SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 32
Descargar para leer sin conexión
โครงงานบูรณาการ เรือง สบู่เหลวสมุนไพร
                                ่




                  นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔
                            ้




โครงงานนีเป็นส่วนหนึงของการจัดกิจกรรมวันวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
          ้         ่
    โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
                       ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
ก
                                        บทคัดย่อ

        การทาสบู่เหลวใช้เอง ช่วยลดต้นทุน และได้ ฝึกทักษะหลายด้าน ทั้งยังเป็นการลงมือ
ปฏิบัติจริง ได้ค้นคว้าข้อมูล ความรู้อย่างกว้างขวาง ทาให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาสบู่เหลว
ใช้เองในครัวเรือน การปรับปรุงสูตรส่วนผสมจากสมุนไพรต่าง ๆ การชั่ง ตวงส่วนผสม การใช้
ประโยชน์จากสมุนไพรในการทาสบู่เหลวสูตรต่าง ๆ รวมถึงการออกแบบโลโก้ การบรรจุหีบห่อ
การคานวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย และการเทียบมาตราส่วน อีกทั้งนาความรู้จากเรื่องที่ได้
ศึกษาค้นคว้าเกี่ย วกับ โครงงานสบู่เหลวสมุนไพร มาจัดทาเป็น รายงานโครงงาน ซึ่งถือเป็น
การบูรณาการได้อย่างหลากหลาย การทาโครงงานนี้ นอกจากนักเรียนระดับชั้น ม.๓/๔ จะได้
ความรู้ในด้านทฤษฎีต่าง ๆ แล้วนักเรียนยังสามารถฝึกลงมือปฏิบัติจริง และสามารถจาหน่าย
สบู่เหลวสมุนไพรเพื่อเป็นการหารายได้เสริมระหว่างเรียนอีกทางหนึ่งด้วย
ข
                                           กิตติกรรมประกาศ

                โครงงานนี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งไปได้ ด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งดี ยิ่ ง ของครู ศิ ริ รั ต น์
ปานสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ของการวิจัยมา
โดยตลอด
                คณะครู อาจารย์ทุก ท่าน ผู้ปกครอง และนัก เรีย นโรงเรีย นตราดสรรเสริญ
วิทยาคมในการให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการทาโครงงานสบู่เหลวของพวกเราที่กรุณาสละ
เวลา เป็นที่ปรึกษาโครงงาน พร้อมทั้งให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
                เพื่อนทุก ๆ ท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการใช้เครื่องมือ และให้คาแนะนาใน
การใช้งานเป็นอย่างดี
                พวกเรานักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔ จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
                                  ้
มา ณ โอกาสนี้




                                                                  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔
สารบัญ

                                                                   หน้า
บทคัดย่อ                                                           ก
กิตติกรรมประกาศ                                                    ข
บทที่ ๑ บทนา                                                       ๑
        ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา                         ๑
        ๑.๒ จุดประสงค์ของการวิจัย                                  ๑
        ๑.๓ สมมติฐานของการวิจัย                                    ๒
        ๑.๔ ประโยชน์คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย                      ๒
        ๑.๕ ขอบเขตของการวิจัย                                      ๒
บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                        ๓
        ๒.๑ ประโยชน์ของสบู่เหลว                                    ๓
        ๒.๒ สูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์   ๓
        ๒.๓ การทาสบู่เหลวและสมุนไพรพืนบ้านที่น่าสนใจ
                                         ้                         ๗
        ๒.๔ สมุนไพรพืนบ้านที่น่าสนใจ
                       ้                                           ๘
        ๒.๕ วิธีการเติมสมุนไพรลงในสบู่                             ๑๐
        ๒.๖ การวัดปริมาตรและน้าหนัก                                ๑๑
        ๒.๗ ส่วนประกอบสบู่เหลว                                     ๑๑
บทที่ ๓ ขั้นตอนการศึกษา                                            ๑๓
บทที่ ๔ ผลการศึกษา                                                 ๑๘
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ                                ๒๐
ภาคผนวก
บทที่ ๑
                                               บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
          การรักษาความสะอาดของร่างกาย และมือเป็นแนวทางสาคัญในการป้องกันเชื้อโรค
เข้าสู่ร่างกายได้เป็นอย่างดี ยิ่งปัจจุบันมีเชื้อโรคเกิดใหม่หลายโรคด้วยกัน การนาวัตถุดิบใน
ท้องถิ่นมาเป็นส่วนประกอบในการทาสบู่เหลวล้างมือ จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบนั้นๆ
เป็นการใช้วั ตถุ ดิ บ จากธรรมชาติ เ พื่อมาผลิต เป็น สบู่เ หลวสาหรับ ล้ างมือ หรือชาระล้างสิ่ ง
สกปรกในร่างกาย ทั้งยังให้กลิ่นหอมน่าใช้ เป็นการสร้างรายได้ ฝึกอาชีพให้กับนักเรียนจากการ
ทาโครงงานสบู่เหลวอีกด้วย
          ดั ง นั้ น ทางคณะผู้ จั ด ท าจึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การผลิ ต สบู่ เ หลวจาก
ธรรมชาติ โดยคัดสรรเฉพาะสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ต่อการบารุงผิวพรรณ เพราะนอกจากจะ
เป็นประโยชน์กับตัวเองแล้ว ยังสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน หรือทาเป็นอาชีพเสริม
เพื่อหารายได้ระหว่างเรียนได้อีกด้วย และเผยแพร่ให้ผที่สนใจศึกษาต่อไป
                                                              ู้

วัตถุประสงค์การวิจัย
    ๑. เพื่อใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผลิตสบู่เหลวจากธรรมชาติ
    ๒. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มต่อสบู่เหลว
                                                                          ี
       ที่ผลิตขึ้น
    ๓. เพื่อนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกจาหน่ายซึ่งเป็นการหารายได้พิเศษในระหว่างเรียน

สมมติฐานการวิจัย
  ๑. สามารถผลิตสบู่เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติได้
  ๒. สรุปผลความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญฯที่มต่อสบู่เหลวที่ผลิต
                                                          ี
      อยู่ในระดับดี
  ๓. สามารถหารายได้พิเศษระหว่างเรียนจากการจาหน่ายสบู่เหลวสมุนไพรที่ผลิตขึ้นได้
๒
ประโยชน์ท่คาดว่าจะได้รับ
          ี
      สามารถผลิตสบู่ เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติ ขึ้นเองได้ และนาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้น
ออกจาหน่าย ซึ่งเป็นการหารายได้พิเศษในระหว่างเรียนและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
ในอนาคตต่อไป


ขอบเขตการวิจัย
  ๑. การผลิตสบู่เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติครั้งนี้ เป็นสบู่เหลวเพื่อใช้สาหรับทาความ
     สะอาดมือ และร่างกาย
  ๒. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มีต่อสบู่เหลว
     สมุนไพรที่ผลิตขึ้น ศึกษา ๓ ด้าน คือ ด้านรูปลักษณ์ของสบู่ ด้านกลิ่น และด้านราคา
     ขาย ประชากร คือนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม ภาคเรียนที่ ๒ ปี
     การศึกษา ๒๕๕๕
บทที่ ๒
                                    เอกสารที่เกี่ยวข้อง


๒.๑ ประโยชน์ของสบู่เหลว
          การชาระล้างสิ่งสกปรกจากร่างกายในปัจจุบัน มีมากมายหลายวิธี และสบู่ เป็นอีก
ทางเลือกหนึ่ง ให้เราเลือกใช้ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล แต่ ส่วนมาก
การผลิตสบู่เพื่อการค้านี้มักจะมีการแยกสารกลีเซอร์ลีนที่เกิดขึ้นออกไปขาย เพราะตัวกลีเซอ
รีนนี้มีราคาแพงเมื่อถูกสกัดออกไปขาย เหลือแต่สบู่เปล่า ๆ ซึ่งต้องถูกนาไปฟอกให้ขาวก่อนที่
จะนาไปผสมสีตามต้องการ ผสมสารกันหืน ผสมน้าหอมและสารจับกลิ่นให้ความหอมทนทาน
ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นเป็นอันตรายอย่างมากกับผิวคุณและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมเมื่อฟอง
ของสบู่ถูกล้างลงไปในท่อระบายน้า
          โดยทั่วไปแล้วถ้าเป็นสบู่ที่ผลิตขึ้นตาม ธรรมชาติจะมีกลีเซอร์ลีนธรรมชาติอยู่ในตัวสบู่
อยู่แล้ว เพียงแต่มักจะไม่ค่อยเป็นที่นิยมนักเพราะมีราคาสูงกว่าสบู่ทั่วไปในท้องตลาด แต่ผิว
ของคนเรานั้นสามารถซึมซับสิ่งที่เราใช้กับผิว ในสบู่ทั่วไปนอกจากทาหน้าที่เพียงชาระล้างหรือ
ทาความสะอาด แต่ไม่ได้มการบารุงผิว ยังมีสารสังเคราะห์ช่วยให้มีสีสวยงามและน้าหอมซึ่งทา
                            ี
ให้สบู่มีกลิ่นหอม ซึ่งสิ่งเหล่านีล้วนเป็นสารเคมีอันตรายที่จะซึมซับเข้าไปสะสมอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง
                                 ้
ของเรา และเมื่อเวลาผ่านไปนานวันเข้าก็จะทาลายต่อมน้ามันใต้ผิวทาให้ ผิวแห้ง หรือสารเคมี
สะสมนั้นอาจทาอันตรายต่อระบบโลหิตของเราได้
          ในปัจจุบันมีการผลิตสบู่จากธรรมชาติออกมามากขึ้น มีทั้งที่มีส่วนผสมของสมุนไพร
ถั่ว และน้ามันจากเมล็ดพืชต่างๆที่อุดมคุณค่าเป็นประโยชน์ต่อผิว จากการวิจัยเราพบว่าการ
ใช้ส บู่แบบธรรมชาตินี้ไม่มีส ารที่จะท าลายต่อมไขมันใต้ผิวหนังของเราและไม่มีสารตกค้าง
อันตรายใด ๆ ที่จะสะสมอยู่ที่ผิวของเราและสามารถใช้ได้กับทุกสภาพผิว
๒.๒ สูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์
      สูตรสบู่เหลว ๒ สูตรแรกเป็นสูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ สูตร
ที่นาเสนอไว้ในที่น้ีเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น คุณจะพบว่าการทาสบู่เหลวธรรมชาติใช้เองนันง่าย
                                                                                     ้
ไม่ยากเย็น แต่กลับสนุกและเพลิดเพลิน และเมื่อคุณทาสบู่เหลวธรรมชาติสาเร็จ คุณจะรู้สก     ึ
ภูมใจและรู้สกดีทุกครั้งที่ได้ใช้สบู่เหลวที่ทาขึนเอง อีกทั้งยังประหยัดปลอดภัยจากสารเคมีหรือ
    ิ          ึ                               ้
หากใครจะพัฒนาทักษะจนเชี่ยวชาญ ยึดเป็นอาชีพผลิตสบู่เหลวธรรมชาติจาหน่ายก็คงดีไม่
น้อย เพราะปัจจุบันยังไม่ใคร่มีใครทาออกจาหน่ายกันมากนัก
๔
สูตรที่ 1 สบู่เหลวราข้าว
        ส่วนผสม
        น้ามันปาล์ม                     200 กรัม
        น้ามันมะพร้าว                   200 กรัม
        น้ามันราข้าว                    100 กรัม
        โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 105 กรัม
        น้าที่ใช้ผสมกับ KOH             250 กรัม
        น้าที่ใช้ในการเจือจางสบู่       950 กรัม
        บอแรกซ์                          12 กรัม
ขั้นตอนการทา
1. ชั่ง น้ามัน ด่าง และน้า (ที่ใช้ผสมกับด่าง KOH) ตามสูตรที่ต้องการ
2. เทน้าลงในชามแก้ว แล้วเทด่างทั้งหมดลงในน้า (ไม่ควรเทน้าลงในด่าง) ใช้ช้อนสแตนเลสก
วนด่างให้ละลายน้าให้หมดปล่อยทิงไว้ให้อุณหภูมิลดลงเหลือประมาณ 40-45 องศาเซลเซียส
                              ้
โดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัด
3. เอาน้ามันทั้งหมดเทใส่หม้อสแตนเลสใบเล็ก แล้วนาไปตั้งไฟอุ่นให้มีอุณหภูมิ 40-45 องศา
เซลเซียส
4. เทสารละลายด่าง(ในข้อ 2) ลงในน้ามัน ใช้ไม้พายพลาสติกกวนส่วนผสมให้เข้ากัน
5. เอาหม้อใบใหญ่ขึนตั้งไฟ เติมน้าเปล่าลงในหม้อใบใหญ่ แล้วนาหม้อใบเล็ก (ที่มส่วนผสม
                     ้                                                     ี
น้ามันกับด่างในข้อ 4) วางซ้อนลงในหม้อใบใหญ่ระดับของน้าในหม้อใบใหญ่ควรจะอยู่เหนือ
ระดับก้นของหม้อใบเล็กตลอดเวลาที่เคี่ยวสบู่ใช้ไฟอ่อน ๆ คุมให้อุณหภูมของส่วนผสมมี
                                                                   ิ
อุณหภูมิไม่สูงเกินไป คืออยู่ประมาณ 50-60 องศาเซลเซียส
6. ใช้ไม้พายคนส่วนผสมสบู่ในหม้อใบเล็กไปเรื่อย ๆ คนไปนานประมาณ 15 นาที – ครึ่งชั่วโมง
สบู่จะเริ่มจับตัวเหนียวคล้ายนมสด คนต่อไปอีกประมาณ 15 นาทีถึงครึ่งชั่วโมง สบู่จะ
เปลี่ยนเป็นเหนียวข้นคล้ายแป้งเปียก หรือสับปะรดกวน ให้เคี่ยวต่อไปอีก 1 ชั่วโมง โดยใช้ไม้
พายกวนสบู่ทุก ๆ ครึ่งชั่วโมง เมื่อเคี่ยวสบู่ไปประมาณ 2 ชั่วโมง สบู่จะค่อย ๆ เปลี่ยนสีเป็นสี
เหลืองขุ่นหรือสีเหลืองใส ให้เคี่ยวต่อไปอีก 1 ชั่วโมง
๕
7. จากนั้นยกหม้อใบเล็กออกจากหม้อใบใหญ่ เทน้าในหม้อใบใหญ่ทิง แล้วเติมน้าสะอาด
                                                               ้
ปริมาณ 1000 กรัม ลงในหม้อใบใหญ่ นาหม้อใบใหญ่ตั้งไฟ ตักเนื้อสบู่ทั้งหมดจากหม้อใบเล็ก
ใส่ลงในหม้อใบใหญ่ เปิดไฟปานกลางจนน้าเดือด ใช้ไม้พายตัดเนือสบู่ออกเป็นชินเล็กลง กวน
                                                           ้           ้
ไปสักครู่ 5-10 นาที จึงปิดไฟ นาหม้อลงจากเตาปิดฝา ทิงไว้ข้ามคืน
                                                   ้
8. รุ่งเช้า เนื้อสบู่ที่เหนียวข้นจะละลายเป็นสบู่เหลวจนหมด ถ้าละลายไม่หมดให้ตั้งไฟอีกสักครู่
ก็จะละลายหมด จากนั้นจึงใช้บอแรกซ์ 12 กรัม ละลายน้า 25 กรัม (อาจต้องตั้งไฟบอแรกซ์จึง
จะละลายน้าหมด) ใส่ลงไปสบู่เหลวกวนให้เข้ากัน ก็จะได้สบู่เหลวธรรมชาติ หากจะเติมกลิ่น
หรือน้ามันหอมระเหย หรือสารสกัดสมุนไพร ก็ให้เติมในขั้นตอนนี้ จากนั้นจึงบรรจุลงขวดแก้ว
หรือขวดพลาสติกที่มฝาปิด เก็บต่อไปอีก 1-2 สัปดาห์ จึงนาออกมาใช้ได้
                          ี
สูตรที่ 2 สบู่เหลวน้ามันงา
ส่วนผสม
       น้ามันถั่วเหลือง                        350 กรัม
       น้ามันมะพร้าว                             50 กรัม
       น้ามันปาล์ม                               50 กรัม
       น้ามันงา                                  50 กรัม
       โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH)               95 กรัม
       น้า(สาหรับใช้ละลายด่าง KOH)             220 กรัม
       น้า(สาหรับเจือจางสบู่)                  950 กรัม
       บอแรกซ์                                   12 กรัม
ขั้นตอนการทา
       เหมือนกับสูตรที่ 1
สูตรสบู่เหลวที่ทาจากสบู่ก้อน
ส่วนผสม
       ผงสบู่                   1 ถ้วยตวง
       น้า                      3 ถ้วยตวง
       กลีเซอรีน                4 ช้อนโต๊ะ
๖
        น้ามันหอมระเหย (กลิ่นตามชอบ)
ขั้นตอนการทา
1. นาสบู่ก้อน(ที่ทาขึ้นเองจากสบู่ก้อนธรรมชาติ หรือที่ซือมาจากร้านค้า) มาขูดให้เป็นผงสบู่
                                                       ้
หรือชินสบู่ดวยที่ขูดอาหาร
      ้     ้
2. นาผงสบู่หรือชินสบู่ที่ขูดได้ 1 ถ้วย ใส่ลงในหม้อสแตนเลส เติมน้าสะอาดลงไป 3 ถ้วยตวง
                 ้
3. นาหม้อขึ้นตั้งไฟ ใช้ไฟปานกลาง ใช้ไม้พายคนสบู่เบา ๆ ให้ผงสบู่ละลายน้าให้หมด
4. เติมกลีเซอรีน 4 ช้อนโต๊ะคนให้เข้ากัน จากนั้นอาจจะเติมน้ามันหอมระเหยหรือน้าหอม หรือ
สารสกัดสมุนไพรอื่น ๆ ก็จะได้สบู่เหลวนาไปบรรจุขวดที่มีฝาปิด สบู่เหลวที่ทาจากสบู่ก้อนนี้
เมื่อทาเสร็จสามารถนาไปใช้ได้ทันที
หมายเหตุ
เมื่อเวลาผ่านไปสบู่เหลวจากสบู่ก้อนนี้ อาจจะแห้งแข็งกลับไปเป็นสบู่ก้อนใหม่ นั่นอาจเป็น
เพราะเติมน้า หรือกลีเซอรีนน้อยไปทาให้เมื่อน้าระเหยหมด สบู่เหลวก็กลับไปเป็นสบู่ก้อนแข็ง
ใหม่ ก็ไม่ต้องเป็นห่วงก็ให้นาสบู่ที่แข็งเป็นก้อนนั้นมาทาตามขั้นตอนใหม่ก็จะได้สบู่เหลวใช้ตอไป
                                                                                         ่
เรื่อย ๆ จนกว่าจะหมด


สูตรสบู่เหลวสาหรับล้างจาน
ส่วนผสม
        ผงสบู่          1 ถ้วยตวง
        น้า             3 ถ้วยตวง
        กลีเซอรีน       3-4 ช้อนโต๊ะ
        น้ามันมะนาว
        น้ามะนาว        1 ช้อนโต๊ะ
สูตรสบู่เหลวสาหรับซักผ้า
ส่วนผสม
        ผงสบู่          1 ถ้วยตวง
๗
         น้า            3 ถ้วยตวง
         บอแรกซ์        2 ช้อนโต๊ะ
วิธีการทา
1. เทน้ากับผงสบู่ลงในหม้อหรือชามสแตนเลส เอาขึนตั้งไฟปานกลางใช้ไม้พายคนจนสบู่
                                             ้
ละลายหมด
2. เติมบอแรกซ์ลงไปคนจนบอแรกซ์ละลายหมด ปิดไฟทิงไว้ให้เย็น
                                             ้
3. นาสบู่เหลวที่ได้บรรจุขวดที่มฝาปิด เก็บไว้ใช้ซักผ้า สามารถใช้ได้กับเครื่องซักผ้าทั่วไป
                               ี
๒.๓ การทาสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ
     วัสดุ

    ๑. น้าหมักชีวภาพ ๕ ช้อนโต๊ะ

    ๒. น้า                ๓ ลิตร

    ๓. ผงฟอง ( N ๗๐ ) ๒ ช้อนโต๊ะ

    ๔.ตะไคร้หั่นฝอย      ๑๐ ต้น

    ๕. มะขามเปียก ครึ่งกิโลกรัม

วิธีทา

๑. นาผงฟองมาละลายกับน้า

๒. นาน้ามาต้ม ใส่ตะไคร้ มะขามเปียกตอนเดือด

๓. เมื่อน้าเดือดยกลง ทิ้งไว้จนอุ่น กรองเอาแต่กากทิง
                                                  ้

๔. นาน้าที่ได้มาผสมกับผงฟองที่ละลายน้าแล้วคนให้ทั่ว

๕. เติมน้าหมักชีวภาพ
๘

๒.๔ สมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ

ขมิ้นชัน การใช้ขมิ้นชันเป็นยาทาภายนอก เพื่อ รักษาอาการแพ้ แก้อักเสบ ผื่นแดง แมลง
สัตว์กัดต่อย ให้นาเหง้าขมินยาวประมาณ 2 นิว มาฝนกับน้าต้มสุก แล้วทาในบริเวณที่เป็น
                          ้              ้
วันละ 3 ครั้ง หรือจะใช้ผงขมินโรยทาบริเวณที่มีอาการผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยก็ช่วยได้
                            ้
เช่นกัน ขมินจะช่วยให้ผวพรรณนุ่มนวลผ่องใสขึ้น แถมยังมีสรรพคุณป้องกันการงอกของขน
           ้           ิ
ทาให้ผิวพรรณดูเกลียงเกลาละเอียด
                    ้

ไพล ช่วยทาให้ผิวหนังชุ่มชื่น และเป็นยาช่วยสมานแผลด้วย
ใช้เหง้าสด 1 แง่ง ฝานเป็นชิ้นบางๆ ใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เนื่องจากไพลมีน้ามันหอม
ระเหย น้าคั้นจากเหง้า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าเมื่อย

กระดังงาไทย แก้ลมวิงเวียน ชูกาลัง ทาให้รูสึกสดชื่น ปลอดโปร่ง ร่างกายแข็งแรงเสมอ

ใบชา ทาให้เกิดความชุ่มชืน ชูกาลัง บารุงโลหิต ขับลม แก้อาการเสมหะ
                        ้

ดอกจาปา แก้ลมวิงเวียนได้ดี แก้อ่อนเพลีย บารุงหัวใจ

ลูกชุมเห็ดไทย ชูกาลัง ทาให้เกิดความชุ่มชืน และแก้อาการช้าบวม
                                         ้

รากมะกรูด แก้อาการเป็นลม แน่น จุกเสียด ถอนพิษ

มะตูมสุก แก้ลมจุกเสียด แน่น แก้กระหายน้า ขับลม ช่วยย่อยอาหาร

ดอกขิงแห้ง บารุงกาลังร่างกาย บารุงธาตุได้อีก แก้ออนเพลีย
                                                 ่

บัวบก บารุงกาลัง บารุงหัวใจ

รากมะนาว บารุงประสาท แก้อาการเป็นไข้ ทาให้กล้ามเนือไม่ปวดเมื่อยแต่แข็งแรงดี
                                                  ้

