การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม

Prasert Boon
Prasert Boonครูชำนาญการ โรงเรียนสวายวิทยาคาร
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
หน่วยที่ 3
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
กรอบแนวคิด : การนาหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียนอย่างมีคุณภาพนั้น ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญยิ่งในการออกแบบ
การเรียนรู้ที่เป็นระบบ มีองค์ประกอบสาคัญ ครบถ้วน สมบูรณ์ และ
ถูกต้องตามหลักวิชา
 จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล
 ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
เรื่องที่ 2 การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
เรื่องที่ 3 การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อกาหนดคาอธิบายรายวิชา
เรื่องที่ 4 การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
เรื่องที่ 5 การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
เรื่องที่ 6 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
เรื่องที่ 7 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
 กิจกรรม
1. ทดสอบก่อนการศึกษา
2 ศึกษาองค์ความรู้
3. ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน
4. ประเมินผลงานตามเกณฑ์ที่กาหนด
5. ทดสอบหลังการศึกษา
 การประเมินผล
1. ทดสอบ
2. ประเมินผลงานของตนเอง
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
2
เกณฑ์การประเมิน ได้ 0 คะแนน ถ้าไม่มีการเขียนตอบใดใด
ได้ 1 คะแนน ถ้าไม่ตรงตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้
ได้ 2 คะแนน ถ้าถูกต้องตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้เป็นบางส่วน
ได้ 3 คะแนน ถ้าถูกต้องตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้เป็นส่วนใหญ่
เรื่องที่ 1
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
กรอบแนวคิด : การออกแบบการเรียนรู้เป็นหน้าที่สาคัญประการหนึ่ง
ของครูผู้สอน ในการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ที่หลักสูตรสถานศึกษากาหนด การออกแบบ
การเรียนรู้เป็นศาสตร์ที่ต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบ ตามลาดับขั้นตอน
ที่เหมาะสม จึงจะนาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เริ่มตั้งแต่
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ของรายวิชาพื้นฐาน หรือ ผลการเรียนรู้ของรายวิชาเพิ่มเติม
1 รายวิชา จาแนกเป็นความรู้ที่ผู้เรียนจะต้องรู้ พฤติกรรมหรือทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้
รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน นาไป เรียบเรียงเขียนเป็นคาอธิบายรายวิชา
1 รายวิชา แล้วจึงนาคาอธิบายรายวิชานั้นไปกาหนดเป็นโครงสร้างรายวิชาเพื่อให้ได้จานวนหน่วยการเรียนรู้
ที่จะนาไปจัดการเรียนรู้ตลอดปี / ตลอดภาคเรียน จากนั้น จึงนาข้อมูลในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
ในโครงสร้างรายวิชา ไปกาหนดรายละเอียดเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานให้ครบจานวนหน่วยการเรียนรู้
ที่ได้กาหนดไว้ สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ควรเขียนต่อจากหน่วยการเรียนรู้เป็นรายหน่วย เพื่อตรวจสอบ
ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของหน่วยการเรียนรู้ที่กาหนด กรณีที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนข้อมูลหรือ
องค์ประกอบใด สามารถปรับเปลี่ยนได้ทันที แล้วจึงเริ่มกาหนดหน่วยการเรียนรู้หน่วยต่อไป ถ้าจัดลาดับ
ขั้นตอนของการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาอย่างเป็นระบบ จะได้ขั้นตอนการดาเนินงานดังต่อไปนี้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
3
1. กาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
2. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อนาไปสู่การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
3. เขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
4. กาหนดโครงสร้างรายวิชา
5. ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
6. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูนารายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ
รายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ที่ได้จัดการเรียนรู้ไปแล้วในภาคเรียนนี้
มาทบทวนขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้ว่าเป็นไปตามลาดับขั้นตอน
ที่นาเสนอหรือไม่ หากไม่เป็นไปตามนั้น ให้ระบุว่ายังขาดขั้นตอนใดบ้าง
ประเด็นคาตอบ : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
4
เรื่องที่ 2
การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
กรอบแนวคิด : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้สาหรับการนาไปสู่การออกแบบ
การเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานเท่านั้น ในส่วนของการออกแบบการเรียนรู้รายวิชา
เพิ่มเติม เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องกาหนดผลการเรียนรู้ขึ้นเอง
การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ปรับเปลี่ยนการกาหนดมาตรฐาน
การเรียนรู้ช่วงชั้นให้เป็นตัวชี้วัดชั้นปี / ช่วงชั้น ซึ่งตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางมีไว้เพื่อให้
ครูผู้สอนนาไปใช้สาหรับรายวิชาพื้นฐานเท่านั้น สาหรับรายวิชาเพิ่มเติมครูผู้สอนต้องกาหนด
“ผลการเรียนรู้” ขึ้นเองแทนการใช้ “ตัวชี้วัด” ที่จัดทาไว้สาหรับรายวิชาพื้นฐาน แนวการกาหนด
“ผลการเรียนรู้” สามารถดาเนินการได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1. พิจารณาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นฐานข้อมูล
ในการกาหนด “ผลการเรียนรู้” เพื่อพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
2. กาหนด “ผลการเรียนรู้” ขึ้นใหม่ โดยไม่อิงสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ใด
การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมที่มีความเป็นสากล
1. สาระการเรียนรู้ที่มีความเป็นสากล 4 เรื่อง สามารถพิจารณาได้จากวัตถุประสงค์และ
ขอบข่ายสาระที่ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ ซึ่ง คู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงาน
การมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) ได้กาหนดไว้
2. สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และ ภาษาต่างประเทศที่ 2 อาจพิจารณาโดยอิงตัวชี้วัด
และสาระการเรียนรู้แกนกลาง แต่กาหนด “ผลการเรียนรู้” ที่ต่อยอดเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้น
หรือ กาหนดผลการเรียนรู้ที่แตกต่างไปจากตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่แล้ว
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
5
การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมสาหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในกรณีที่เรียนต่อเนื่องกัน
ทั้งสองภาคเรียนใน 1 ปี ครูผู้สอนอาจกาหนดเป็น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ในขั้นแรกก่อนแล้วจึงวิเคราะห์
จาแนกเป็น ผลการเรียนรู้รายภาคเรียน ในขั้นต่อไป สาหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้กาหนดเป็น
ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ก่อน แล้วจึงนาไปวิเคราะห์จาแนกเป็น ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น รายภาคเรียน
ในลาดับต่อไป ในกรณีที่เป็นรายวิชาอิสระไม่ต่อเนื่องกัน สามารถกาหนดผลการเรียนรู้ในแต่ละภาคเรียน
ได้เลย แต่ต้องพิจารณาความยากง่าย หรือ ลาดับเนื้อหาที่ต้องเรียนก่อนหลังในแต่ละภาคเรียนด้วย
เมื่อกาหนดผลการเรียนรู้ได้แล้ว จากนั้นต้องกาหนดสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับผลการเรียนรู้ด้วย
องค์ประกอบของผลการเรียนรู้
องค์ประกอบของ “ผลการเรียนรู้” มีลักษณะเช่นเดียวกับ องค์ประกอบของตัวชี้วัดซึ่งประกอบ
ด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ และ ส่วนที่สองหรือส่วนที่ตามมา
คือ ความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ การเขียนผลการเรียนรู้แต่ละข้อ จึงมีลักษณะดังแผนภูมิ ต่อไปนี้
+
ลักษณะของผลการเรียนรู้
การกาหนดผลการเรียนรู้ สามารถดาเนินการโดยอิงแนวทางการจาแนกประเภทจุดประสงค์
ทางการศึกษาของบลูม ( Benjamin S. Bloom ) และคณะ ที่ได้จาแนกพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นจุดประสงค์
ทางการศึกษา ( Taxonomy of Educational Objectives) ออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain ) หรือ พฤติกรรมทางสมอง ที่แบ่งระดับเป็นพฤติกรรม
ด้านสติปัญญา หรือ ด้านความรู้และการคิด ประกอบด้วย ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสิ่งต่างๆและการทา
ความเข้าใจในสิ่งที่เป็นความรู้ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่าในสิ่งที่รู้
2. ด้านจิตพิสัย ( Affective Domain ) หรือพฤติกรรมด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วยการรับรู้
การตอบสนองและการสร้างคุณค่าในเรื่องที่ได้รับรู้ แล้วนาสิ่งที่มีคุณค่านั้นมาจัดระบบ สร้างเสริมพัฒนา
เป็นลักษณะนิสัยประจาตัว
3. ด้านทักษะพิสัย ( Psychomotor Domain ) หรือ พฤติกรรมด้านทักษะทางกาย หรือ พฤติกรรม
ด้านการปฏิบัติ ประกอบด้วยทักษะในการเคลื่อนไหว และการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
พฤติกรรมที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ ความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
6
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพ มุ่งพัฒนาพฤติกรรมในทั้ง 3 ด้าน แต่ละด้านจะมี
พฤติกรรมที่มีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ไว้ในลักษณะของมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้เป็นรายวิชา
พื้นฐานของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาหรับรายวิชาเพิ่มเติมที่ต้องกาหนดผลการเรียนรู้ขึ้นเอง ยึดหลักการ
เดียวกันกับการกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด คือ ต้องกาหนดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่นเดียวกัน
พฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน มีดังนี้
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย แบ่งเป็น 6 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นของกระบวนการทางปัญญา
ได้ดังนี้
ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม
1. ขั้นความรู้ ความจา บอก / ระบุ / ชี้ / จับคู่ / ฯลฯ
2. ขั้นเข้าใจ อธิบาย / แปลความ / นาเสนอ / ตีความ / ฯลฯ
3. ขั้นนาไปใช้ ใช้ / สร้าง / สาธิต / แก้ปัญหา / ดัดแปลง / ฯลฯ
4. ขั้นวิเคราะห์ จาแนก / เปรียบเทียบ / ให้เหตุผล /จัดประเภท / ฯลฯ
5. ขั้นสังเคราะห์ เขียน / ออกแบบ / วางแผน / แสดงเหตุผล / ฯลฯ
6. ขั้นประเมินค่า ประเมิน / วิพากษ์/ วิจารณ์ / ตัดสิน / โต้แย้ง / ฯลฯ
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นต่าสุดไปหาสูงสุด ดังนี้
ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม
1. ขั้นรับรู้ สังเกต / รับฟัง/ ฯลฯ
2. ขั้นตอบสนอง ยอมรับ / ตระหนัก/ เห็นประโยชน์ / เห็นคุณค่า /
