระบบจัดการ cloud computing ่ 7. เพิมประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผลของโปรแกรมประยุกต์ ทําให้โปรแกรมทีมีการ ่ ประมวลผลและคํานวณซับซ้อนสามารถทํางานได้เสร็ จในชวงวินาที เนืองจาก Cloud Computing มี ่ หนวยประมวลผลมหาศาลทีรองรับการใช้งาน ดังนันโปรแกรมสามารถทํางานทีซับซ้อนได้บนเครื อง ่ ่ ่ ่ คอมพิวเตอร์ ลูกขายทีมีทรัพยากรน้อยโดยสงคําสังมาประมวลผลบน cloud computing ผานเครื อขาย ่ ่ อินเตอร์เน็ต เชน โทรศัพท์มือถือ, เครื องเลนเกม และ netbook 5. Cloud Computing กับระบบ GIS GIS เป็ นระบบสารสนเทศอีกประเภททีซอฟต์แวร์ ตองการการประมวลผลแบบขันสู ง และ ้ ต้องการเครื องคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู งมาทําการประมวลผลและใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลเชิงพืนทีทีมี ้ จํานวนมากและมีความสัมพันธ์ทีซับซ้อน cloud computing จึงเป็ นอีกเทคโนโลยีทีเข้ามาเติมเต็มใน เรื องนี ปั จจุบนมีบริ ษทผูพฒนาโปรแกรมภูมิสารสนเทศ (GIS) ได้เริ มปรับเปลียนโมเดลธุกิจของการ ั ั ้ ั ่ ขายซอฟต์แวร์ GIS โดยพัฒนาโปรแกรม GIS ให้อยูในรู ปแบบ SaaS และเน้นไปทีการประมวลผลเชิง ่ ขนาน เพือเพิมประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผลเชิงตําแหนงทีมีภาระงานมากและซับซ้อน , ลดการ ่ ่ ติดตังและบํารุ งรักษาซอฟต์แวร์ โดยซอฟต์แวร์ GIS ยุคใหมจะทํางานผานเว็บแอปพลิเคชัน รู ปแบบ ่ ่ ็ การจายคาบริ การกจะเป็ นไปตามการใช้งานจริ งและตามความต้องการใช้งานของผูใช้ ทําให้ตนทุนตอ ้ ้ ่ หนวยของซอฟต์แวร์ มีราคาถูกลง เนืองจากผูใช้ไมจําเป็ นทีจะต้องซือซอฟต์แวร์ ขนาดใหญ่ ในกรณี ทีใช้ ่ ้ ่ ์ งานเพียงฟังกชันเบืองต้นไมมากนัก ่ ์ ปัจจุบนซอฟต์แวร์ GIS ทีมีฟังกชัน Geo Processing และ Geo Analysis ได้มีการพัฒนาใน ั รู ปแบบ SaaS (Software as a Service) รองรับการประมวลผลข้อมูลเชิงพืนทีแบบออนไลน์ (Online GeoProcessing Service) และสนันสนุนการทํางานแบบ Internet GIS หรื อ WebGIS เพือปลอยออกมา ่ ให้องค์กรและผูใช้ได้รับบริ การ โดยอาศัยการทํางานบนระบบ Cloud Computing ทีมีให้บริ การใน ้ ่ รู ปแบบ PaaS (Platform as a Service) และ IaaS (Infrastructure as a Service) เชน Amazon S3, Amazon EC2, Gogrid, Google App Engine, Azure Services Platform เป็ นต้น รวมไปถึงการพัฒนารู ปแบบการ ่ บริ การของซอฟต์แวร์ เพือรองรับการทํางานของระบบภูมิสารสนเทศผานเว็บเซอร์ วสแบบ ิ นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 5. 5 สถาปัตยกรรมบริ การ(Service Orientation Architecture, SOA) บนบริ การ Cloud Computing แบบ CaaS (Composite as a Service) ซึ งจะทําให้การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในองค์กรมีรูปแบบที ่ ่ เปลียนไป กลาวคือมีความยืดหยุนและเพิมประสิ ทธิภาพการทํางาน รวมถึงการเพิมขีดความสามารถใน การเชือมโยงระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศในองค์กรให้สามารถหลอมรวมเป็ นเนือ เดียวกนได้อยางลงตัว ั ่ นอกจากนี ยงเป็ นการเพิมประสิ ทธิภาพในการประมวลผลข้อมูลเชิงพืนทีทีมีความซับซ้อนและ ั ่ มีขนาดของข้อมูลจํานวนมหาศาลเชน การประมวลผลข้อมูลพืนผิวแบบสามมิต,ิ การประมวลผลข้อมูล ั จาก Lidar และอืนๆ รวมถึงการนําระบบ cloud computing เชือมโยงการทํางานกบฐานข้อมูลเชิงพืนที ่ (Spatial Database) เชน Oracal spatial และ Oracle GeoRaster, Microsoft SQL Server 2008 ทีรองรับ ั ่ Spatial SQL Azure โดยเทคโนโลยี Cloud Computing นีได้มีการนํามาปฏิบติอยางเป็ นรู ปธรรมแล้ว ทัง ั ่ ่ ในด้านงานวิจยและพัฒนา ตลอดจนถึงการออกเป็ นผลิตภัณฑ์ตวอยางเชนดังตอไปนี ั ่ 5.1 ARCGIS Server on the Cloud ่ บริ ษท ESRI ออกผลิตภัณฑ์ใหมบน ArcGIS 10 ซึ งเป็ นการผนวกรวมซอฟต์แวร์ ั ArcGIS ในรู ปแบบ SaaS ใน IaaS ของ Amazon Cloud Computing บน Amazon Independent Software ่ Vendor ผูใช้สามารถนําฟี เจอร์ ของ ArcGIS มาพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศผาน AWS AMIS (Windows ้ Server AMI) ่ ่ ผูใช้สามารถใช้งาน ARCGIS Server ผาน AMIS โดยการประมวลผลจะอยูบน Cloud ้ ้ ั ็ Computing ผูใช้ทีมีบญชีการใช้งาน Amazon Cloud Computing กสามารถใช้งานได้ โดยข้อมูลสามารถ ็ ่ ่ ่ จัดเกบบน Cloud Storage Amazon S3 การใช้งานและการจายคาซอฟต์แวร์ อยูในรู ปแบบ on demand ทดลองใช้งานที Arcgis.com นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 6. 6 ตัวอยางสถาปั ตยกรรมของระบบ ่ ่ ่ ตัวอยางซอฟต์แวร์ ArcGIS ทีทํางานผานเว็บแอปพลิเคชัน นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 7. 7 ่ ตัวอยาง ARC Catalog สําหรับการเลือก Map Project บน Storage 5.2 Autodesk on Cloud ั ่ บริ ษท Autodesk ออกโปรเจคนํารองการพัฒนาซอฟต์แวร์ ภมิสารสนเทศแบบ SaaS ู ในชือ Butterfly Project โดยใช้ PaaS ของ Amazon Cloud Computing (EC2 และ S3) เน้นไปทีการทํา ั ็ Spatial Digitization แบบเดียวกบโปรแกรม AutoDesk Map สามารถเรี ยกไฟล์ขอมูลทีเกบบน S3 มาใช้ ้ ่ ในการสร้างแผนที รวมไปถึงการซ้อนทับข้อมูลแผนทีจากภาพถายดาวเทียม และแผนทีจากระบบ Google Map Service โปรแกรมทํางานแบบเว็บแอปพลิเคชัน บนโปรแกรมประยุกต์ทีพัฒนาจาก Flash Technology ทดลองใช้งานได้ที http://butterfly.autodesk.com/index.html นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 8. 8 ่ ตัวอยางการเริ มต้นใช้งานโปรแกรม AutoCad Map ทดลองดิจิไทล์แปลงทีดิน โดยสามารถบันทึกไฟล์ในรู ปแบบ dwg บน Cloud Storage นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 9. 9 ี ่ ดิจิไทล์ขอมูลอาคารและสนามกฬาจากภาพถายดาวเทียมจากระบบ Google Map Service ้ 5.3 WeoGEO +FME Server on the Cloud ็ WeoGeo เป็ น Spatial Content Management ทีบริ การเรื องการ จัดเกบ จัดการและ ่ ่ ่ จําหนายข้อมูลเชิงตําแหนงแบบออนไลน์ผานอินเตอร์ เน็ต โดยมีการบริ การไลบารี สําหรับการแสดงผล ่ ่ และประมวลผลข้อมูลเชิงตําแหนงเชน LibraryTM internet-based service ปั จจุบน WeoGeo รองรับการ ั ทํางานบน cloud computing environment บน Amazon Web Services (AWS) และรวมตัวกบระบบ ั ประมวลผลและวิเคราะห์ขอมูลเชิงพืนที FME Server และ spatial ETL ้ 5.4 Spatial Cloud Computing (SC2) Spatial Cloud Computing (SC2) เป็ น Spatial platform ทีรองรับการทํางานบน Cloud Computing เน้นไปทีการจัดการข้อมูลเชิงพืนที การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล แบบ SaaS ทํางาน ่ ั รวมกบโมดูล Business systems integration ในรู ปแบบ Geo portal ซึงรองรับการทํางานแบบโปรแกรม GIS ทัวไปแต่สามารถทํางานได้บนเว็ปเบราเซอร์ โดย SaaS ทํางานบน IaaS ของ Amazon's Elastic Compute Cloud (EC2) นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 10. 