กฤษณา บารุงกาลังร่างกาย แก้อาการเป็นลม หน้ามืดวิงเวียนได้ดีมาก
๙

แก่นขนุน บารุงกาลัง บารุงร่างกาย

ไมยราบ บารุงประสาท กล่อมประสาท จิตใจสดชื่น

ขี้เหล็ก ป้องกันการระบาย ช่วยจิตใจสดชื่น หลับสบาย ไม่เครียด

ดอกกุหลาบ บารุงกาลัง บารุงหัวใจ สร้างความสดชื่นได้ดี

๒.๕ วิธีการเติมสมุนไพรลงในสบู่ มี 2 วิธี คือ
       - เติมในระหว่างกระบวนการทาสบู่ วิธีการนี้ ควรเติมสมุนไพรหลังจากกวนส่วนผสม
ของสบู่เสร็จเรียบร้อยแล้ว การเติมควรเติมสมุนไพรก่อนเทสบู่ลงแบบ เป็นวิธีที่เหมาะสาหรับ
สมุนไพรประเภทสกัดเป็นผงแอลกอฮอล์ และสกัดด้วยน้ามัน
       - ทาสบู่พ้ืนฐานขึนมาก่อน แล้วนามาหลอมใหม่ หลังจากนั้นจึงเติมสมุนไพรลงไป วิธี
                        ้
นีเรียกว่า "การทาสบู่สองขั้นตอน" เหมาะสาหรับสมุนไพรที่สกัดด้วยการคั้นหรือการต้ม
  ้
สัดส่วนการเติมสมุนไพรลงในสบู่
         - สมุนไพรผง ควรเติมในปริมาณ 1-5% ของน้าหนักสบู่
         - สมุนไพรที่สกัดด้วยน้าต้มหรือน้าคั้น ควรเติมในปริมาณ 10% ของน้าหนักสบู่ และ
ต้องลดในส่วนของน้าที่ใช้ละลายด่างออกในปริมาณที่เท่ากัน
         - สมุนไพรที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์ ควรเติมได้ไม่เกิน 10% ของน้าหนักสบู่ และหักลด
ในส่วนของน้าที่ใช้ละลายด่างในปริมาณที่เท่ากัน เช่นเดียวกันกับสมุนไพรที่สกัดด้วยน้ามัน -
สารเพิ่มคุณภาพสบู่ ส่วนใหญ่เติมเพื่อให้ความชุ่มชืน นั้นก็คือกลีเซอรีน ซึ่งในอุตสาหกรรม
                                                  ้
ขนาดใหญ่จะแยกเกล็ดสบู่และกลีเซอรีนไว้ ในกรณีน้ีผผลิตสบู่เอง ไม่จาเป็นต้องเติม กลีเซอ
                                                      ู้
รีน เพราะมีอยู่แล้วในสบู่ แต่หากต้องการคุณสมบัติเพิ่มขึน ก็อาจเติมได้ 5-10% เครื่องมือ
                                                         ้
อุปกรณ์ในการผลิต อาจใช้อุปกรณ์ที่มอยู่มาประยุกต์ใช้ได้ทุกชิน ยกเว้นในขั้นตอนที่จะต้อง
                                     ี                       ้
สัมผัสกับโซดาไฟ ทุกขั้นตอนภาชนะที่ใช้ต้องหลีกเลี่ยงชนิดที่เป็นโลหะ หรืออลูมิเนียมเพราะ
อาจเกิดการกัดกร่อนเสียหายทั้งภาชนะและคุณสมบัติบางประการของสบู่ ควรจะใช้ประเภท
หม้อเคลือบสแตนเลสหรือแก้วทนไฟแทน
๑๐
๒.๖ ส่วนผสมการทาสบู่เหลวสมุนไพร
   ๑. เอ็น 70                                      1 กิโลกรัม
   ๒. น้าสะอาด                                     1 กิโลกรัม
   ๓. น้าสมุนไพรสด                                 1 กิโลกรัม
   ๔. น้าจุลินทรีย์                                2 กิโลกรัม
   ๕. เกลือ                                        1 กิโลกรัม
   ๖. น้าผลไม้รสเปรียว (อย่างละ 10 ลูก)
                    ้                              5 กิโลกรัม

๒.๗ วิธีการทาสบู่เหลวสมุนไพร
        นาเอ็ม 70 กวนในภาชนะเติมน้าเปล่าและเกลือสลับกันไป ทีละน้อยให้เข้าเป็นเนือ้
เดียวกัน จากนั้นค่อย ๆ เติมส่วนผสมอื่น ๆ ที่เหลือทีละน้อยจนครบทุกอย่าง โดยใช้ไม้พายกวน
ไปในทิศทางเดียวกันจนเสร็จ เมื่อเติมส่วนผสมทุกอย่างแล้วให้กวนต่ออีกสักระยะเพื่อให้แน่ใจ
ว่าส่วนผสมทุกอย่างเข้าเป็นเนือเดียวกัน
                             ้

๒.๘ การทาน้าสมุนไพรสดสาหรับสบู่เหลว
        1. นาผลไม้ที่ใช้บารุงผิวเช่น แตงกวา มะเขือเทศ แอปเบิล ฯลฯ มาปั่นผสมน้าสะอาด
แล้วกรองจะได้นาสมุนไพรสด
                 ้
        2. สมุนไพรแห้งประเภทขมิ้นชัน ไพล หรือว่านต่าง ๆ ที่บารุงผิวรักษาผดผื่นคัน บดผสม
น้าแล้วกรอง จะได้นาสมุนไพร
                     ้
        3. น้าผึง นมสด หรืออื่น ๆ ที่เหมาะสาหรับการบารุงผิว
        เนื่องจากสูตรในการทาสบู่เหลวที่ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตมีหลากหลายสูตร อัตราส่ว น
ของส่ ว นผสมแตกต่ า งกั น จึ ง ต้ อ งศึ ก ษาเรื่ อ งการวั ด และปริ ม าตรและน้ าหนั ก เพื่ อ เที ย บ
อัตราส่วนให้ได้สบู่เหลวที่มีอัตราส่วนของส่วนผสมคงที่ โดยใช้การวัดปริมาตรและน้าหนัก ดังนี้

การวัดปริมาตรและน้าหนัก
      1      ลิตร       เท่ากับ 1, 000 หรือ                 103     มิลลิลิตร

        1        กรัม             เท่ากับ 1, 000 หรือ      103      มิลลิกรัม

        1        กิโลกรัม         เท่ากับ 1, 000 หรือ      103      กรัม
๑๑

๒.๙ ส่วนประกอบสบู่เหลว

        SLES (หัวแชมพูออย) คือ sodium lauryl ether sulfate (SLES) หรือ sodium laureth
sulfate มีคา LD50 (หนู) 1,600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีพษปานกลาง เป็นสารทาให้เกิดฟอง มักใช้
           ่                                        ิ
ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด และแชมพู อาจทาให้เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนัง หากเกิด
อาการหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์ควรหยุดใช้ทันที

         ผงข้นคือ sodium chloride เพิ่มความเข้มข้นในการทาสบู่เหลว น้ายาล้างจาน
        ผงฟอง ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของผงฟองคือ (SODIUM LAURYL SULFATE) ชื่อทางเคมี
เรียกว่า EMAL 10P หรือ เอ็น 70 คือTexapon N 70 Sodium Laureth Sulfate มีความเข้มข้น
ประมาณ 70 %

        ผงฟอง (SLS – 90) คือ โซเดียม ลอริล ซัลเฟต หรือที่นิยมเรียกในชื่อย่อว่า เอสแอล
เอส (Sodium Lauryl Sulfate :SLS) เป็นสารที่มีคุณสมบัติลดแรงตึงผิวของน้า ทาให้เกิดฟอง
ช่วยให้สิ่งสกปรก คราบไขมันหลุดออกไปได้ง่ายขึ้น จึงเรียกง่ายๆ ว่าเป็น สารทาความสะอาด
นิยมใช้ทั้งในวงการอุตสาหกรรมและเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์หลายประเภท เช่น ครื่องสาอาง
น้ ายาล้ า งจาน (โดยใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพแตกต่ า งกั น ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการ
นาไปใช้) เครื่องสาอางที่นิยมผสมสารนี้ ได้แก่ เครื่องสาอางที่ใช้แล้วล้างออกด้วยน้า เช่น สบู่
เหลว แชมพู ตลอดจนยาสีฟัน

        Citric acid (กรดมะนาว)
        Citric acid เป็น AHA ชนิดหนึ่ง (Alpha Hydroxy Acid) พบได้ในผลไม้บางชนิด เช่น
มะนาว,สัปปะรด ประโยชน์ของ AHA ต่อผิวหนังโดยทั่วๆไปคือ ช่วยในการหลุดลอกของชันขี้      ้
ไคลด้านนอก, ทาให้ชั้นepidermisของผิวหนังหนาตัวขึน, ลดการสร้างเม็ดสี, มีฤทธิ์เป็น aniti-
                                                    ้
oxidants (บางชนิด), เพิ่มการสร้างสาร collagen และ elastin ในผิวชั้นใน(dermis) ดังนันจะ
                                                                                   ้
เกิดผลโดยรวมต่อผิวหนัง คือ ทาให้ผิวเรียบ ใส ชุ่มชื่น ขาวขึน ยืดหยุ่นมากขึ้น ลดริ้วรอยตืนๆ
                                                          ้                            ้
และลดขนาดรูขุมขนได้บ้าง อย่างไรก็ตามAHA ต่างชนิดกันจะมีฤทธิ์ต่อผิวหนังต่างกันไป และ
ยังขึนอยู่กับความเข้มข้นของสาร AHA นั้นค่าความเป็นกรดด่างของระบบ และรายละเอียดอื่น
     ้
ๆ ของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ด้วย
๑๒

      ผลข้างเคียงของสาร AHA ที่พบได้ เช่นมีการระคายเคืองเวลาทา คัน แสบ ผิวแห้งลง
พบว่าAHA ลดค่า MED ของผิวหนัง หมายถึง ผิวทนต่อ UVB น้อยลง ดังนั้นควรทาครีมกันแดด
และหลีกเลี่ยงแดด ก็จะสามารถใช้ AHA ให้ได้ประโยชน์เกิดผลข้างเคียงน้อยที่สุดค่ะ
บทที่ ๓
                                 ขั้นตอนการศึกษา

ขั้นเตรียมการ
     ๑. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลวิธีการทาสบู่เหลวจากอินเทอร์เน็ต
     ๒. ศึกษาวิธีการทาจากคลิปวิดีโอ บนเว็บไซต์ยูทูป
     ๓. ศึกษาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรูภายในท้องถิ่น จากวิทยากร
                                               ้
     ๔. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์สาหรับทาสบู่เหลว
     ๕. ลงมือปฏิบัติ ทดลองทาสบู่เหลว
     ๖. ปรับปรุงสูตรสบู่เหลวสมุนไพร
     ๗. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และฉลาก
     ๘. คิดต้นทุน และกาหนดราคาขาย
     ๙. สรุปผล และนาเสนอผลโครงงาน
     ๑๐. เผยแพร่โครงงานในวันวิชาการ

สูตรสบู่เหลวที่ทาการทดลองครั้งแรก
        ๑. หัวแชมพูออย (SLES 28)           ๑       ก.ก.
        ๒. ผงข้น (SODIUM Chloride)         ๓๐๐     กรัม
        ๓. ผงฟอง (SLS – 90)                ๑๐๐     กรัม
        ๔. กรดมะนาว (CITRID)               ๓๐๐     กรัม
        ๕. น้าหอม (PERFUME)                ๓๐      ซีซี
        ๖. น้า (WATER)                     ๔       ก.ก.
        ๗. สี (COLOR)
        ๘. สารกันเสียพอประมาณ
๑๔
วัสดุและอุปกรณ์