พึงพอใจ / ปฏิบัติตาม /ชักชวน/ แนะนา/ ฝึกหัด/
โต้แย้ง/ ปฏิเสธ / สนับสนุน / ฯลฯ
3. ขั้นสร้างคุณค่า แสดงความคิดเห็น / ให้เหตุผล/ เปรียบเทียบ
ความสัมพันธ์ / เปรียบเทียบความแตกต่าง /ยอมรับ /
เลือก / ฯลฯ
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
7
ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม
4. ขั้นจัดระบบ สรุปขั้นตอน/ เรียบเรียง / จัดลาดับขั้นตอน /จัดระบบ
กาหนดแนวทาง /สร้างแนวปฏิบัติ / ฯลฯ
5. ขั้นสร้างลักษณะนิสัย นาไปปฏิบัติ / จัดทาใหม่ / เรียงเรียงใหม่ /
เปลี่ยนแปลง / ต่อเติม / แก้ไขปรับปรุง / พัฒนา
สร้างลักษณะนิสัย / สร้างบุคลิก / ฯลฯ
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นได้ดังนี้
ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม
1. ขั้นรับรู้ แสดงความสนใจ / สังเกต / ฯลฯ
2. ขั้นเตรียมพร้อม อธิบายขั้นตอน / ชี้แจงวิธีการ / เรียงลาดับขั้นตอน
/ ฯลฯ
3. ขั้นปฏิบัติตามแบบ ปฏิบัติตามขั้นตอน / ปฏิบัติตามตัวอย่าง/ ปฏิบัติตาม
คาแนะนา/ พูดตามแบบ / อ่านตามแบบ / เขียนตาม
แบบ / ฯลฯ
4. ขั้นทักษะ ปฏิบัติ ( โดยไม่มีแบบ) / สาธิตขั้นตอน / แสดง /
พูดสนทนา / เขียนสื่อสาร / ฯลฯ
5. ขั้นปฏิบัติอย่างชานาญ ปฏิบัติอย่างคล่องแคล่ว / สนทนาโต้ตอบ /
พูดอภิปราย / แสดงความคิดเห็น / นาเสนอเรื่องราว /
ฯลฯ
ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาภาษาฝรั่งเศส
กาหนดโดยอิงสาระการเรียนรู้ 4 สาระ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
1. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คู่มือการใช้งานต่างๆ คาบรรยาย และคาชี้แจง
2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว บทความ ประกาศ โฆษณา และบทร้อยกรองถูกต้อง
ตามหลักการอ่าน
3. ระบุ อธิบาย จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟังและ
อ่านจากสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ตามความสนใจ
สารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
8
4. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูล ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่าง
ต่อเนื่องและเหมาะสม
5. ขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และอ่าน
ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม
6. แสดงความรู้สึกความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ใน ท้องถิ่น
สังคมและโลก พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ
7. เลือกใช้ภาษา น้าเสียงและกริยาท่าทาง เหมาะกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
8. ใช้ภาษาในการสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา
ชุมชนและสังคม
9. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก รวบรวม วิเคราะห์ สรุปความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
10.อธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างของวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทย และนาไปใช้
อย่างมีเหตุผล
11.เข้าร่วม นาเสนอ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามโอกาสและความสนใจ
12. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ ประเทศชาติเป็นภาษาฝรั่งเศส
ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาทฤษฎีความรู้
กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง ทฤษฎีความรู้
จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 )
1. เข้าใจสถานการณ์ / บริบทในท้องถิ่น ชุมชน และสังคมใกล้ตัว
2. วิเคราะห์สภาพการณ์ / สถานการณ์ / บริบทในท้องถิ่น ชุมชน และสังคมใกล้ตัว
3. จาแนกระหว่างการให้เหตุผลดี เหมาะสม และเหตุผลที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม
4. วิเคราะห์และให้เหตุผล ความอคติ / ความลาเอียง / เกี่ยวกับอุบัติการณ์ของสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
5. ระบุความไม่สมเหตุสมผลของสถานการณ์ / สภาพการณ์ต่างๆ
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
9
ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาการเขียนความเรียงขั้นสูง
กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนความเรียงขั้นสูง
จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 )
1. เข้าใจรูปแบบการเขียนความเรียงขั้นสูง ประกอบด้วย วิธีการเขียนชื่อเรื่อง ( Title) และการกาหนด
ประเด็นปัญหา (Research Question) การเขียนคานา ( Introduction) การเขียนเนื้อเรื่อง
( Body of Knowledge)
2. สร้างวิธีการ หรือกระบวนการนาเสนอข้อมูลความคิดตามลาดับขั้นตอนโดยใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์
3. เขียนสื่อความให้ผู้อ่านเข้าใจความเป็นมาของชื่อเรื่อง ความน่าสนใจของเรื่องที่เขียน คุณค่าของ
การศึกษาเรื่องที่เขียน ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา บริบทของเรื่องที่เกี่ยวข้อง
การกาหนดประเด็นปัญหาของเรื่องที่ศึกษา และการใช้ภาษาที่สื่อความหมาย
4. เขียนและเรียบเรียงความคิด ข้อคิดเห็น การใช้ข้อเสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาการสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์
กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์
จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 )
1. สร้างโครงงานโดยใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน (Creativity)
2. ปฏิบัติตามโครงงานที่สร้างขึ้น (Actions)
3. จัด หรือ เข้าร่วมกิจกรรมบริการสังคม (Service)
ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาโลกศึกษา
กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์
จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 )
สาระที่ 1 การเป็นพลโลก ( Global Citizenship)
1. เข้าใจแนวคิดและความจาเป็นของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความรับผิดชอบ
2. วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดที่แตกต่างซึ่งส่งผ่านสื่อและแหล่งข้อมูลต่างๆ
3 ศึกษาเรียนรู้บทบาทของสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวของโลก
4. พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการและจุดที่ประเด็นสาคัญได้รับการตัดสินใจ
5. ตระหนักและแสดงออกถึงความรับผิดชอบที่มีต่อสิ่งต่างๆ ของโลก
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
10
6. ตระหนักถึงความสาคัญของบริบทโลก ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และการตัดสินใจทั้งใน
ระดับ บุคคลและระดับสังคม
7. เข้าใจบทบาทของภาษา ขนบธรรมเนียม สถานที่ ศิลปะ ศาสนา ของตนเองและผู้อื่นในโลก
สาระที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ( Conflict Resolution)
1. เข้าใจธรรมชาติของความขัดแย้ง ผลกระทบของการพัฒนาและเหตุผลความจาเป็นของ
การแก้ปัญหา และการส่งเสริมความกลมเกลียว
2. มีความรู้เกี่ยวกับตัวอย่างความขัดแย้งต่างๆ ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับนานาชาติ และ
วิธีการแก้ปัญหาหลากหลายวิธี
3. เข้าใจทางเลือกและผลที่ตามมาต่อผู้อื่นในสภาวะความขัดแย้ง
4. เข้าใจความสาคัญของการสนทนา การโต้ตอบ การเสวนา การให้อภัย การเคารพ และ
ความเอื้ออาทร
5. พัฒนาทักษะการสื่อสาร การแก้ต่างการเจรจา การประนีประนอม และการให้ความร่วมมือ
6. เห็นคุณค่าของความขัดแย้ง สามารถแสดงความคิดเห็นและดาเนินการให้เป็นกระบวนการ
สร้างสรรค์ศักยภาพ
7. เข้าใจรูปแบบลัทธิเผ่าพันธุ์
8. เข้าใจถึงความขัดแย้งที่มีผลกระทบต่อประชาชน รู้จักประเทศ พื้นที่ สิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น
และระดับโลก
สาระที่ 3 ความเป็นธรรมทางสังคม (Social Justice)
1. เรียนรู้และเข้าใจความสาคัญของความถูกต้องทางสังคมซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
และการส่งเสริมความผาสุกของประชาชนทั้งมวล
2. เห็นคุณค่าความถูกต้องทางสังคมและเข้าใจความสาคัญเพื่อมั่นใจในความเสมอภาค ความถูกต้อง
ความโปร่งใส สาหรับทุกคนในสังคมเดียวกันระหว่างสังคม
3. รู้จักผลกระทบของอานาจที่ไม่เสมอภาค เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีโอกาสที่เท่าเทียม
สาระที่ 4 ค่านิยมและการตระหนักรับรู้สภาพการณ์ ( Value and Perception )
1. รู้จักประเมินวิกฤติในระดับกระแสโลก และ
2. การซาบซึ้งถึงผลกระทบที่มีต่อประชาชนด้านเจตคติและการเห็นคุณค่า
3. เข้าใจและเห็นคุณค่า มีเจตคติต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน
4. เข้าใจและเห็นคุณค่าสิทธิมนุษยชน
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
11
สาระที่ 5 การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)
1. มีความรู้และเข้าใจความจาเป็นในการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยไม่ทาลายโลก
2. รู้จักอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อคนรุ่นหลัง
3. ตระหนักในประโยชน์และคุณค่าของแหล่งธรรมชาติที่มีจากัด
4. มีความรู้ และรับผิดชอบในความต่อเนื่อง และสัมพันธ์กันระหว่างสังคม เศรษฐกิจ และ
สภาพแวดล้อม
5. ชื่นชมและเห็นความสาคัญของการใช้ทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง ด้วยการคิดใหม่ ประหยัด
ลดการใช้ นากลับมาใช้ใหม่ ใช้หมุนเวียน ซ่อมแซม และการใช้วัสดุที่มีกระบวนการจัดการ
ทรัพยากรอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ
สาระที่ 6 สิทธิมนุษยชน ( Human Rights)
1. มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน รวมถึงสนธิสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็กและเยาวชน
2. เห็นความสาคัญและให้คุณค่าของสิทธิมนุษยชนในทุกระดับ
3. เข้าใจในสิทธิและความรับผิดชอบ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับโลก และความสัมพันธ์
ระหว่างโลกกับชุมชน
4. ตระหนักและเข้าใจในการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้านสิทธิมนุษยชน
5. เข้าใจสิทธิมนุษยชนที่ใช้เป็นกรอบหลักสาหรับการแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน
6. เข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับการประชุมขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็กและเยาวชน
คาประกาศด้านสิทธิมนุษยชนของยุโรป และกฎหมายสิทธิมนุษยชนของบางสิ่งบางอย่าง
ที่ไม่ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรม
สาระที่ 7 การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence)
1. ได้เรียนรู้การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างคน ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจและสังคมซึ่งมีผลต่อความสัมพันธ์ระดับชุมชนโลก
2. เข้าใจผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์และทางเลือกที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ ทั้งระดับบุคคล
จนถึงระดับโลก
3. ตระหนักและซาบซึ้งในความเชื่อมโยงของชีวิตของผู้คนทุกระดับในสังคม
4. ตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
ศิลปวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
5. รู้จักเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน มีความรู้ ความเข้าใจสังคมโลกและหน้าที่
ของพลเมืองในสังคมโลก
6. เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและลบที่เกิดขึ้นจากมติขององค์การสหประชาชาติที่มีผลต่อคุณภาพ