10 ่ ตัวอยางการนําเข้าข้อมูลอาคาร 5.5 GIS Cloud GIS Cloud เป็ นการพัฒนาซอฟต์แวร์ GIS ในรู ปแบบของ SaaS ทํางานบน Cloud ้ Computing รองรับงานด้านการแกไข นําเข้าข้อมูลภูมิสารสนเทศ ,การวิเคราะห์และการประมวลผลเชิง ่ พืนที รวมถึงการจัดทําแผนทีและการสร้างข้อมูลเชิงบรรยาย โดยคิดคาบริ การในลักษณะ pay-per-use มี นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 11. 11 รู ปแบบการทํางานบน Restful API ,รองรับการประมวลผลข้อมูลออนไลน์ และสามารถสนับสนุ นการ ทํางานบน Iphone และ Ipad ได้ ่ หน้าตางควบคุมการทํางานของระบบ ้ การแกไขข้อมูลและการนําเข้าข้อมูล นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 12. 12 6. การทดลองพัฒนาระบบ Spatial Caching on Cloud Computing 6.1 เป้ าหมาย ่ 1. เรี ยนรู ้การทํางานของระบบ CloudComputing เชนการจัดการข้อมูล, การ ประมวลผลข้อมูล เป็ นต้น 2. พัฒนาซอฟต์แวร์ จัดการข้อมูลภูมิสารสนเทศทํางานในรู ปแบบ SaaS บน Cloud Computing 6.2 การทดลอง ่ ่ ศึกษาพัฒนาระบบบริ การข้อมูลภาพถายดาวเทียมรายละเอียดสู งผานอินเตอร์ เน็ต โดย ่ ั ใช้เทคนิ ค Spatial Caching รวมกบเทคนิ ค Multi tile Service บนระบบ Cloud Computing ของ Google ็ App Engine (Google Cloud Computing Platform) โดยทําการจัดเกบข้อมูลดัชนี เชิงตําแหนงใน ่ ่ รู ปแบบกริ ด MBR และตําแหนงของ Sensor บน Bigtable (Cloud Database) รวมถึงการสร้าง Caching ็ File ในรู ปแบบ BitMap และ upload ไปจัดเกบบน Cloud Storage แบบ GFS (Google File System) 6.3 ขันตอนการพัฒนา 1. ติดตังชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ และชุดสภาวะแวดล้อม GAE Python SDK ทํางาน ่ ั รวมกบตัวประมวลผลภาษา Python บนเครื องคอมพิวเตอร์ 2. ออกแบบระบบ ่ ระบบจะทําการบริ การข้อมูลแผนทีภาพถายดาวเทียมรายละเอียดสู งใน ็ รู ปแบบ WMST โดยข้อมูลภาพจะถูกทําดัชนีและจัดเกบบนคลังภาพ โดยเมือโปรแกรมประยุกต์ร้อง ่ ่ ่ ่ ่ ขอข้อมูลภาพแผนทีมายังแมขาย Spatial-Cache Engine จะทําการสงภาพทีแบงเป็ น Tile ยอยไปยัง ่ ่ โปรแกรมลูกคาย และทําการบันทึกภาพทีถูกแบงและบีบอัดเป็ นภาพ Jpeg พร้อมดัชนีเชิงตําแหนงลง ่ บน Google Cloud ในกรณี ทีเกดการร้องขอแผนทีภาพครังใหม่ Spatial-Cache Engine จะทําการ ิ ็ ่ ตรวจเช็คดัชนีและ Caching ID บน Google Cloud ถ้ามีการสร้าง Caching แล้วกจะทําการสงภาพ ่ ่ ผลลัพธ์ไปยังโปรแกรมปลายทางทันที โดยไมต้องทําการเรี ยกอานและค้นหาข้อมูลดิบ GeoRefencing ั Image บนคลังภาพอีก ซึ งลดเวลาในการทํางานลง โดยข้อมูลแผนทีจะแสดงบนระบบพิกดอ้างอิงแบบ Spherical Mercator ปั จจุบนทดสอบการทํางานของ Tiles Image บน Cloud computing จํานวน 4000 ั ภาพ นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 13. 13 รู ปแบบการออกแบบ Tile Coordinates และ Caching Index ภาพสถาปั ตยกรรมระบบ นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 14. 