                  ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และคลิปวิดีโอ
๑๕
วิธีทา
       นาหัวแชมพูออยและผงฟอง (ละลายน้าร้อนก่อน) คนให้เข้ากัน ผสมน้าหอมเติมน้าลง
ไปคนให้เข้ากันแล้วใส่กรดมะนาว คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมสีและสารกันเสียตามต้องการ
ค่อยๆ เติมผลข้นลงไปพอข้น ใช้ทาความสะอาดร่างกาย
๑๖




สูตรสมุนไพรขมิ้นชัน ไพล และน้าผึ้ง
๑๗
ออกแบบโลโก้
บทที่ ๔
                                ผลการศึกษาค้นคว้า

        ได้สูตรสบู่เหลวจากสมุนไพร ๓ ชนิด ได้แก่ ขมิน ไพล และน้าผึ้ง ดังนี้
                                                   ้
สูตรสบู่เหลวสมุนไพร
        ๑. หัวแชมพูออย (SLES 28)               ๑      ก.ก.
        ๒. ผงข้น (SODIUM Chloride)             ๓๐๐ กรัม
        ๓. ผงฟอง (SLS – 90)                    ๑๐๐ กรัม
        ๔. กรดมะนาว (CITRID)                   ๓๐๐ กรัม
        ๕. น้าหอม (PERFUME)                    ๓๐ ซีซี
        ๖. ไพล                                 ๕๐๐ กรัม
        ๗. ขมิน ้                              ๕๐๐ กรัม
        ๘. น้าผึ้ง                             ๒๕ กรัม
        ๙. น้า (WATER)                         ๓      ก.ก.
        ๑๐. สารกันเสียพอประมาณ
วิธีทา
        นาหัวแชมพูออยและผงฟอง (ละลายน้าร้อนก่อน) คนให้เข้ากัน ผสมน้าสมุนไพร (ผง
ไพล ผงขมินชัน ละลายน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง) ผสมน้าหอม และน้าผึ้ง เติมน้าลงไปคนให้
           ้
เข้ากันแล้วใส่กรดมะนาว คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมสารกันเสียตามต้องการ ค่อยๆ เติมผงข้น
ลงไปพอข้น ทิงไว้ให้ฟองยุบตัว จึงบรรจุใส่ขวด และปิดฉลาก พร้อมจาหน่ายใช้ทาความสะอาด
              ้
ร่างกาย
๑๙
การคิดราคาต้นทุน และตั้งราคาขาย
ราคาทุน
   ๑. ชุดสบู่เหลว ๒ ชุด                         ๓๒๐     บาท
   ๒. ขวดแชมพู ๓๐ ซีซี      จานวน ๑๒ ขวด ราคา    ๙๖     บาท
   ๓. ขวดปั๊ม ๒๔๐ ซีซี      จานวน ๑๒ ขวด ราคา   ๒๑๖     บาท
   ๔. ขวดปั๊มระฆัง ๓๐๐ ซีซี จานวน ๑๒ ขวด ราคา   ๒๔๐     บาท
   ๕. สมุนไพร                                    ๓๐     บาท
      รวมราคาต้นทุน                             ๗๑๒     บาท

การตั้งราคาขาย
        การทาสบู่เหลวสมุนไพร ใช้ตนทุนทั้งหมด
                                 ้              ๗๑๒ บาท
ต้องการกาไร ๔๐ เปอร์เซ็นต์
(ผลิตสบู่เหลวสมุนไพรได้จานวน ๒๖ ขวด)

การคิดกาไร              =    ๕๐x๗๑๒/๑๐๐
                        =    ๒๘๔.๘๐ บาท
นากาไร ๒๘๔.๘๐ บาท + ต้นทุน ๗๑๒ บาท เท่ากับ ๙๙๖.๘๐ บาท
       ๙๙๖.๘๐ บาท ÷ ๒๖ ขวด = ๓๘.๓๔ บาท

ใช้กาหนดเป็นราคาขายขวดละ      ๓๙ บาท
บทที่ ๕
                               สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการศึกษา
         การทาสบู่เหลวเป็นการฝึกทักษะหลายด้าน ทั้งยังเป็นการลงมือปฏิบัติจริง ได้ค้นคว้า
ข้อมูล ความรู้อย่างกว้างขวาง ทาให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาสบู่เหลวแบบต่าง ๆ รวมถึง
การออกแบบฉลาก บรรจุภัณฑ์ การคานวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย และการเทียบมาตราส่วน
อีกทั้งนาความรูจากเรื่องที่ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงานสบู่เหลวที่ทา มาปรับปรุงสูตรโดย
                  ้
เพิ่มสมุนไพรที่มประโยชน์ในการบารุงผิวพรรณ ได้แก่ ขมิ้น ไพล และน้าผึ้ง เป็นการบูรณาการ
                    ี
ได้อย่างหลากหลาย จากการทาโครงงานสบู่เหลวสมุนไพรนี้ นอกจากนักเรียนระดับชั้น ม.๓/๔
จะได้ ค วามรู้ ใ นด้ า นทฤษฎี ต่ า ง ๆ แล้ ว นัก เรี ย นยั งสามารถฝึก ลงมื อ ปฏิบั ติ จ ริ ง นาไปใช้ ใ น
ชีวิตประจาวันได้ และสามารถจาหน่ายเพื่อเป็นอาชีพเสริม เพื่อการหารายได้ระหว่างเรียนอีก
ทางหนึ่งด้วย
         จากการศึกษาพบว่า “สบู่เหลวสมุนไพร” ทาได้ไม่ยาก สามารถดัดแปลงได้หลายสูตร
หลากหลายกลิ่นตามชอบ และคุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิด ทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน
ครัวเรือน สามารถทาใช้เองภายในครัวเรือน หากมีปริมาณมากพอ นาไปจาหน่ายเพื่อหารายได้
เสริมอีกทางหนึ่ง

๕.๒ ข้อเสนอแนะ
       - การกวนสบู่เหลว ให้กวนไปทางเดียวกัน เนือสบู่จะเนียน
                                               ้
       - สามารถปรับเปลี่ยนส่วนผสมเป็นสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ได้หลากหลายชนิด ตาม
ประโยชน์และสรรพคุณที่ผใช้ตองการ
                      ู้ ้

๕.๓ ปัญหาและอุปสรรค
       ต้นทุนราคาขวดมีราคาสูง ทาให้ราคาจาหน่ายค่อนข้างสูง ควรเลือกบรรจุภัณฑ์ที่ มี
ราคาย่อมเยาว์เพื่อลดราคาต้นทุน แต่รูปลักษณ์ของขวดอาจไม่สวยงาม
บทที่ 1
นักเรียนทดลองใช้ และประเมินความพึงพอใจ




      บรรจุภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ
ทดลองวางจาหน่ายร้านค้าชุมชน
โครงงานบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา ๒๕๕๕
                              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔
ครูที่ปรึกษาหลัก            ครูศิริรัตน์ ปานสุวรรณ
วัตถุประสงค์

๑. ศึกษาประโยชน์ของสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมฯ และภาษาไทย
๒. ส่วนประกอบสบู่เหลว และการทดลองทาสบู่เหลวจากสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระ
  การเรียนรูวิทยาศาสตร์
            ้
๓. จัดจาหน่ายเพื่อหารายได้เสริม บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูการงานฯ
                                                              ้
๔. ศึกษาคาศัพท์เกี่ยวกับสบู่เหลว บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาต่างประเทศ
                                                                ้
๕. ศึกษาประโยชน์ของสบู่เหลวสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ
๖. ออกแบบโลโก้ และบรรจุภัณฑ์บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลปะ   ิ
    และการงานฯ (คอมพิวเตอร์)
 ๗. ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มต่อสบู่เหลวที่
                                                                       ี
   ผลิตขึน และวิธีการคิดต้นทุน ราคาขาย กาไร ขาดทุน มาตราส่วน บูรณาการกับกลุ่มสาระ
         ้
   การเรียนรูคณิตศาสตร์ฯ
              ้

 ภาษาต่างประเทศ              ภาษาไทย                        สังคมศึกษา ศาสนา และ
 - คาศัพท์                   - ประโยชน์ของ                  วัฒนธรรม
                             สมุนไพร                        - ประโยชน์สมุนไพร



 วิทยาศาสตร์                                                คณิตศาสตร์
 - ชื่อทางวิทยาศาสตร์                                       - การคานวณต้นทุน ราคา
 ของธัญพืข                                                  ขาย กาไร ขาดทุน
 - ป้ายนิเทศ                                                - มาตราส่วน
                                                            - ความพึงพอใจ

 สุขศึกษา พลศึกษา              ศิลปะ                        การงานอาชีพและ
 - สรรพคุณสมุนไพร              - การออกแบบโลโก้             เทคโนโลยี
 - ประโยชน์สบู่เหลว                                         - การจัดจาหน่าย
                                                            - ออกแบบโลโก้
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับนักเรียน
                       เรื่อง สบู่เหลวสมุนไพร ชั้น ม.๓/๔

ความพอประมาณ
     ๑. รู้จักแบ่งเวลา
     ๒. รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
     ๓. รู้จักนาสมุนไพรไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์

มีเหตุผล
      ๑. เชื่อมโยงความรูจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระฯ
                        ้
      ๒. สบู่เหลวเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทุกบ้านใช้ สามารถทาใช้เองได้ในครัวเรือน
      ๓. วัสดุอุปกรณ์ในการทามีในท้องถิ่น

มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
       ๑. ฝึกใช้ความคิดในการทาสบู่เหลวสมุนไพร การจัดจาหน่ายให้ได้กาไร
           ไม่ขาดทุน ใช้ต้นทุนต่า
       ๒. เกิดความรู้สกอยากประหยัดเงิน เพราะกว่าจะได้เงินมาต้องใช้ความมานะ และอดทน
                        ึ

เงื่อนไขความรู้
       ๑. รู้จักนาความรูจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
                        ้
       ๒. นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

เงื่อนไขคุณธรรม
       ๑. รู้จักรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
       ๒. เรียนรู้ความสามัคคีจากการทางานเป็นกลุ่ม
       ๓. ขยันและกระตือรือร้นในงานที่ได้รับมอบหมาย
       ๔. มีวนัยต่อตนเองและผูอื่นในเรื่องต่าง ๆ
               ิ               ้
สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
๑. เพศ       ชาย ร้อยละ ๓๓.๓๓ หญิง ร้อยละ ๖๖.๖๗

ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการใช้สบู่เหลวสมุนไพร
         จากการทดลองใช้สบู่เหลวสมุนไพร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด ร้อยละ
                                          ระดับความพึงพอใจ                     หมายเหตุ
    สบู่เหลวสมุนไพร
                           มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
๑. กลิ่นสบู่เหลวสมุนไพร     ๗๓.๓๓ ๒๖.๖๗              -        -          -
๒. รูปลักษณ์ของบรรจุ        ๒๖.๖๗ ๗๓.๓๓              -        -          -
ภัณฑ์สวยงาม
๓. สีสรรของสบู่เหลว         ๔๖.๖๗ ๕๓.๓๓              -        -          -
สมุนไพร
๔. การตังราคาขาย
          ้                 ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐              -        -          -
เหมาะสม
ค่าเฉลี่ยรวม                ๔๖.๖๗ ๕๓.๓๓

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
      -
แบบสอบถามความพึงพอใจ

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
๑. เพศ        ๑. ชาย  ๒. หญิง

ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการใช้สบู่เหลวสมุนไพร
                                        ระดับความพึงพอใจ                                                                                หมายเหตุ
    สบู่เหลวสมุนไพร
                         มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย                                                                 น้อยที่สุด
๑. กลิ่นสบู่เหลวสมุนไพร
๒. รูปลักษณ์ของบรรจุ
ภัณฑ์สวยงาม
๓. สีสรรของสบู่เหลว
สมุนไพร
๔. การตังราคาขาย
         ้
เหมาะสม

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
บรรณานุกรม

https://sites.google.com/site/lifequality4allu/sbu-helw/karthasbuhelw [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕]
http://www.edoae.doae.go.th/doing%20soap_15-08-2008.pdf [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕]
http://www.organicthailand.com/webboard_352697_1279_th?lang=en [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕]
http://www.rcskinclinic.com/th/q-a-detail.aspx?id=10611 [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕]
http://school.obec.go.th/nongpodang/knowlages.htm#PB16 [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕]
http://202.143.137.103/nfeforum/page7.html [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖]
http://www.bansansuk.com/occupation/shower_cream/ [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖]
http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=1 [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖]
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=2728.32 [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖]
http://health.kapook.com/view42014.html [เข้าถึง ๖ ม.ค. ๕๖]
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_06_6.htm [เข้าถึง ๖ ม.ค. ๕๖]

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรminmint
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 

Similar a บทที่ 1

Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อWisan Butsaman
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4juckit009
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาวสบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาวPuHi Sion
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 

Similar a บทที่ 1 (20)

Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาวสบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
Thai herbs
Thai herbsThai herbs
Thai herbs
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
เผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่าเผ็ดจังหม่าล่า
เผ็ดจังหม่าล่า
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 

Más de KruPor Sirirat Namthai

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้KruPor Sirirat Namthai
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มKruPor Sirirat Namthai
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู KruPor Sirirat Namthai
 