ชีวิตของคนทั่วโลก
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
12
สาระที่ 8 ความหลากหลาย (Diversity)
1. เรียนรู้ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างและความสัมพันธ์ของมนุษยชาติ
2. ตระหนักในธรรมชาติ ปรากฏการณ์รอบตัวในบริบทของสิทธิมนุษยชน
3. เข้าใจความสาคัญของการยอมรับความแตกต่างด้านขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณี
กระบวนการและวิธีการจัดการของแต่ละสังคม
4. พัฒนาและตระหนักถึงความแตกต่างหรือความหลากหลายของเผ่าพันธุ์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
บนพื้นโลก
5. เห็นคุณค่าของความแตกต่างด้านชีวภาพ ตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อ
วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม
6. ตระหนักถึงแนวคิดต่อเรื่องราวต่างๆ เข้าใจความหลากหลาย และความแตกต่าง และยอมรับ
ผลกระทบของสิ่งเหล่านั้น
ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูกาหนด “ผลการเรียนรู้” ในรายวิชาเพิ่มเติม
ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ 1 รายวิชา 1 ภาคเรียน
โดยวิเคราะห์จาก ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ให้เป็นผลการเรียนรู้ชั้นปี
หรือผลการเรียนรู้รายภาค ให้เหมาะสมกับระดับชั้น และจานวนเวลา
ที่โรงเรียนกาหนดให้
ประเด็นคาตอบ : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
13
เรื่องที่ 3
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา
กรอบแนวคิด : ผลการเรียนรู้ คือ สิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้ และต้องปฏิบัติได้
ในรายวิชาเพิ่มเติม เช่นเดียวกับตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน ผลการเรียนรู้มีไว้
เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนในรายวิชาเพิ่มเติมที่โรงเรียนกาหนดขึ้น
ตามบริบท จุดเน้นของโรงเรียน หรือตามความต้องการของผู้เรียน
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้
การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ เป็นการวิเคราะห์เพื่อค้นหา จาแนก สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และ
ต้องปฏิบัติได้ ดังนั้น เมื่อครูผู้สอนได้กาหนด ผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมในภาคเรียนที่รับผิดชอบแล้ว
ต่อจากนั้น จะต้องนาผลการเรียนรู้แต่ละข้อ ไปวิเคราะห์ จาแนกเป็นความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ พฤติกรรม
หรือ ทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ ไปสู่สมรรถนะสาคัญที่คาดว่าผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน
ไปจนถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวของผู้เรียน ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ในลักษณะ
เดียวกันกับการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐาน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลประกอบ
การเขียนคาอธิบายรายวิชา ในขั้นต่อไป การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธี วิธีที่โรงเรียน
ส่วนใหญ่นิยมใช้ คือ การนาผลการเรียนรู้มาวิเคราะห์องค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ ที่นาไปสู่สมรรถนะ
สาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน โดยใช้ตาราง ดังนี้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
14
(ตัวอย่าง ) การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม (ภาษาฝรั่งเศส)
ข้อที่ ผลการเรียนรู้
ผู้เรียนรู้อะไร/
ทาอะไรได้
นาไปสู่
สมรรถนะสาคัญ
ของผู้เรียน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
1 ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ
ง่ายๆ
 สิ่งที่ต้องรู้
คาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ
 พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้
ปฏิบัติตาม
ความสามารถใน
การสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้
2 ระบุตัวอักษรและเสียง  สิ่งที่ต้องรู้
ตัวอักษรและเสียง
 พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้
ระบุ
ความสามารถใน
การสื่อสาร/
ความสามารถใน
การคิด
ใฝ่เรียนรู้
3 เลือกภาพตรงกับ
ความหมายของคา
และกลุ่มคาที่ฟัง
 สิ่งที่ต้องรู้
ความหมายของคาและกลุ่มคา
 พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้
เลือกภาพตรงกับความหมาย
ความสามารถใน
การสื่อสาร/
ความสามารถใน
การคิด
ใฝ่เรียนรู้
4 อ่านออกเสียงคา
กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ
และสะกดคาง่ายๆ
ถูกต้องตามหลักการ
อ่าน
 สิ่งที่ต้องรู้
คา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ
คาง่ายๆ
 พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้
อ่านออกเสียง / สะกดคา
ความสามารถใน
การสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้
5 เขียนคา กลุ่มคา
ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้
สัมพันธ์กับสื่อที่เป็น
ความเรียงและไม่ใช่
ความเรียง
 สิ่งที่ต้องรู้
คา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ที่
สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียง
และไม่ใช่ความเรียง
 พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้
เขียน
ความสามารถใน
การสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้
ฯลฯ
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
15
ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูนาผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมที่ได้กาหนด
ไว้ในชั้นปี หรือ 1 ภาคเรียน มาวิเคราะห์ว่าผู้เรียนควรรู้เรื่องใด
ควรปฏิบัติสิ่งใดได้บ้าง และผลการเรียนรู้แต่ละข้อ นาไปสู่สมรรถนะ
สาคัญข้อใดบ้าง ผู้เรียนควรมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง
จากการเรียนรู้รายวิชานี้
ประเด็นคาตอบ : บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
16
เรื่องที่ 4
การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
กรอบแนวคิด : คาอธิบายรายวิชา เป็นขอบข่ายขององค์ความรู้ ทักษะ/
กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สาคัญของผู้เรียน
ที่ครูผู้สอนหลอมรวมเขียนเป็นความเรียงในรูปแบบที่กาหนด มีประโยชน์ไว้
เพื่อเป็นข้อกาหนดสาหรับผู้เรียนว่าจะได้เรียนรู้สิ่งใด ฝึกทักษะ/กระบวนการใด
และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด และเป็นกรอบแนวทางสาหรับครูผู้สอน
ที่จะได้นาไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรายวิชานั้น
การจัดทาคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คาอธิบายรายวิชา เป็นขอบข่ายขององค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่สาคัญของผู้เรียน ในภาพโดยรวมของหนึ่งรายวิชา ที่ผู้สอนเรียบเรียงมาจากการวิเคราะห์จาแนก
ตัวชี้วัดของรายวิชาพื้นฐาน 1 รายวิชา หรือ ผลการเรียนรู้ 1 รายวิชา หลอมรวมเป็นความเรียงในรูปแบบ
ที่กาหนด เพื่อนาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนในรายวิชานั้น ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ที่ได้กาหนดขึ้น
ประโยชน์ของคาอธิบายรายวิชามี 2 ประการ คือ
1. เพื่อเป็นข้อกาหนดว่าในรายวิชานั้น ผู้เรียนจะได้เรียนรู้องค์ความรู้ ได้ฝึกทักษะ/กระบวนการ
และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สาคัญประการใดบ้าง
2. เพื่อเป็นกรอบแนวทางให้ครูผู้สอนได้นาไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
การเขียนคาอธิบายรายวิชาจะต้องหลอมรวมข้อมูลแล้วเรียบเรียงเป็นความเรียงที่กระชับได้ใจความ
ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามตัวชี้วัดที่หลักสูตร
กาหนดในรายวิชาพื้นฐาน และตามผลการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนกาหนดขึ้นในรายวิชาเพิ่มเติม ดังนั้น คาอธิบาย
รายวิชา ต้องสะท้อนตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น เป็นรายปีสาหรับระดับประถมศึกษา และ
เป็นรายภาคเรียนสาหรับระดับมัธยมศึกษา
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
17
องค์ประกอบสาคัญของคาอธิบายรายวิชา จาแนกได้ 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลทั่วไปของรายวิชา ประกอบด้วย
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน หรือ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา............ ชื่อรายวิชา…………..…
กลุ่มสาระการเรียนรู้.................... ชั้น....... ภาคเรียนที่.........จานวน........ ชั่วโมง จานวน.........หน่วยกิต
ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่แสดงขอบข่ายเนื้อหาสาระซึ่งประกอบด้วย องค์ความรู้ ที่ผู้เรียนจะได้
ศึกษาเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ผู้เรียนจะต้อง
ประพฤติปฏิบัติ จากการเรียนรู้ในรายวิชานั้น โดยมีหลักการเขียนแสดงข้อมูลตามลาดับ ดังนี้
1. ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใด
2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติทักษะ / กระบวนการ หรือแสดงพฤติกรรมใด
3. ผู้เรียนจะมีคุณลักษณะอังพึงประสงค์ใด ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ/ หรือ ตามธรรมชาติของวิชาที่กาหนด
ส่วนที่ 3 เป็นส่วนที่ระบุรหัสตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ทั้งหมดในรายวิชานั้น
แนวการเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม มีขั้นตอนดังนี้
1. พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ชั้นปีในระดับประถมศึกษา หรือ ผลการเรียนรู้
รายภาคสาหรับมัธยมศึกษา จากตารางวิเคราะห์ที่ได้ดาเนินการไว้แล้ว
2. จัดกลุ่มผลการเรียนรู้ ให้ได้3 กลุ่ม ตามลาดับ ดังนี้
กลุ่มที่ 1 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ที่ผู้เรียนจะได้ศึกษาเรียนรู้ และมีความเชื่อมโยง
สัมพันธ์กันตามความยากง่าย หลอมรวมและเรียบเรียง เขียนเป็นความเรียงตามลาดับก่อนหลังของเนื้อหา
กลุ่มที่ 2 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับทักษะ กระบวนการ ที่ครูผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติใน
รายวิชานั้น ควรขึ้นต้น ส่วนที่ 1 นี้ด้วยคาว่า “โดยใช้กระบวนการ ...........” แล้วระบุทักษะ หรือ
กระบวนการใหญ่ ๆ ที่ผู้สอนจะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยไม่จาเป็นต้องระบุขั้นตอน
ย่อยๆ ในแต่ละกระบวนการไว้ เพราะไม่มีความจาเป็น
กลุ่มที่ 3 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามธรรมชาติของรายวิชา และ/หรือ
ตามคุณลักษณะ 8 ประการที่หลักสูตรแกนกลาง ฯ ได้กาหนดไว้ ข้อความส่วนนี้ อาจขึ้นต้นด้วยคาว่า
“เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด / เพื่อให้เป็น ................” นอกจากนี้ ครูผู้สอนสามารถระบุ สมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียนที่เกี่ยวข้อง จากการจาแนกผลการเรียนรู้ที่นาไปสู่สมรรถนะนั้นๆ ในตารางการวิเคราะห์ผลการ
เรียนรู้ที่ได้ดาเนินการไว้แล้ว เพื่อเป็นการเน้นย้ากรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
3. เขียนเรียบเรียงข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม ตามรูปแบบของคาอธิบายรายวิชา
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
18
รูปแบบของการเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา นาเสนอไว้
มี 2 รูปแบบ สาหรับให้โรงเรียนเลือกได้ตามความเหมาะสม ดังนี้
คาอธิบายรายวิชา รูปแบบที่ 1
รหัสวิชา …….. ชื่อรายวิชา…………..
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้………………
ชั้น……........... ภาคเรียนที่ เวลา …….. ชั่วโมง (จานวนหน่วยกิต)
(เขียนเป็นความเรียงให้ได้ใจความว่าผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร
สามารถทาอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและธรรมชาติของวิชา)
( กลุ่มที่ 1) ....................................................................................................
............................................................................................................... ..........
..........................................................................................................................
(กลุ่มที่ 2 ) โดยใช้กระบวนการ ....................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
(กลุ่มที่ 3) เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด/ เพื่อให้เป็น................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
1...............................
2...............................
3...............................
รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู้
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
19
คาอธิบายรายวิชา รูปแบบที่ 2
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
รหัสวิชา …….. ชื่อรายวิชา………… กลุ่มสาระการเรียนรู้………………
ชั้น……........... ภาคเรียนที่ เวลา …….. ชั่วโมง (จานวนหน่วยกิต)
(เขียนเป็นความเรียงให้ได้ใจความว่าผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร
สามารถทาอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและธรรมชาติของวิชา)
( กลุ่มที่ 1) ....................................................................................................
............................................................................................................... ..........
..........................................................................................................................
(กลุ่มที่ 2 ) โดยใช้กระบวนการ ....................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
(กลุ่มที่ 3) เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด/ เพื่อให้เป็น................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
1...............................
2...............................
3...............................
รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู้
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
20
( ตัวอย่างคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม)
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ฝ20201 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาฝรั่งเศส)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ ระบุตัวอักษรและเสียง เลือกภาพตรงกับความหมายของคา และ
กลุ่มคาที่ฟัง อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ และสะกดคาง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เขียนคา
กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง พูดโต้ตอบด้วยคาและ
ประโยคสั้นๆง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง พูดและทาท่าทาง
ประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่
ของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิด
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และความเพลิดเพลินสนุกสนาน สามารถใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้
เหมาะสมกับระดับบุคคลและกาลเทศะ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน
ผลการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ
2. ระบุตัวอักษรและเสียง
3. เลือกภาพตรงกับความหมายของคา และกลุ่มคาที่ฟัง
4. อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ และสะกดคาง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
5. เขียนคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง
6. พูดโต้ตอบด้วยคาและประโยคสั้นๆง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง
7. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
8. พูดและทาท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
9. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา
รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
21
ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูเขียนนาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ไว้ในตาราง
วิเคราะห์ผลการเรียนรู้มาหลอมรวมเรียบเรียงเขียนเป็นคาอธิบายรายวิชา
เพิ่มเติมที่รับผิดชอบ 1 รายวิชา ใน 1 ภาคเรียน โดยใช้รูปแบบใด
รูปแบบหนึ่งให้สอดคล้องกับรูปแบบที่โรงเรียนเลือกใช้
ประเด็นบันทึก : บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
22
เรื่องที่ 5
การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
กรอบแนวคิด : โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเป็นการกาหนดกรอบขอบข่ายของ
รายวิชาเพิ่มเติมที่จะจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของรายวิชา
ประกอบด้วยจานวนหน่วยการเรียนรู้ หัวข้อเรื่อง ผลการเรียนรู้ และสาระสาคัญ
ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ และสัดส่วนการเก็บคะแนน
ของรายวิชา การจัดทาโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมจะช่วยให้ครูผู้สอนเห็นความ
สอดคล้องเชื่อมโยงของลาดับการเรียนรู้ และภาพรวมของรายวิชานั้นอย่างชัดเจน
การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
เมื่อได้คาอธิบายรายวิชา 1 รายวิชา เรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนต้องนาคาอธิบายรายวิชา
มากาหนดเป็นโครงสร้างรายวิชา เพื่อกาหนดจานวนหน่วยการเรียนรู้ จานวนเวลาเรียน ก่อนที่จะนาไป
จัดการเรียนรู้ตลอดปีสาหรับชั้นประถมศึกษา และตลอดภาคเรียนสาหรับชั้นมัธยมศึกษา รวมไปถึง
การกาหนดเวลาการสอบกลางปี / กลางภาค ปลายปี / ปลายภาค และน้าหนักคะแนน อีกด้วย
การกาหนดโครงสร้างรายวิชา จึงเป็นการกาหนดขอบข่ายของรายวิชาที่จะจัดสอนเพื่อช่วยให้
ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง เห็นภาพรวมของแต่ละรายวิชาว่า ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ จานวนเท่าใด
เรื่องใดบ้าง แต่ละหน่วยพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุตัวชี้วัดใด เวลาที่ใช้จัดการเรียนการสอน และสัดส่วนการเก็บ
คะแนนของรายวิชานั้นเป็นอย่างไร การจัดทาโครงสร้างรายวิชาจะช่วยให้ครูผู้สอนเห็นความสอดคล้อง
เชื่อมโยงของลาดับการเรียนรู้ของรายวิชาหนึ่ง ๆ ว่าครูจะสอนอะไร ใช้เวลาสอนเรื่องนั้นเท่าไร และ
จัดเรียงลาดับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างไร ทาให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชาอย่างชัดเจน
องค์ประกอบโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชา มีองค์ประกอบหลักที่สาคัญ ดังนี้
- ลาดับที่ ของหน่วยการเรียนรู้
- ผลการเรียนรู้ ที่เป็นเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนสาหรับหน่วยนั้นๆ
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จะต้องสะท้อนให้เห็นสาระสาคัญของหน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ
เหมาะสมกับวัย มีความหมายและสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
23
- สาระสาคัญ เป็นความรู้ ความคิด ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง หรือความรู้ที่เป็นแก่น
เป็นหลักการของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการหลอมรวมของผลการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น
- เวลา การกาหนดเวลาเรียนควรมีความเหมาะสมและเพียงพอกับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถตามที่ระบุไว้ในผลการเรียนรู้ และควรพิจารณาในภาพรวม
ของทุกหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชานั้น ๆ ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม
- น้าหนักคะแนน การกาหนดน้าหนักคะแนนเป็นส่วนช่วยให้เห็นทิศทาง การจัดเวลา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ให้สอดคล้องกับความสาคัญของผลการเรียนรู้ในหน่วย
การเรียนรู้นั้นว่าเป็นผลการเรียนรู้ที่เป็นองค์ความรู้ / ประสบการณ์พื้นฐานในการต่อยอดความรู้หรือ
พัฒนาการเรียนรู้ในเรื่องอื่น ๆ หรือพิจารณาจากศักยภาพผู้เรียน ธรรมชาติวิชา ฯลฯ
ตัวอย่างโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชา
รหัสวิชา .................... ชั้น ...................... ( ภาคเรียนที่ ...............) เวลา ............. ชั่วโมง
อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับปลายภาค ...... : ……...
ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
( .........
)
1
2
3
สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางภาค)
4
5
6
สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค)
รวม
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
24
ภาระงาน: ขอให้เพื่อนครูนาคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมมากาหนดเป็น
โครงสร้างรายวิชาตลอดภาคเรียน ตามรูปแบบที่กาหนดให้
ประเด็นบันทึก : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
25
เรื่องที่ 6
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
กรอบแนวคิด : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กาหนดให้ครูผู้สอนดาเนินการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
(Standard – based Unit) โดยใช้รูปแบบ Backward Design
ซึ่งเป็นการดาเนินงานที่มีขั้นตอน 3 ประการ คือ การกาหนดเป้ าหมาย
การเรียนรู้ การกาหนดหลักฐานการเรียนรู้ และการออกแบบกิจกรรม
ซึ่งทุกขั้นตอนต้องเชื่อมโยงสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน อย่างเป็นเหตุเป็นผล
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
เมื่อได้กาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเรียบร้อยแล้ว จากนั้นครูผู้สอนจะต้องนาข้อมูลแต่ละ
หน่วยการเรียนรู้ ไปออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่กาหนดให้ครูผู้สอนดาเนินการออกแบบ หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
(Standard – based Unit) โดยใช้รูปแบบ Backward Design ซึ่งเป็นการออกแบบที่มีขั้นตอน 3 ประการ
คือ การกาหนดเป้ าหมายการเรียนรู้ การกาหนดหลักฐานการเรียนรู้ และการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
โดยเริ่มต้นจากการกาหนดเป้ าหมายปลายทางซึ่งเป็นคุณภาพผู้เรียนที่คาดหวังเป็นจุดเริ่มต้น แล้วจึงคิด
ออกแบบองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อนาไปสู่จุดหมายปลายทางที่กาหนด และทุกขั้นตอนของ
กระบวนการออกแบบต้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
1 de 41