14 ่ 3. พัฒนาโค้ดการทํางาน ในรู ปแบบ OOP สร้าง Class ตางๆทีใช้ใน Spatial Cache Management 4. Deploy Code บน Google Cloud Environment 5. การควบคุมการทํางานและการประมวลผลบน Cloud Computing ่ 5.1 ตรวจสอบการทํางานและการเรี ยกใช้งาน CPU บนหนวยประมวลผลของ Google นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 15. 15 ่ ภาพแสดง ตัวอยางการใช้งาน CPU บน Cloud Computing การ Query Processing บนตารางฐานข้อมูล Tile Storage บน BigTable ของ Google Cloud Computing นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 16. 16 ่ ็ ตัวอยางรายละเอียดการจัดเกบ Blob บนฐานข้อมูล ่ ทดสอบการทํางานของ Spatial Cache Management API เพือเข้าถึงภาพถายดาวเทียม 6. พัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพือทดสอบการทํางาน โดยใช้เทคนิคของ Multi Proxy Server สําหรับการเข้าถึงข้อมูลบน Cloud Computing โดยพัฒนาโปรแกรมเพิมเติมจาก Open layers library นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 17. 17 http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_2.py http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_1.py http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_3.py http://pkgeoweb.appspot.com/c1/tile_4.py 7. สรุ ปผล ในอนาคต Cloud Computing จะเข้ามามีบทบาทในระบบสารสนเทศ โดยจะเข้ามาเพิม ประสิ ทธิภาพและศักย์ภาพของระบบภูมิสารสนเทศ ด้วยซอฟต์แวร์ ทีทํางานในรู ปแบบ SaaS โดยการ พัฒนาจะควบคู่ไปกบการสร้างโครงขายอินเตอร์เน็ตความเร็ วสู ง เพือรองรับการทํางานในลักษณะนี ั ่ 8. อ้ างอิงจาก 1. http://news.gislounge.com/2010/04/“how-will-gis-companies-weather-the-cloud-computing- storm”/ 2. http://joesonic.com/blog/2010/03/21/cloud-computing-the-new-gis-trend-online-version-of-arcgis- coming-soon/ 3. http://www.esri.com/news/releases/10_1qtr/amazon.html 4. http://www.esri.com/news/arcwatch/0110/feature.html 5. Full Paper for the UKUUG Spring 2009 Conference “Instant Cloud Computing with openORM” by Mattias Rechenburg 6. White Paper “A New Paradigm for Geographic Information Services” นาย ชัยภัทร เนืองคํามา
  • 18. 18 7. http://pragmaticgeographer.blogspot.com/2008/10/gis-in-cloud.html 8. http://www.esri.com/news/arcuser/1009/cloudcomputing.html 9. http://www.giscloud.com/about/gis-cloud-vs-traditional-gis/ 10. http://en.wikipedia.org/wiki/Software_as_a_service 11. http://www.vector1media.com/vectorone/?p=624 12. http://www.skeinc.com/pages/SC2/SKE_SC2_White_Paper.pdf 13. http://www.pbinsight.com/files/resource-library/resource-files/pbbi-gisplugsin-wp-4-13.pdf 14. http://whitepapers.virtualprivatelibrary.net/Grid%20Resources.pdf 15. http://www.slideshare.net/geocommunitylive/tim-warr-cloud-computing-and-gis-all-hype-or- something-useful 16. http://www.davidchappell.com/CloudPlatforms--Chappell.pdf 17. http://www.isprs.org/proceedings/XXXVIII/7-C4/126_GSEM2009.pdf 18. http://www.springerlink.com/content/j27037741134r8w8/ นาย ชัยภัทร เนืองคํามา