Más de KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 

บทที่ 1

  • 1. โครงงานบูรณาการ เรือง สบู่เหลวสมุนไพร ่ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔ ้ โครงงานนีเป็นส่วนหนึงของการจัดกิจกรรมวันวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ้ ่ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
  • 2. บทคัดย่อ การทาสบู่เหลวใช้เอง ช่วยลดต้นทุน และได้ ฝึกทักษะหลายด้าน ทั้งยังเป็นการลงมือ ปฏิบัติจริง ได้ค้นคว้าข้อมูล ความรู้อย่างกว้างขวาง ทาให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาสบู่เหลว ใช้เองในครัวเรือน การปรับปรุงสูตรส่วนผสมจากสมุนไพรต่าง ๆ การชั่ง ตวงส่วนผสม การใช้ ประโยชน์จากสมุนไพรในการทาสบู่เหลวสูตรต่าง ๆ รวมถึงการออกแบบโลโก้ การบรรจุหีบห่อ การคานวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย และการเทียบมาตราส่วน อีกทั้งนาความรู้จากเรื่องที่ได้ ศึกษาค้นคว้าเกี่ย วกับ โครงงานสบู่เหลวสมุนไพร มาจัดทาเป็น รายงานโครงงาน ซึ่งถือเป็น การบูรณาการได้อย่างหลากหลาย การทาโครงงานนี้ นอกจากนักเรียนระดับชั้น ม.๓/๔ จะได้ ความรู้ในด้านทฤษฎีต่าง ๆ แล้วนักเรียนยังสามารถฝึกลงมือปฏิบัติจริง และสามารถจาหน่าย สบู่เหลวสมุนไพรเพื่อเป็นการหารายได้เสริมระหว่างเรียนอีกทางหนึ่งด้วย
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งไปได้ ด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งดี ยิ่ ง ของครู ศิ ริ รั ต น์ ปานสุวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ของการวิจัยมา โดยตลอด คณะครู อาจารย์ทุก ท่าน ผู้ปกครอง และนัก เรีย นโรงเรีย นตราดสรรเสริญ วิทยาคมในการให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการทาโครงงานสบู่เหลวของพวกเราที่กรุณาสละ เวลา เป็นที่ปรึกษาโครงงาน พร้อมทั้งให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ เพื่อนทุก ๆ ท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการใช้เครื่องมือ และให้คาแนะนาใน การใช้งานเป็นอย่างดี พวกเรานักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔ จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ้ มา ณ โอกาสนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑ ๑.๒ จุดประสงค์ของการวิจัย ๑ ๑.๓ สมมติฐานของการวิจัย ๒ ๑.๔ ประโยชน์คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๒ ๑.๕ ขอบเขตของการวิจัย ๒ บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๓ ๒.๑ ประโยชน์ของสบู่เหลว ๓ ๒.๒ สูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ๓ ๒.๓ การทาสบู่เหลวและสมุนไพรพืนบ้านที่น่าสนใจ ้ ๗ ๒.๔ สมุนไพรพืนบ้านที่น่าสนใจ ้ ๘ ๒.๕ วิธีการเติมสมุนไพรลงในสบู่ ๑๐ ๒.๖ การวัดปริมาตรและน้าหนัก ๑๑ ๒.๗ ส่วนประกอบสบู่เหลว ๑๑ บทที่ ๓ ขั้นตอนการศึกษา ๑๓ บทที่ ๔ ผลการศึกษา ๑๘ บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ๒๐ ภาคผนวก
  • 5. บทที่ ๑ บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การรักษาความสะอาดของร่างกาย และมือเป็นแนวทางสาคัญในการป้องกันเชื้อโรค เข้าสู่ร่างกายได้เป็นอย่างดี ยิ่งปัจจุบันมีเชื้อโรคเกิดใหม่หลายโรคด้วยกัน การนาวัตถุดิบใน ท้องถิ่นมาเป็นส่วนประกอบในการทาสบู่เหลวล้างมือ จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบนั้นๆ เป็นการใช้วั ตถุ ดิ บ จากธรรมชาติ เ พื่อมาผลิต เป็น สบู่เ หลวสาหรับ ล้ างมือ หรือชาระล้างสิ่ ง สกปรกในร่างกาย ทั้งยังให้กลิ่นหอมน่าใช้ เป็นการสร้างรายได้ ฝึกอาชีพให้กับนักเรียนจากการ ทาโครงงานสบู่เหลวอีกด้วย ดั ง นั้ น ทางคณะผู้ จั ด ท าจึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การผลิ ต สบู่ เ หลวจาก ธรรมชาติ โดยคัดสรรเฉพาะสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ต่อการบารุงผิวพรรณ เพราะนอกจากจะ เป็นประโยชน์กับตัวเองแล้ว ยังสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน หรือทาเป็นอาชีพเสริม เพื่อหารายได้ระหว่างเรียนได้อีกด้วย และเผยแพร่ให้ผที่สนใจศึกษาต่อไป ู้ วัตถุประสงค์การวิจัย ๑. เพื่อใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผลิตสบู่เหลวจากธรรมชาติ ๒. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มต่อสบู่เหลว ี ที่ผลิตขึ้น ๓. เพื่อนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกจาหน่ายซึ่งเป็นการหารายได้พิเศษในระหว่างเรียน สมมติฐานการวิจัย ๑. สามารถผลิตสบู่เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติได้ ๒. สรุปผลความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญฯที่มต่อสบู่เหลวที่ผลิต ี อยู่ในระดับดี ๓. สามารถหารายได้พิเศษระหว่างเรียนจากการจาหน่ายสบู่เหลวสมุนไพรที่ผลิตขึ้นได้
  • 6. ๒ ประโยชน์ท่คาดว่าจะได้รับ ี สามารถผลิตสบู่ เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติ ขึ้นเองได้ และนาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้น ออกจาหน่าย ซึ่งเป็นการหารายได้พิเศษในระหว่างเรียนและเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ ในอนาคตต่อไป ขอบเขตการวิจัย ๑. การผลิตสบู่เหลวสมุนไพรจากธรรมชาติครั้งนี้ เป็นสบู่เหลวเพื่อใช้สาหรับทาความ สะอาดมือ และร่างกาย ๒. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มีต่อสบู่เหลว สมุนไพรที่ผลิตขึ้น ศึกษา ๓ ด้าน คือ ด้านรูปลักษณ์ของสบู่ ด้านกลิ่น และด้านราคา ขาย ประชากร คือนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๕
  • 7. บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ ประโยชน์ของสบู่เหลว การชาระล้างสิ่งสกปรกจากร่างกายในปัจจุบัน มีมากมายหลายวิธี และสบู่ เป็นอีก ทางเลือกหนึ่ง ให้เราเลือกใช้ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล แต่ ส่วนมาก การผลิตสบู่เพื่อการค้านี้มักจะมีการแยกสารกลีเซอร์ลีนที่เกิดขึ้นออกไปขาย เพราะตัวกลีเซอ รีนนี้มีราคาแพงเมื่อถูกสกัดออกไปขาย เหลือแต่สบู่เปล่า ๆ ซึ่งต้องถูกนาไปฟอกให้ขาวก่อนที่ จะนาไปผสมสีตามต้องการ ผสมสารกันหืน ผสมน้าหอมและสารจับกลิ่นให้ความหอมทนทาน ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นเป็นอันตรายอย่างมากกับผิวคุณและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมเมื่อฟอง ของสบู่ถูกล้างลงไปในท่อระบายน้า โดยทั่วไปแล้วถ้าเป็นสบู่ที่ผลิตขึ้นตาม ธรรมชาติจะมีกลีเซอร์ลีนธรรมชาติอยู่ในตัวสบู่ อยู่แล้ว เพียงแต่มักจะไม่ค่อยเป็นที่นิยมนักเพราะมีราคาสูงกว่าสบู่ทั่วไปในท้องตลาด แต่ผิว ของคนเรานั้นสามารถซึมซับสิ่งที่เราใช้กับผิว ในสบู่ทั่วไปนอกจากทาหน้าที่เพียงชาระล้างหรือ ทาความสะอาด แต่ไม่ได้มการบารุงผิว ยังมีสารสังเคราะห์ช่วยให้มีสีสวยงามและน้าหอมซึ่งทา ี ให้สบู่มีกลิ่นหอม ซึ่งสิ่งเหล่านีล้วนเป็นสารเคมีอันตรายที่จะซึมซับเข้าไปสะสมอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง ้ ของเรา และเมื่อเวลาผ่านไปนานวันเข้าก็จะทาลายต่อมน้ามันใต้ผิวทาให้ ผิวแห้ง หรือสารเคมี สะสมนั้นอาจทาอันตรายต่อระบบโลหิตของเราได้ ในปัจจุบันมีการผลิตสบู่จากธรรมชาติออกมามากขึ้น มีทั้งที่มีส่วนผสมของสมุนไพร ถั่ว และน้ามันจากเมล็ดพืชต่างๆที่อุดมคุณค่าเป็นประโยชน์ต่อผิว จากการวิจัยเราพบว่าการ ใช้ส บู่แบบธรรมชาตินี้ไม่มีส ารที่จะท าลายต่อมไขมันใต้ผิวหนังของเราและไม่มีสารตกค้าง อันตรายใด ๆ ที่จะสะสมอยู่ที่ผิวของเราและสามารถใช้ได้กับทุกสภาพผิว ๒.๒ สูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์ สูตรสบู่เหลว ๒ สูตรแรกเป็นสูตรสบู่เหลวที่ทาด้วยวิธีการใช้โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ สูตร ที่นาเสนอไว้ในที่น้ีเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น คุณจะพบว่าการทาสบู่เหลวธรรมชาติใช้เองนันง่าย ้ ไม่ยากเย็น แต่กลับสนุกและเพลิดเพลิน และเมื่อคุณทาสบู่เหลวธรรมชาติสาเร็จ คุณจะรู้สก ึ ภูมใจและรู้สกดีทุกครั้งที่ได้ใช้สบู่เหลวที่ทาขึนเอง อีกทั้งยังประหยัดปลอดภัยจากสารเคมีหรือ ิ ึ ้ หากใครจะพัฒนาทักษะจนเชี่ยวชาญ ยึดเป็นอาชีพผลิตสบู่เหลวธรรมชาติจาหน่ายก็คงดีไม่ น้อย เพราะปัจจุบันยังไม่ใคร่มีใครทาออกจาหน่ายกันมากนัก
  • 8. ๔ สูตรที่ 1 สบู่เหลวราข้าว ส่วนผสม น้ามันปาล์ม 200 กรัม น้ามันมะพร้าว 200 กรัม น้ามันราข้าว 100 กรัม โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 105 กรัม น้าที่ใช้ผสมกับ KOH 250 กรัม น้าที่ใช้ในการเจือจางสบู่ 950 กรัม บอแรกซ์ 12 กรัม ขั้นตอนการทา 1. ชั่ง น้ามัน ด่าง และน้า (ที่ใช้ผสมกับด่าง KOH) ตามสูตรที่ต้องการ 2. เทน้าลงในชามแก้ว แล้วเทด่างทั้งหมดลงในน้า (ไม่ควรเทน้าลงในด่าง) ใช้ช้อนสแตนเลสก วนด่างให้ละลายน้าให้หมดปล่อยทิงไว้ให้อุณหภูมิลดลงเหลือประมาณ 40-45 องศาเซลเซียส ้ โดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัด 3. เอาน้ามันทั้งหมดเทใส่หม้อสแตนเลสใบเล็ก แล้วนาไปตั้งไฟอุ่นให้มีอุณหภูมิ 40-45 องศา เซลเซียส 4. เทสารละลายด่าง(ในข้อ 2) ลงในน้ามัน ใช้ไม้พายพลาสติกกวนส่วนผสมให้เข้ากัน 5. เอาหม้อใบใหญ่ขึนตั้งไฟ เติมน้าเปล่าลงในหม้อใบใหญ่ แล้วนาหม้อใบเล็ก (ที่มส่วนผสม ้ ี น้ามันกับด่างในข้อ 4) วางซ้อนลงในหม้อใบใหญ่ระดับของน้าในหม้อใบใหญ่ควรจะอยู่เหนือ ระดับก้นของหม้อใบเล็กตลอดเวลาที่เคี่ยวสบู่ใช้ไฟอ่อน ๆ คุมให้อุณหภูมของส่วนผสมมี ิ อุณหภูมิไม่สูงเกินไป คืออยู่ประมาณ 50-60 องศาเซลเซียส 6. ใช้ไม้พายคนส่วนผสมสบู่ในหม้อใบเล็กไปเรื่อย ๆ คนไปนานประมาณ 15 นาที – ครึ่งชั่วโมง สบู่จะเริ่มจับตัวเหนียวคล้ายนมสด คนต่อไปอีกประมาณ 15 นาทีถึงครึ่งชั่วโมง สบู่จะ เปลี่ยนเป็นเหนียวข้นคล้ายแป้งเปียก หรือสับปะรดกวน ให้เคี่ยวต่อไปอีก 1 ชั่วโมง โดยใช้ไม้ พายกวนสบู่ทุก ๆ ครึ่งชั่วโมง เมื่อเคี่ยวสบู่ไปประมาณ 2 ชั่วโมง สบู่จะค่อย ๆ เปลี่ยนสีเป็นสี เหลืองขุ่นหรือสีเหลืองใส ให้เคี่ยวต่อไปอีก 1 ชั่วโมง