Recomendados

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์ por
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
29.4K vistas6 diapositivas
แบบประเมินทักษะกระบวนการ por
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
60.7K vistas4 diapositivas
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก por
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
13.6K vistas26 diapositivas
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5 por
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ณัฐพล บัวพันธ์
98.6K vistas172 diapositivas
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ por
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
77.8K vistas2 diapositivas
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่... por
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
22.2K vistas2 diapositivas

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน por
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
19.7K vistas38 diapositivas
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ por
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบครูนิรุต ฉิมเพชร
50.5K vistas27 diapositivas
แบบประเมินผลชิ้นงาน por
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
76.7K vistas1 diapositiva
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น por
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
89.2K vistas36 diapositivas
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5 por
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
38.6K vistas16 diapositivas
แบบประเม น por
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม นไชยา แก้วผาไล
12.9K vistas5 diapositivas

La actualidad más candente(20)

แบบประเมินผลชิ้นงาน por pacharawalee
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee76.7K vistas
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น por KruNistha Akkho
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho89.2K vistas
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5 por Wuttipong Tubkrathok
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok38.6K vistas
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว por Adithun Sukprasert
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
Adithun Sukprasert44.2K vistas
หัวกระดาษข้อสอบ por worapanthewaha
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha54.6K vistas
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA por ณัฐพล แสงทวี
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ฟังก์ชันเชิงเส้น por Y'Yuyee Raksaya
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
Y'Yuyee Raksaya94.5K vistas
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ por krupornpana55
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana5533.5K vistas
ข้อสอบอัจฉริยะ por Kodchaporn Siriket
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket66.8K vistas
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1 por พัน พัน
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน31.9K vistas
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี por website22556
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website2255669.6K vistas
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e por kroojaja
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja4.5K vistas
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA) por Napadon Yingyongsakul
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul388.7K vistas
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล por Wichai Likitponrak
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
Wichai Likitponrak11.4K vistas
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต por sripayom
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom119.5K vistas
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ por Aomiko Wipaporn
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn55.1K vistas
กระดาษคำตอบ20ข้อ por wisheskerdsilp
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp5K vistas

Destacado

โครงสร้างหลักสูตรมัธยม por
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
138.3K vistas3 diapositivas
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน por
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านWanida Keawprompakdee
21.7K vistas18 diapositivas
แผนการสอน Reading por
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน ReadingSuccess SC Slac
11.5K vistas14 diapositivas
แผนการอ่าน por
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่านSerena Sunisa
9K vistas22 diapositivas
Reading for comprehension por
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehensionruttiporn
35K vistas66 diapositivas
Reading Lesson Plan por
Reading Lesson PlanReading Lesson Plan
Reading Lesson PlanMaenie Nrm
5.5K vistas36 diapositivas

Destacado(14)

โครงสร้างหลักสูตรมัธยม por wangasom
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
wangasom138.3K vistas
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน por Wanida Keawprompakdee
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
Wanida Keawprompakdee21.7K vistas
แผนการสอน Reading por Success SC Slac
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน Reading
Success SC Slac11.5K vistas
แผนการอ่าน por Serena Sunisa
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่าน
Serena Sunisa9K vistas
Reading for comprehension por ruttiporn
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehension
ruttiporn35K vistas
Reading Lesson Plan por Maenie Nrm
Reading Lesson PlanReading Lesson Plan
Reading Lesson Plan
Maenie Nrm5.5K vistas
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม por Kruthai Kidsdee
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
Kruthai Kidsdee85.6K vistas
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ por Chicharito Iamjang
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
Chicharito Iamjang14.2K vistas
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ por Kritsadin Khemtong
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
Kritsadin Khemtong127.4K vistas
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ por Alis Sopa
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
Alis Sopa18.7K vistas
แผนการสอน (เพิ่มเติม) por Kruthai Kidsdee
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
Kruthai Kidsdee86.6K vistas
สามัคคีเภทคำฉันท์ por kingkarn somchit
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
kingkarn somchit50.8K vistas

Similar a การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม

01 ตอนที่ 1 word por
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 wordนิชานาถ เตชะพิมพ์
806 vistas27 diapositivas
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน por
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
7.5K vistas27 diapositivas
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน por
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
796 vistas33 diapositivas
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2 por
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
216 vistas23 diapositivas
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ por
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
81.7K vistas14 diapositivas
คำนำ por
คำนำคำนำ
คำนำnang_phy29
2.6K vistas2 diapositivas

Similar a การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม(20)

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน por kruthai40
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai407.5K vistas
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน por Prachyanun Nilsook
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
Prachyanun Nilsook796 vistas
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2 por Jiramet Ponyiam
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam216 vistas
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ por kanidta vatanyoo
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
kanidta vatanyoo81.7K vistas
คำนำ por nang_phy29
คำนำคำนำ
คำนำ
nang_phy292.6K vistas
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด por Krupol Phato
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
Krupol Phato1.3K vistas
8 กระบวนพัฒน์ por krutukSlide
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
krutukSlide827 vistas
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx por TangkwaLalida
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
TangkwaLalida2 vistas
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ... por Weerachat Martluplao
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 por Nattapon
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
Nattapon2.7K vistas
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 por Nattapon
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
Nattapon1.1K vistas
Slideshare por paewwaew
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew248 vistas
หลักสูตรแกนกลาง 51 por Suwanan Nonsrikham
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
Suwanan Nonsrikham13.3K vistas
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ por Kobwit Piriyawat
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat13.1K vistas
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 por Nattapon
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
Nattapon7.4K vistas
Standard7 por Ict Krutao
Standard7Standard7
Standard7
Ict Krutao1.4K vistas

การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม

  • 1. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 หน่วยที่ 3 การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม กรอบแนวคิด : การนาหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การจัดการเรียนรู้ ในห้องเรียนอย่างมีคุณภาพนั้น ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญยิ่งในการออกแบบ การเรียนรู้ที่เป็นระบบ มีองค์ประกอบสาคัญ ครบถ้วน สมบูรณ์ และ ถูกต้องตามหลักวิชา  จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล  ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม เรื่องที่ 2 การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม เรื่องที่ 3 การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อกาหนดคาอธิบายรายวิชา เรื่องที่ 4 การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม เรื่องที่ 5 การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม เรื่องที่ 6 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เรื่องที่ 7 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้  กิจกรรม 1. ทดสอบก่อนการศึกษา 2 ศึกษาองค์ความรู้ 3. ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน 4. ประเมินผลงานตามเกณฑ์ที่กาหนด 5. ทดสอบหลังการศึกษา  การประเมินผล 1. ทดสอบ 2. ประเมินผลงานของตนเอง
  • 2. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 2 เกณฑ์การประเมิน ได้ 0 คะแนน ถ้าไม่มีการเขียนตอบใดใด ได้ 1 คะแนน ถ้าไม่ตรงตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้ ได้ 2 คะแนน ถ้าถูกต้องตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้เป็นบางส่วน ได้ 3 คะแนน ถ้าถูกต้องตามองค์ความรู้ของเรื่องที่นาเสนอไว้เป็นส่วนใหญ่ เรื่องที่ 1 ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม กรอบแนวคิด : การออกแบบการเรียนรู้เป็นหน้าที่สาคัญประการหนึ่ง ของครูผู้สอน ในการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ที่หลักสูตรสถานศึกษากาหนด การออกแบบ การเรียนรู้เป็นศาสตร์ที่ต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบ ตามลาดับขั้นตอน ที่เหมาะสม จึงจะนาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม การออกแบบการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เริ่มตั้งแต่ การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ของรายวิชาพื้นฐาน หรือ ผลการเรียนรู้ของรายวิชาเพิ่มเติม 1 รายวิชา จาแนกเป็นความรู้ที่ผู้เรียนจะต้องรู้ พฤติกรรมหรือทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้ รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน นาไป เรียบเรียงเขียนเป็นคาอธิบายรายวิชา 1 รายวิชา แล้วจึงนาคาอธิบายรายวิชานั้นไปกาหนดเป็นโครงสร้างรายวิชาเพื่อให้ได้จานวนหน่วยการเรียนรู้ ที่จะนาไปจัดการเรียนรู้ตลอดปี / ตลอดภาคเรียน จากนั้น จึงนาข้อมูลในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ในโครงสร้างรายวิชา ไปกาหนดรายละเอียดเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานให้ครบจานวนหน่วยการเรียนรู้ ที่ได้กาหนดไว้ สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ควรเขียนต่อจากหน่วยการเรียนรู้เป็นรายหน่วย เพื่อตรวจสอบ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของหน่วยการเรียนรู้ที่กาหนด กรณีที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนข้อมูลหรือ องค์ประกอบใด สามารถปรับเปลี่ยนได้ทันที แล้วจึงเริ่มกาหนดหน่วยการเรียนรู้หน่วยต่อไป ถ้าจัดลาดับ ขั้นตอนของการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาอย่างเป็นระบบ จะได้ขั้นตอนการดาเนินงานดังต่อไปนี้
  • 3. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 3 1. กาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม 2. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อนาไปสู่การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม 3. เขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม 4. กาหนดโครงสร้างรายวิชา 5. ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 6. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูนารายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ รายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ที่ได้จัดการเรียนรู้ไปแล้วในภาคเรียนนี้ มาทบทวนขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้ว่าเป็นไปตามลาดับขั้นตอน ที่นาเสนอหรือไม่ หากไม่เป็นไปตามนั้น ให้ระบุว่ายังขาดขั้นตอนใดบ้าง ประเด็นคาตอบ : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
  • 4. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 4 เรื่องที่ 2 การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม กรอบแนวคิด : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้สาหรับการนาไปสู่การออกแบบ การเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานเท่านั้น ในส่วนของการออกแบบการเรียนรู้รายวิชา เพิ่มเติม เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องกาหนดผลการเรียนรู้ขึ้นเอง การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ปรับเปลี่ยนการกาหนดมาตรฐาน การเรียนรู้ช่วงชั้นให้เป็นตัวชี้วัดชั้นปี / ช่วงชั้น ซึ่งตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางมีไว้เพื่อให้ ครูผู้สอนนาไปใช้สาหรับรายวิชาพื้นฐานเท่านั้น สาหรับรายวิชาเพิ่มเติมครูผู้สอนต้องกาหนด “ผลการเรียนรู้” ขึ้นเองแทนการใช้ “ตัวชี้วัด” ที่จัดทาไว้สาหรับรายวิชาพื้นฐาน แนวการกาหนด “ผลการเรียนรู้” สามารถดาเนินการได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. พิจารณาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการกาหนด “ผลการเรียนรู้” เพื่อพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 2. กาหนด “ผลการเรียนรู้” ขึ้นใหม่ โดยไม่อิงสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ใด การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมที่มีความเป็นสากล 1. สาระการเรียนรู้ที่มีความเป็นสากล 4 เรื่อง สามารถพิจารณาได้จากวัตถุประสงค์และ ขอบข่ายสาระที่ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ ซึ่ง คู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงาน การมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) ได้กาหนดไว้ 2. สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และ ภาษาต่างประเทศที่ 2 อาจพิจารณาโดยอิงตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง แต่กาหนด “ผลการเรียนรู้” ที่ต่อยอดเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้น หรือ กาหนดผลการเรียนรู้ที่แตกต่างไปจากตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่แล้ว
  • 5. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 5 การกาหนดผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมสาหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในกรณีที่เรียนต่อเนื่องกัน ทั้งสองภาคเรียนใน 1 ปี ครูผู้สอนอาจกาหนดเป็น ผลการเรียนรู้ชั้นปี ในขั้นแรกก่อนแล้วจึงวิเคราะห์ จาแนกเป็น ผลการเรียนรู้รายภาคเรียน ในขั้นต่อไป สาหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้กาหนดเป็น ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ก่อน แล้วจึงนาไปวิเคราะห์จาแนกเป็น ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น รายภาคเรียน ในลาดับต่อไป ในกรณีที่เป็นรายวิชาอิสระไม่ต่อเนื่องกัน สามารถกาหนดผลการเรียนรู้ในแต่ละภาคเรียน ได้เลย แต่ต้องพิจารณาความยากง่าย หรือ ลาดับเนื้อหาที่ต้องเรียนก่อนหลังในแต่ละภาคเรียนด้วย เมื่อกาหนดผลการเรียนรู้ได้แล้ว จากนั้นต้องกาหนดสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับผลการเรียนรู้ด้วย องค์ประกอบของผลการเรียนรู้ องค์ประกอบของ “ผลการเรียนรู้” มีลักษณะเช่นเดียวกับ องค์ประกอบของตัวชี้วัดซึ่งประกอบ ด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ และ ส่วนที่สองหรือส่วนที่ตามมา คือ ความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ การเขียนผลการเรียนรู้แต่ละข้อ จึงมีลักษณะดังแผนภูมิ ต่อไปนี้ + ลักษณะของผลการเรียนรู้ การกาหนดผลการเรียนรู้ สามารถดาเนินการโดยอิงแนวทางการจาแนกประเภทจุดประสงค์ ทางการศึกษาของบลูม ( Benjamin S. Bloom ) และคณะ ที่ได้จาแนกพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นจุดประสงค์ ทางการศึกษา ( Taxonomy of Educational Objectives) ออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain ) หรือ พฤติกรรมทางสมอง ที่แบ่งระดับเป็นพฤติกรรม ด้านสติปัญญา หรือ ด้านความรู้และการคิด ประกอบด้วย ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสิ่งต่างๆและการทา ความเข้าใจในสิ่งที่เป็นความรู้ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่าในสิ่งที่รู้ 2. ด้านจิตพิสัย ( Affective Domain ) หรือพฤติกรรมด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วยการรับรู้ การตอบสนองและการสร้างคุณค่าในเรื่องที่ได้รับรู้ แล้วนาสิ่งที่มีคุณค่านั้นมาจัดระบบ สร้างเสริมพัฒนา เป็นลักษณะนิสัยประจาตัว 3. ด้านทักษะพิสัย ( Psychomotor Domain ) หรือ พฤติกรรมด้านทักษะทางกาย หรือ พฤติกรรม ด้านการปฏิบัติ ประกอบด้วยทักษะในการเคลื่อนไหว และการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย พฤติกรรมที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ ความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้
  • 6. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 6 การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพ มุ่งพัฒนาพฤติกรรมในทั้ง 3 ด้าน แต่ละด้านจะมี พฤติกรรมที่มีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด พฤติกรรมที่พึงประสงค์ไว้ในลักษณะของมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้เป็นรายวิชา พื้นฐานของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาหรับรายวิชาเพิ่มเติมที่ต้องกาหนดผลการเรียนรู้ขึ้นเอง ยึดหลักการ เดียวกันกับการกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด คือ ต้องกาหนดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่นเดียวกัน พฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน มีดังนี้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย แบ่งเป็น 6 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นของกระบวนการทางปัญญา ได้ดังนี้ ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม 1. ขั้นความรู้ ความจา บอก / ระบุ / ชี้ / จับคู่ / ฯลฯ 2. ขั้นเข้าใจ อธิบาย / แปลความ / นาเสนอ / ตีความ / ฯลฯ 3. ขั้นนาไปใช้ ใช้ / สร้าง / สาธิต / แก้ปัญหา / ดัดแปลง / ฯลฯ 4. ขั้นวิเคราะห์ จาแนก / เปรียบเทียบ / ให้เหตุผล /จัดประเภท / ฯลฯ 5. ขั้นสังเคราะห์ เขียน / ออกแบบ / วางแผน / แสดงเหตุผล / ฯลฯ 6. ขั้นประเมินค่า ประเมิน / วิพากษ์/ วิจารณ์ / ตัดสิน / โต้แย้ง / ฯลฯ พฤติกรรมด้านจิตพิสัย แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นต่าสุดไปหาสูงสุด ดังนี้ ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม 1. ขั้นรับรู้ สังเกต / รับฟัง/ ฯลฯ 2. ขั้นตอบสนอง ยอมรับ / ตระหนัก/ เห็นประโยชน์ / เห็นคุณค่า / พึงพอใจ / ปฏิบัติตาม /ชักชวน/ แนะนา/ ฝึกหัด/ โต้แย้ง/ ปฏิเสธ / สนับสนุน / ฯลฯ 3. ขั้นสร้างคุณค่า แสดงความคิดเห็น / ให้เหตุผล/ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ / เปรียบเทียบความแตกต่าง /ยอมรับ / เลือก / ฯลฯ