  • 9. ๕ 7. จากนั้นยกหม้อใบเล็กออกจากหม้อใบใหญ่ เทน้าในหม้อใบใหญ่ทิง แล้วเติมน้าสะอาด ้ ปริมาณ 1000 กรัม ลงในหม้อใบใหญ่ นาหม้อใบใหญ่ตั้งไฟ ตักเนื้อสบู่ทั้งหมดจากหม้อใบเล็ก ใส่ลงในหม้อใบใหญ่ เปิดไฟปานกลางจนน้าเดือด ใช้ไม้พายตัดเนือสบู่ออกเป็นชินเล็กลง กวน ้ ้ ไปสักครู่ 5-10 นาที จึงปิดไฟ นาหม้อลงจากเตาปิดฝา ทิงไว้ข้ามคืน ้ 8. รุ่งเช้า เนื้อสบู่ที่เหนียวข้นจะละลายเป็นสบู่เหลวจนหมด ถ้าละลายไม่หมดให้ตั้งไฟอีกสักครู่ ก็จะละลายหมด จากนั้นจึงใช้บอแรกซ์ 12 กรัม ละลายน้า 25 กรัม (อาจต้องตั้งไฟบอแรกซ์จึง จะละลายน้าหมด) ใส่ลงไปสบู่เหลวกวนให้เข้ากัน ก็จะได้สบู่เหลวธรรมชาติ หากจะเติมกลิ่น หรือน้ามันหอมระเหย หรือสารสกัดสมุนไพร ก็ให้เติมในขั้นตอนนี้ จากนั้นจึงบรรจุลงขวดแก้ว หรือขวดพลาสติกที่มฝาปิด เก็บต่อไปอีก 1-2 สัปดาห์ จึงนาออกมาใช้ได้ ี สูตรที่ 2 สบู่เหลวน้ามันงา ส่วนผสม น้ามันถั่วเหลือง 350 กรัม น้ามันมะพร้าว 50 กรัม น้ามันปาล์ม 50 กรัม น้ามันงา 50 กรัม โปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 95 กรัม น้า(สาหรับใช้ละลายด่าง KOH) 220 กรัม น้า(สาหรับเจือจางสบู่) 950 กรัม บอแรกซ์ 12 กรัม ขั้นตอนการทา เหมือนกับสูตรที่ 1 สูตรสบู่เหลวที่ทาจากสบู่ก้อน ส่วนผสม ผงสบู่ 1 ถ้วยตวง น้า 3 ถ้วยตวง กลีเซอรีน 4 ช้อนโต๊ะ
  • 10. น้ามันหอมระเหย (กลิ่นตามชอบ) ขั้นตอนการทา 1. นาสบู่ก้อน(ที่ทาขึ้นเองจากสบู่ก้อนธรรมชาติ หรือที่ซือมาจากร้านค้า) มาขูดให้เป็นผงสบู่ ้ หรือชินสบู่ดวยที่ขูดอาหาร ้ ้ 2. นาผงสบู่หรือชินสบู่ที่ขูดได้ 1 ถ้วย ใส่ลงในหม้อสแตนเลส เติมน้าสะอาดลงไป 3 ถ้วยตวง ้ 3. นาหม้อขึ้นตั้งไฟ ใช้ไฟปานกลาง ใช้ไม้พายคนสบู่เบา ๆ ให้ผงสบู่ละลายน้าให้หมด 4. เติมกลีเซอรีน 4 ช้อนโต๊ะคนให้เข้ากัน จากนั้นอาจจะเติมน้ามันหอมระเหยหรือน้าหอม หรือ สารสกัดสมุนไพรอื่น ๆ ก็จะได้สบู่เหลวนาไปบรรจุขวดที่มีฝาปิด สบู่เหลวที่ทาจากสบู่ก้อนนี้ เมื่อทาเสร็จสามารถนาไปใช้ได้ทันที หมายเหตุ เมื่อเวลาผ่านไปสบู่เหลวจากสบู่ก้อนนี้ อาจจะแห้งแข็งกลับไปเป็นสบู่ก้อนใหม่ นั่นอาจเป็น เพราะเติมน้า หรือกลีเซอรีนน้อยไปทาให้เมื่อน้าระเหยหมด สบู่เหลวก็กลับไปเป็นสบู่ก้อนแข็ง ใหม่ ก็ไม่ต้องเป็นห่วงก็ให้นาสบู่ที่แข็งเป็นก้อนนั้นมาทาตามขั้นตอนใหม่ก็จะได้สบู่เหลวใช้ตอไป ่ เรื่อย ๆ จนกว่าจะหมด สูตรสบู่เหลวสาหรับล้างจาน ส่วนผสม ผงสบู่ 1 ถ้วยตวง น้า 3 ถ้วยตวง กลีเซอรีน 3-4 ช้อนโต๊ะ น้ามันมะนาว น้ามะนาว 1 ช้อนโต๊ะ สูตรสบู่เหลวสาหรับซักผ้า ส่วนผสม ผงสบู่ 1 ถ้วยตวง
  • 11. น้า 3 ถ้วยตวง บอแรกซ์ 2 ช้อนโต๊ะ วิธีการทา 1. เทน้ากับผงสบู่ลงในหม้อหรือชามสแตนเลส เอาขึนตั้งไฟปานกลางใช้ไม้พายคนจนสบู่ ้ ละลายหมด 2. เติมบอแรกซ์ลงไปคนจนบอแรกซ์ละลายหมด ปิดไฟทิงไว้ให้เย็น ้ 3. นาสบู่เหลวที่ได้บรรจุขวดที่มฝาปิด เก็บไว้ใช้ซักผ้า สามารถใช้ได้กับเครื่องซักผ้าทั่วไป ี ๒.๓ การทาสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ วัสดุ ๑. น้าหมักชีวภาพ ๕ ช้อนโต๊ะ ๒. น้า ๓ ลิตร ๓. ผงฟอง ( N ๗๐ ) ๒ ช้อนโต๊ะ ๔.ตะไคร้หั่นฝอย ๑๐ ต้น ๕. มะขามเปียก ครึ่งกิโลกรัม วิธีทา ๑. นาผงฟองมาละลายกับน้า ๒. นาน้ามาต้ม ใส่ตะไคร้ มะขามเปียกตอนเดือด ๓. เมื่อน้าเดือดยกลง ทิ้งไว้จนอุ่น กรองเอาแต่กากทิง ้ ๔. นาน้าที่ได้มาผสมกับผงฟองที่ละลายน้าแล้วคนให้ทั่ว ๕. เติมน้าหมักชีวภาพ
  • 12. ๘ ๒.๔ สมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ ขมิ้นชัน การใช้ขมิ้นชันเป็นยาทาภายนอก เพื่อ รักษาอาการแพ้ แก้อักเสบ ผื่นแดง แมลง สัตว์กัดต่อย ให้นาเหง้าขมินยาวประมาณ 2 นิว มาฝนกับน้าต้มสุก แล้วทาในบริเวณที่เป็น ้ ้ วันละ 3 ครั้ง หรือจะใช้ผงขมินโรยทาบริเวณที่มีอาการผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยก็ช่วยได้ ้ เช่นกัน ขมินจะช่วยให้ผวพรรณนุ่มนวลผ่องใสขึ้น แถมยังมีสรรพคุณป้องกันการงอกของขน ้ ิ ทาให้ผิวพรรณดูเกลียงเกลาละเอียด ้ ไพล ช่วยทาให้ผิวหนังชุ่มชื่น และเป็นยาช่วยสมานแผลด้วย ใช้เหง้าสด 1 แง่ง ฝานเป็นชิ้นบางๆ ใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เนื่องจากไพลมีน้ามันหอม ระเหย น้าคั้นจากเหง้า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าเมื่อย กระดังงาไทย แก้ลมวิงเวียน ชูกาลัง ทาให้รูสึกสดชื่น ปลอดโปร่ง ร่างกายแข็งแรงเสมอ ใบชา ทาให้เกิดความชุ่มชืน ชูกาลัง บารุงโลหิต ขับลม แก้อาการเสมหะ ้ ดอกจาปา แก้ลมวิงเวียนได้ดี แก้อ่อนเพลีย บารุงหัวใจ ลูกชุมเห็ดไทย ชูกาลัง ทาให้เกิดความชุ่มชืน และแก้อาการช้าบวม ้ รากมะกรูด แก้อาการเป็นลม แน่น จุกเสียด ถอนพิษ มะตูมสุก แก้ลมจุกเสียด แน่น แก้กระหายน้า ขับลม ช่วยย่อยอาหาร ดอกขิงแห้ง บารุงกาลังร่างกาย บารุงธาตุได้อีก แก้ออนเพลีย ่ บัวบก บารุงกาลัง บารุงหัวใจ รากมะนาว บารุงประสาท แก้อาการเป็นไข้ ทาให้กล้ามเนือไม่ปวดเมื่อยแต่แข็งแรงดี ้ กฤษณา บารุงกาลังร่างกาย แก้อาการเป็นลม หน้ามืดวิงเวียนได้ดีมาก
  • 13. ๙ แก่นขนุน บารุงกาลัง บารุงร่างกาย ไมยราบ บารุงประสาท กล่อมประสาท จิตใจสดชื่น ขี้เหล็ก ป้องกันการระบาย ช่วยจิตใจสดชื่น หลับสบาย ไม่เครียด ดอกกุหลาบ บารุงกาลัง บารุงหัวใจ สร้างความสดชื่นได้ดี ๒.๕ วิธีการเติมสมุนไพรลงในสบู่ มี 2 วิธี คือ - เติมในระหว่างกระบวนการทาสบู่ วิธีการนี้ ควรเติมสมุนไพรหลังจากกวนส่วนผสม ของสบู่เสร็จเรียบร้อยแล้ว การเติมควรเติมสมุนไพรก่อนเทสบู่ลงแบบ เป็นวิธีที่เหมาะสาหรับ สมุนไพรประเภทสกัดเป็นผงแอลกอฮอล์ และสกัดด้วยน้ามัน - ทาสบู่พ้ืนฐานขึนมาก่อน แล้วนามาหลอมใหม่ หลังจากนั้นจึงเติมสมุนไพรลงไป วิธี ้ นีเรียกว่า "การทาสบู่สองขั้นตอน" เหมาะสาหรับสมุนไพรที่สกัดด้วยการคั้นหรือการต้ม ้ สัดส่วนการเติมสมุนไพรลงในสบู่ - สมุนไพรผง ควรเติมในปริมาณ 1-5% ของน้าหนักสบู่ - สมุนไพรที่สกัดด้วยน้าต้มหรือน้าคั้น ควรเติมในปริมาณ 10% ของน้าหนักสบู่ และ ต้องลดในส่วนของน้าที่ใช้ละลายด่างออกในปริมาณที่เท่ากัน - สมุนไพรที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์ ควรเติมได้ไม่เกิน 10% ของน้าหนักสบู่ และหักลด ในส่วนของน้าที่ใช้ละลายด่างในปริมาณที่เท่ากัน เช่นเดียวกันกับสมุนไพรที่สกัดด้วยน้ามัน - สารเพิ่มคุณภาพสบู่ ส่วนใหญ่เติมเพื่อให้ความชุ่มชืน นั้นก็คือกลีเซอรีน ซึ่งในอุตสาหกรรม ้ ขนาดใหญ่จะแยกเกล็ดสบู่และกลีเซอรีนไว้ ในกรณีน้ีผผลิตสบู่เอง ไม่จาเป็นต้องเติม กลีเซอ ู้ รีน เพราะมีอยู่แล้วในสบู่ แต่หากต้องการคุณสมบัติเพิ่มขึน ก็อาจเติมได้ 5-10% เครื่องมือ ้ อุปกรณ์ในการผลิต อาจใช้อุปกรณ์ที่มอยู่มาประยุกต์ใช้ได้ทุกชิน ยกเว้นในขั้นตอนที่จะต้อง ี ้ สัมผัสกับโซดาไฟ ทุกขั้นตอนภาชนะที่ใช้ต้องหลีกเลี่ยงชนิดที่เป็นโลหะ หรืออลูมิเนียมเพราะ อาจเกิดการกัดกร่อนเสียหายทั้งภาชนะและคุณสมบัติบางประการของสบู่ ควรจะใช้ประเภท หม้อเคลือบสแตนเลสหรือแก้วทนไฟแทน
  • 14. ๑๐ ๒.๖ ส่วนผสมการทาสบู่เหลวสมุนไพร ๑. เอ็น 70 1 กิโลกรัม ๒. น้าสะอาด 1 กิโลกรัม ๓. น้าสมุนไพรสด 1 กิโลกรัม ๔. น้าจุลินทรีย์ 2 กิโลกรัม ๕. เกลือ 1 กิโลกรัม ๖. น้าผลไม้รสเปรียว (อย่างละ 10 ลูก) ้ 5 กิโลกรัม ๒.๗ วิธีการทาสบู่เหลวสมุนไพร นาเอ็ม 70 กวนในภาชนะเติมน้าเปล่าและเกลือสลับกันไป ทีละน้อยให้เข้าเป็นเนือ้ เดียวกัน จากนั้นค่อย ๆ เติมส่วนผสมอื่น ๆ ที่เหลือทีละน้อยจนครบทุกอย่าง โดยใช้ไม้พายกวน ไปในทิศทางเดียวกันจนเสร็จ เมื่อเติมส่วนผสมทุกอย่างแล้วให้กวนต่ออีกสักระยะเพื่อให้แน่ใจ ว่าส่วนผสมทุกอย่างเข้าเป็นเนือเดียวกัน ้ ๒.๘ การทาน้าสมุนไพรสดสาหรับสบู่เหลว 1. นาผลไม้ที่ใช้บารุงผิวเช่น แตงกวา มะเขือเทศ แอปเบิล ฯลฯ มาปั่นผสมน้าสะอาด แล้วกรองจะได้นาสมุนไพรสด ้ 2. สมุนไพรแห้งประเภทขมิ้นชัน ไพล หรือว่านต่าง ๆ ที่บารุงผิวรักษาผดผื่นคัน บดผสม น้าแล้วกรอง จะได้นาสมุนไพร ้ 3. น้าผึง นมสด หรืออื่น ๆ ที่เหมาะสาหรับการบารุงผิว เนื่องจากสูตรในการทาสบู่เหลวที่ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตมีหลากหลายสูตร อัตราส่ว น ของส่ ว นผสมแตกต่ า งกั น จึ ง ต้ อ งศึ ก ษาเรื่ อ งการวั ด และปริ ม าตรและน้ าหนั ก เพื่ อ เที ย บ อัตราส่วนให้ได้สบู่เหลวที่มีอัตราส่วนของส่วนผสมคงที่ โดยใช้การวัดปริมาตรและน้าหนัก ดังนี้ การวัดปริมาตรและน้าหนัก 1 ลิตร เท่ากับ 1, 000 หรือ 103 มิลลิลิตร 1 กรัม เท่ากับ 1, 000 หรือ 103 มิลลิกรัม 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1, 000 หรือ 103 กรัม
  • 15. ๑๑ ๒.๙ ส่วนประกอบสบู่เหลว SLES (หัวแชมพูออย) คือ sodium lauryl ether sulfate (SLES) หรือ sodium laureth sulfate มีคา LD50 (หนู) 1,600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีพษปานกลาง เป็นสารทาให้เกิดฟอง มักใช้ ่ ิ ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด และแชมพู อาจทาให้เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนัง หากเกิด อาการหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์ควรหยุดใช้ทันที ผงข้นคือ sodium chloride เพิ่มความเข้มข้นในการทาสบู่เหลว น้ายาล้างจาน ผงฟอง ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของผงฟองคือ (SODIUM LAURYL SULFATE) ชื่อทางเคมี เรียกว่า EMAL 10P หรือ เอ็น 70 คือTexapon N 70 Sodium Laureth Sulfate มีความเข้มข้น ประมาณ 70 % ผงฟอง (SLS – 90) คือ โซเดียม ลอริล ซัลเฟต หรือที่นิยมเรียกในชื่อย่อว่า เอสแอล เอส (Sodium Lauryl Sulfate :SLS) เป็นสารที่มีคุณสมบัติลดแรงตึงผิวของน้า ทาให้เกิดฟอง ช่วยให้สิ่งสกปรก คราบไขมันหลุดออกไปได้ง่ายขึ้น จึงเรียกง่ายๆ ว่าเป็น สารทาความสะอาด นิยมใช้ทั้งในวงการอุตสาหกรรมและเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์หลายประเภท เช่น ครื่องสาอาง น้ ายาล้ า งจาน (โดยใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพแตกต่ า งกั น ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการ นาไปใช้) เครื่องสาอางที่นิยมผสมสารนี้ ได้แก่ เครื่องสาอางที่ใช้แล้วล้างออกด้วยน้า เช่น สบู่ เหลว แชมพู ตลอดจนยาสีฟัน Citric acid (กรดมะนาว) Citric acid เป็น AHA ชนิดหนึ่ง (Alpha Hydroxy Acid) พบได้ในผลไม้บางชนิด เช่น มะนาว,สัปปะรด ประโยชน์ของ AHA ต่อผิวหนังโดยทั่วๆไปคือ ช่วยในการหลุดลอกของชันขี้ ้ ไคลด้านนอก, ทาให้ชั้นepidermisของผิวหนังหนาตัวขึน, ลดการสร้างเม็ดสี, มีฤทธิ์เป็น aniti- ้ oxidants (บางชนิด), เพิ่มการสร้างสาร collagen และ elastin ในผิวชั้นใน(dermis) ดังนันจะ ้ เกิดผลโดยรวมต่อผิวหนัง คือ ทาให้ผิวเรียบ ใส ชุ่มชื่น ขาวขึน ยืดหยุ่นมากขึ้น ลดริ้วรอยตืนๆ ้ ้ และลดขนาดรูขุมขนได้บ้าง อย่างไรก็ตามAHA ต่างชนิดกันจะมีฤทธิ์ต่อผิวหนังต่างกันไป และ ยังขึนอยู่กับความเข้มข้นของสาร AHA นั้นค่าความเป็นกรดด่างของระบบ และรายละเอียดอื่น ้ ๆ ของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ด้วย
  • 16. ๑๒ ผลข้างเคียงของสาร AHA ที่พบได้ เช่นมีการระคายเคืองเวลาทา คัน แสบ ผิวแห้งลง พบว่าAHA ลดค่า MED ของผิวหนัง หมายถึง ผิวทนต่อ UVB น้อยลง ดังนั้นควรทาครีมกันแดด และหลีกเลี่ยงแดด ก็จะสามารถใช้ AHA ให้ได้ประโยชน์เกิดผลข้างเคียงน้อยที่สุดค่ะ
  • 17. บทที่ ๓ ขั้นตอนการศึกษา ขั้นเตรียมการ ๑. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลวิธีการทาสบู่เหลวจากอินเทอร์เน็ต ๒. ศึกษาวิธีการทาจากคลิปวิดีโอ บนเว็บไซต์ยูทูป ๓. ศึกษาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรูภายในท้องถิ่น จากวิทยากร ้ ๔. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์สาหรับทาสบู่เหลว ๕. ลงมือปฏิบัติ ทดลองทาสบู่เหลว ๖. ปรับปรุงสูตรสบู่เหลวสมุนไพร ๗. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และฉลาก ๘. คิดต้นทุน และกาหนดราคาขาย ๙. สรุปผล และนาเสนอผลโครงงาน ๑๐. เผยแพร่โครงงานในวันวิชาการ สูตรสบู่เหลวที่ทาการทดลองครั้งแรก ๑. หัวแชมพูออย (SLES 28) ๑ ก.ก. ๒. ผงข้น (SODIUM Chloride) ๓๐๐ กรัม ๓. ผงฟอง (SLS – 90) ๑๐๐ กรัม ๔. กรดมะนาว (CITRID) ๓๐๐ กรัม ๕. น้าหอม (PERFUME) ๓๐ ซีซี ๖. น้า (WATER) ๔ ก.ก. ๗. สี (COLOR) ๘. สารกันเสียพอประมาณ
  • 18. ๑๔ วัสดุและอุปกรณ์ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และคลิปวิดีโอ
  • 19. ๑๕ วิธีทา นาหัวแชมพูออยและผงฟอง (ละลายน้าร้อนก่อน) คนให้เข้ากัน ผสมน้าหอมเติมน้าลง ไปคนให้เข้ากันแล้วใส่กรดมะนาว คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมสีและสารกันเสียตามต้องการ ค่อยๆ เติมผลข้นลงไปพอข้น ใช้ทาความสะอาดร่างกาย
  • 22. บทที่ ๔ ผลการศึกษาค้นคว้า ได้สูตรสบู่เหลวจากสมุนไพร ๓ ชนิด ได้แก่ ขมิน ไพล และน้าผึ้ง ดังนี้ ้ สูตรสบู่เหลวสมุนไพร ๑. หัวแชมพูออย (SLES 28) ๑ ก.ก. ๒. ผงข้น (SODIUM Chloride) ๓๐๐ กรัม ๓. ผงฟอง (SLS – 90) ๑๐๐ กรัม ๔. กรดมะนาว (CITRID) ๓๐๐ กรัม ๕. น้าหอม (PERFUME) ๓๐ ซีซี ๖. ไพล ๕๐๐ กรัม ๗. ขมิน ้ ๕๐๐ กรัม ๘. น้าผึ้ง ๒๕ กรัม ๙. น้า (WATER) ๓ ก.ก. ๑๐. สารกันเสียพอประมาณ วิธีทา นาหัวแชมพูออยและผงฟอง (ละลายน้าร้อนก่อน) คนให้เข้ากัน ผสมน้าสมุนไพร (ผง ไพล ผงขมินชัน ละลายน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง) ผสมน้าหอม และน้าผึ้ง เติมน้าลงไปคนให้ ้ เข้ากันแล้วใส่กรดมะนาว คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมสารกันเสียตามต้องการ ค่อยๆ เติมผงข้น ลงไปพอข้น ทิงไว้ให้ฟองยุบตัว จึงบรรจุใส่ขวด และปิดฉลาก พร้อมจาหน่ายใช้ทาความสะอาด ้ ร่างกาย
  • 23. ๑๙ การคิดราคาต้นทุน และตั้งราคาขาย ราคาทุน ๑. ชุดสบู่เหลว ๒ ชุด ๓๒๐ บาท ๒. ขวดแชมพู ๓๐ ซีซี จานวน ๑๒ ขวด ราคา ๙๖ บาท ๓. ขวดปั๊ม ๒๔๐ ซีซี จานวน ๑๒ ขวด ราคา ๒๑๖ บาท ๔. ขวดปั๊มระฆัง ๓๐๐ ซีซี จานวน ๑๒ ขวด ราคา ๒๔๐ บาท ๕. สมุนไพร ๓๐ บาท รวมราคาต้นทุน ๗๑๒ บาท การตั้งราคาขาย การทาสบู่เหลวสมุนไพร ใช้ตนทุนทั้งหมด ้ ๗๑๒ บาท ต้องการกาไร ๔๐ เปอร์เซ็นต์ (ผลิตสบู่เหลวสมุนไพรได้จานวน ๒๖ ขวด) การคิดกาไร = ๕๐x๗๑๒/๑๐๐ = ๒๘๔.๘๐ บาท นากาไร ๒๘๔.๘๐ บาท + ต้นทุน ๗๑๒ บาท เท่ากับ ๙๙๖.๘๐ บาท ๙๙๖.๘๐ บาท ÷ ๒๖ ขวด = ๓๘.๓๔ บาท ใช้กาหนดเป็นราคาขายขวดละ ๓๙ บาท
  • 24. บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการศึกษา การทาสบู่เหลวเป็นการฝึกทักษะหลายด้าน ทั้งยังเป็นการลงมือปฏิบัติจริง ได้ค้นคว้า ข้อมูล ความรู้อย่างกว้างขวาง ทาให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาสบู่เหลวแบบต่าง ๆ รวมถึง การออกแบบฉลาก บรรจุภัณฑ์ การคานวณต้นทุน เพื่อตั้งราคาขาย และการเทียบมาตราส่วน อีกทั้งนาความรูจากเรื่องที่ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงานสบู่เหลวที่ทา มาปรับปรุงสูตรโดย ้ เพิ่มสมุนไพรที่มประโยชน์ในการบารุงผิวพรรณ ได้แก่ ขมิ้น ไพล และน้าผึ้ง เป็นการบูรณาการ ี ได้อย่างหลากหลาย จากการทาโครงงานสบู่เหลวสมุนไพรนี้ นอกจากนักเรียนระดับชั้น ม.๓/๔ จะได้ ค วามรู้ ใ นด้ า นทฤษฎี ต่ า ง ๆ แล้ ว นัก เรี ย นยั งสามารถฝึก ลงมื อ ปฏิบั ติ จ ริ ง นาไปใช้ ใ น ชีวิตประจาวันได้ และสามารถจาหน่ายเพื่อเป็นอาชีพเสริม เพื่อการหารายได้ระหว่างเรียนอีก ทางหนึ่งด้วย จากการศึกษาพบว่า “สบู่เหลวสมุนไพร” ทาได้ไม่ยาก สามารถดัดแปลงได้หลายสูตร หลากหลายกลิ่นตามชอบ และคุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิด ทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือน สามารถทาใช้เองภายในครัวเรือน หากมีปริมาณมากพอ นาไปจาหน่ายเพื่อหารายได้ เสริมอีกทางหนึ่ง ๕.๒ ข้อเสนอแนะ - การกวนสบู่เหลว ให้กวนไปทางเดียวกัน เนือสบู่จะเนียน ้ - สามารถปรับเปลี่ยนส่วนผสมเป็นสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ได้หลากหลายชนิด ตาม ประโยชน์และสรรพคุณที่ผใช้ตองการ ู้ ้ ๕.๓ ปัญหาและอุปสรรค ต้นทุนราคาขวดมีราคาสูง ทาให้ราคาจาหน่ายค่อนข้างสูง ควรเลือกบรรจุภัณฑ์ที่ มี ราคาย่อมเยาว์เพื่อลดราคาต้นทุน แต่รูปลักษณ์ของขวดอาจไม่สวยงาม
  • 26. นักเรียนทดลองใช้ และประเมินความพึงพอใจ บรรจุภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ
  • 28. โครงงานบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๔ ครูที่ปรึกษาหลัก ครูศิริรัตน์ ปานสุวรรณ วัตถุประสงค์ ๑. ศึกษาประโยชน์ของสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมฯ และภาษาไทย ๒. ส่วนประกอบสบู่เหลว และการทดลองทาสบู่เหลวจากสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร์ ้ ๓. จัดจาหน่ายเพื่อหารายได้เสริม บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูการงานฯ ้ ๔. ศึกษาคาศัพท์เกี่ยวกับสบู่เหลว บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาต่างประเทศ ้ ๕. ศึกษาประโยชน์ของสบู่เหลวสมุนไพร บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ ๖. ออกแบบโลโก้ และบรรจุภัณฑ์บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลปะ ิ และการงานฯ (คอมพิวเตอร์) ๗. ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคมที่มต่อสบู่เหลวที่ ี ผลิตขึน และวิธีการคิดต้นทุน ราคาขาย กาไร ขาดทุน มาตราส่วน บูรณาการกับกลุ่มสาระ ้ การเรียนรูคณิตศาสตร์ฯ ้ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และ - คาศัพท์ - ประโยชน์ของ วัฒนธรรม สมุนไพร - ประโยชน์สมุนไพร วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ - ชื่อทางวิทยาศาสตร์ - การคานวณต้นทุน ราคา ของธัญพืข ขาย กาไร ขาดทุน - ป้ายนิเทศ - มาตราส่วน - ความพึงพอใจ สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ - สรรพคุณสมุนไพร - การออกแบบโลโก้ เทคโนโลยี - ประโยชน์สบู่เหลว - การจัดจาหน่าย - ออกแบบโลโก้
  • 29. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับนักเรียน เรื่อง สบู่เหลวสมุนไพร ชั้น ม.๓/๔ ความพอประมาณ ๑. รู้จักแบ่งเวลา ๒. รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓. รู้จักนาสมุนไพรไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ มีเหตุผล ๑. เชื่อมโยงความรูจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระฯ ้ ๒. สบู่เหลวเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทุกบ้านใช้ สามารถทาใช้เองได้ในครัวเรือน ๓. วัสดุอุปกรณ์ในการทามีในท้องถิ่น มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๑. ฝึกใช้ความคิดในการทาสบู่เหลวสมุนไพร การจัดจาหน่ายให้ได้กาไร ไม่ขาดทุน ใช้ต้นทุนต่า ๒. เกิดความรู้สกอยากประหยัดเงิน เพราะกว่าจะได้เงินมาต้องใช้ความมานะ และอดทน ึ เงื่อนไขความรู้ ๑. รู้จักนาความรูจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ้ ๒. นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เงื่อนไขคุณธรรม ๑. รู้จักรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. เรียนรู้ความสามัคคีจากการทางานเป็นกลุ่ม ๓. ขยันและกระตือรือร้นในงานที่ได้รับมอบหมาย ๔. มีวนัยต่อตนเองและผูอื่นในเรื่องต่าง ๆ ิ ้
  • 30. สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑. เพศ ชาย ร้อยละ ๓๓.๓๓ หญิง ร้อยละ ๖๖.๖๗ ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการใช้สบู่เหลวสมุนไพร จากการทดลองใช้สบู่เหลวสมุนไพร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด ร้อยละ ระดับความพึงพอใจ หมายเหตุ สบู่เหลวสมุนไพร มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ๑. กลิ่นสบู่เหลวสมุนไพร ๗๓.๓๓ ๒๖.๖๗ - - - ๒. รูปลักษณ์ของบรรจุ ๒๖.๖๗ ๗๓.๓๓ - - - ภัณฑ์สวยงาม ๓. สีสรรของสบู่เหลว ๔๖.๖๗ ๕๓.๓๓ - - - สมุนไพร ๔. การตังราคาขาย ้ ๔๐.๐๐ ๖๐.๐๐ - - - เหมาะสม ค่าเฉลี่ยรวม ๔๖.๖๗ ๕๓.๓๓ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม -
  • 31. แบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑. เพศ  ๑. ชาย  ๒. หญิง ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการใช้สบู่เหลวสมุนไพร ระดับความพึงพอใจ หมายเหตุ สบู่เหลวสมุนไพร มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ๑. กลิ่นสบู่เหลวสมุนไพร ๒. รูปลักษณ์ของบรรจุ ภัณฑ์สวยงาม ๓. สีสรรของสบู่เหลว สมุนไพร ๔. การตังราคาขาย ้ เหมาะสม ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................
  • 32. บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/lifequality4allu/sbu-helw/karthasbuhelw [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕] http://www.edoae.doae.go.th/doing%20soap_15-08-2008.pdf [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕] http://www.organicthailand.com/webboard_352697_1279_th?lang=en [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕] http://www.rcskinclinic.com/th/q-a-detail.aspx?id=10611 [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕] http://school.obec.go.th/nongpodang/knowlages.htm#PB16 [เข้าถึง ๒๖ ธ.ค. ๕๕] http://202.143.137.103/nfeforum/page7.html [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖] http://www.bansansuk.com/occupation/shower_cream/ [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖] http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=1 [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖] http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=2728.32 [เข้าถึง ๕ ม.ค. ๕๖] http://health.kapook.com/view42014.html [เข้าถึง ๖ ม.ค. ๕๖] http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_06_6.htm [เข้าถึง ๖ ม.ค. ๕๖]