  • 7. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 7 ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม 4. ขั้นจัดระบบ สรุปขั้นตอน/ เรียบเรียง / จัดลาดับขั้นตอน /จัดระบบ กาหนดแนวทาง /สร้างแนวปฏิบัติ / ฯลฯ 5. ขั้นสร้างลักษณะนิสัย นาไปปฏิบัติ / จัดทาใหม่ / เรียงเรียงใหม่ / เปลี่ยนแปลง / ต่อเติม / แก้ไขปรับปรุง / พัฒนา สร้างลักษณะนิสัย / สร้างบุคลิก / ฯลฯ พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามลาดับขั้นได้ดังนี้ ลาดับขั้นของพฤติกรรม คาที่บ่งบอกพฤติกรรม 1. ขั้นรับรู้ แสดงความสนใจ / สังเกต / ฯลฯ 2. ขั้นเตรียมพร้อม อธิบายขั้นตอน / ชี้แจงวิธีการ / เรียงลาดับขั้นตอน / ฯลฯ 3. ขั้นปฏิบัติตามแบบ ปฏิบัติตามขั้นตอน / ปฏิบัติตามตัวอย่าง/ ปฏิบัติตาม คาแนะนา/ พูดตามแบบ / อ่านตามแบบ / เขียนตาม แบบ / ฯลฯ 4. ขั้นทักษะ ปฏิบัติ ( โดยไม่มีแบบ) / สาธิตขั้นตอน / แสดง / พูดสนทนา / เขียนสื่อสาร / ฯลฯ 5. ขั้นปฏิบัติอย่างชานาญ ปฏิบัติอย่างคล่องแคล่ว / สนทนาโต้ตอบ / พูดอภิปราย / แสดงความคิดเห็น / นาเสนอเรื่องราว / ฯลฯ ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาภาษาฝรั่งเศส กาหนดโดยอิงสาระการเรียนรู้ 4 สาระ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คู่มือการใช้งานต่างๆ คาบรรยาย และคาชี้แจง 2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว บทความ ประกาศ โฆษณา และบทร้อยกรองถูกต้อง ตามหลักการอ่าน 3. ระบุ อธิบาย จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟังและ อ่านจากสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ตามความสนใจ สารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 8. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 8 4. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูล ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่าง ต่อเนื่องและเหมาะสม 5. ขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และอ่าน ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม 6. แสดงความรู้สึกความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ใน ท้องถิ่น สังคมและโลก พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ 7. เลือกใช้ภาษา น้าเสียงและกริยาท่าทาง เหมาะกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 8. ใช้ภาษาในการสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชนและสังคม 9. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก รวบรวม วิเคราะห์ สรุปความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 10.อธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างของวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทย และนาไปใช้ อย่างมีเหตุผล 11.เข้าร่วม นาเสนอ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามโอกาสและความสนใจ 12. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ ประเทศชาติเป็นภาษาฝรั่งเศส ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาทฤษฎีความรู้ กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง ทฤษฎีความรู้ จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) 1. เข้าใจสถานการณ์ / บริบทในท้องถิ่น ชุมชน และสังคมใกล้ตัว 2. วิเคราะห์สภาพการณ์ / สถานการณ์ / บริบทในท้องถิ่น ชุมชน และสังคมใกล้ตัว 3. จาแนกระหว่างการให้เหตุผลดี เหมาะสม และเหตุผลที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม 4. วิเคราะห์และให้เหตุผล ความอคติ / ความลาเอียง / เกี่ยวกับอุบัติการณ์ของสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น 5. ระบุความไม่สมเหตุสมผลของสถานการณ์ / สภาพการณ์ต่างๆ
  • 9. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 9 ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาการเขียนความเรียงขั้นสูง กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนความเรียงขั้นสูง จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) 1. เข้าใจรูปแบบการเขียนความเรียงขั้นสูง ประกอบด้วย วิธีการเขียนชื่อเรื่อง ( Title) และการกาหนด ประเด็นปัญหา (Research Question) การเขียนคานา ( Introduction) การเขียนเนื้อเรื่อง ( Body of Knowledge) 2. สร้างวิธีการ หรือกระบวนการนาเสนอข้อมูลความคิดตามลาดับขั้นตอนโดยใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. เขียนสื่อความให้ผู้อ่านเข้าใจความเป็นมาของชื่อเรื่อง ความน่าสนใจของเรื่องที่เขียน คุณค่าของ การศึกษาเรื่องที่เขียน ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา บริบทของเรื่องที่เกี่ยวข้อง การกาหนดประเด็นปัญหาของเรื่องที่ศึกษา และการใช้ภาษาที่สื่อความหมาย 4. เขียนและเรียบเรียงความคิด ข้อคิดเห็น การใช้ข้อเสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาการสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์ กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์ จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) 1. สร้างโครงงานโดยใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน (Creativity) 2. ปฏิบัติตามโครงงานที่สร้างขึ้น (Actions) 3. จัด หรือ เข้าร่วมกิจกรรมบริการสังคม (Service) ตัวอย่างผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ( ม. 4 – ม. 6 ) รายวิชาโลกศึกษา กาหนดตามวัตถุประสงค์ของสาระการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างโครงงานสาธารณะประโยชน์ จากคู่มือการพัฒนาหลักสูตรและการสอน (สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย : 2553 ) สาระที่ 1 การเป็นพลโลก ( Global Citizenship) 1. เข้าใจแนวคิดและความจาเป็นของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความรับผิดชอบ 2. วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดที่แตกต่างซึ่งส่งผ่านสื่อและแหล่งข้อมูลต่างๆ 3 ศึกษาเรียนรู้บทบาทของสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวของโลก 4. พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการและจุดที่ประเด็นสาคัญได้รับการตัดสินใจ 5. ตระหนักและแสดงออกถึงความรับผิดชอบที่มีต่อสิ่งต่างๆ ของโลก
  • 10. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 10 6. ตระหนักถึงความสาคัญของบริบทโลก ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และการตัดสินใจทั้งใน ระดับ บุคคลและระดับสังคม 7. เข้าใจบทบาทของภาษา ขนบธรรมเนียม สถานที่ ศิลปะ ศาสนา ของตนเองและผู้อื่นในโลก สาระที่ 2 การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ( Conflict Resolution) 1. เข้าใจธรรมชาติของความขัดแย้ง ผลกระทบของการพัฒนาและเหตุผลความจาเป็นของ การแก้ปัญหา และการส่งเสริมความกลมเกลียว 2. มีความรู้เกี่ยวกับตัวอย่างความขัดแย้งต่างๆ ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับนานาชาติ และ วิธีการแก้ปัญหาหลากหลายวิธี 3. เข้าใจทางเลือกและผลที่ตามมาต่อผู้อื่นในสภาวะความขัดแย้ง 4. เข้าใจความสาคัญของการสนทนา การโต้ตอบ การเสวนา การให้อภัย การเคารพ และ ความเอื้ออาทร 5. พัฒนาทักษะการสื่อสาร การแก้ต่างการเจรจา การประนีประนอม และการให้ความร่วมมือ 6. เห็นคุณค่าของความขัดแย้ง สามารถแสดงความคิดเห็นและดาเนินการให้เป็นกระบวนการ สร้างสรรค์ศักยภาพ 7. เข้าใจรูปแบบลัทธิเผ่าพันธุ์ 8. เข้าใจถึงความขัดแย้งที่มีผลกระทบต่อประชาชน รู้จักประเทศ พื้นที่ สิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น และระดับโลก สาระที่ 3 ความเป็นธรรมทางสังคม (Social Justice) 1. เรียนรู้และเข้าใจความสาคัญของความถูกต้องทางสังคมซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และการส่งเสริมความผาสุกของประชาชนทั้งมวล 2. เห็นคุณค่าความถูกต้องทางสังคมและเข้าใจความสาคัญเพื่อมั่นใจในความเสมอภาค ความถูกต้อง ความโปร่งใส สาหรับทุกคนในสังคมเดียวกันระหว่างสังคม 3. รู้จักผลกระทบของอานาจที่ไม่เสมอภาค เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีโอกาสที่เท่าเทียม สาระที่ 4 ค่านิยมและการตระหนักรับรู้สภาพการณ์ ( Value and Perception ) 1. รู้จักประเมินวิกฤติในระดับกระแสโลก และ 2. การซาบซึ้งถึงผลกระทบที่มีต่อประชาชนด้านเจตคติและการเห็นคุณค่า 3. เข้าใจและเห็นคุณค่า มีเจตคติต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน 4. เข้าใจและเห็นคุณค่าสิทธิมนุษยชน
  • 11. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 11 สาระที่ 5 การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) 1. มีความรู้และเข้าใจความจาเป็นในการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยไม่ทาลายโลก 2. รู้จักอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อคนรุ่นหลัง 3. ตระหนักในประโยชน์และคุณค่าของแหล่งธรรมชาติที่มีจากัด 4. มีความรู้ และรับผิดชอบในความต่อเนื่อง และสัมพันธ์กันระหว่างสังคม เศรษฐกิจ และ สภาพแวดล้อม 5. ชื่นชมและเห็นความสาคัญของการใช้ทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง ด้วยการคิดใหม่ ประหยัด ลดการใช้ นากลับมาใช้ใหม่ ใช้หมุนเวียน ซ่อมแซม และการใช้วัสดุที่มีกระบวนการจัดการ ทรัพยากรอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ สาระที่ 6 สิทธิมนุษยชน ( Human Rights) 1. มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน รวมถึงสนธิสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็กและเยาวชน 2. เห็นความสาคัญและให้คุณค่าของสิทธิมนุษยชนในทุกระดับ 3. เข้าใจในสิทธิและความรับผิดชอบ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับโลก และความสัมพันธ์ ระหว่างโลกกับชุมชน 4. ตระหนักและเข้าใจในการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้านสิทธิมนุษยชน 5. เข้าใจสิทธิมนุษยชนที่ใช้เป็นกรอบหลักสาหรับการแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน 6. เข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับการประชุมขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็กและเยาวชน คาประกาศด้านสิทธิมนุษยชนของยุโรป และกฎหมายสิทธิมนุษยชนของบางสิ่งบางอย่าง ที่ไม่ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรม สาระที่ 7 การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) 1. ได้เรียนรู้การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างคน ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมซึ่งมีผลต่อความสัมพันธ์ระดับชุมชนโลก 2. เข้าใจผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์และทางเลือกที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ ทั้งระดับบุคคล จนถึงระดับโลก 3. ตระหนักและซาบซึ้งในความเชื่อมโยงของชีวิตของผู้คนทุกระดับในสังคม 4. ตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน 5. รู้จักเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน มีความรู้ ความเข้าใจสังคมโลกและหน้าที่ ของพลเมืองในสังคมโลก 6. เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและลบที่เกิดขึ้นจากมติขององค์การสหประชาชาติที่มีผลต่อคุณภาพ ชีวิตของคนทั่วโลก
  • 12. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 12 สาระที่ 8 ความหลากหลาย (Diversity) 1. เรียนรู้ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างและความสัมพันธ์ของมนุษยชาติ 2. ตระหนักในธรรมชาติ ปรากฏการณ์รอบตัวในบริบทของสิทธิมนุษยชน 3. เข้าใจความสาคัญของการยอมรับความแตกต่างด้านขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณี กระบวนการและวิธีการจัดการของแต่ละสังคม 4. พัฒนาและตระหนักถึงความแตกต่างหรือความหลากหลายของเผ่าพันธุ์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม บนพื้นโลก 5. เห็นคุณค่าของความแตกต่างด้านชีวภาพ ตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม 6. ตระหนักถึงแนวคิดต่อเรื่องราวต่างๆ เข้าใจความหลากหลาย และความแตกต่าง และยอมรับ ผลกระทบของสิ่งเหล่านั้น ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูกาหนด “ผลการเรียนรู้” ในรายวิชาเพิ่มเติม ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ 1 รายวิชา 1 ภาคเรียน โดยวิเคราะห์จาก ผลการเรียนรู้ช่วงชั้น ให้เป็นผลการเรียนรู้ชั้นปี หรือผลการเรียนรู้รายภาค ให้เหมาะสมกับระดับชั้น และจานวนเวลา ที่โรงเรียนกาหนดให้ ประเด็นคาตอบ : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
  • 13. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 13 เรื่องที่ 3 การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้เพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา กรอบแนวคิด : ผลการเรียนรู้ คือ สิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้ และต้องปฏิบัติได้ ในรายวิชาเพิ่มเติม เช่นเดียวกับตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน ผลการเรียนรู้มีไว้ เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนในรายวิชาเพิ่มเติมที่โรงเรียนกาหนดขึ้น ตามบริบท จุดเน้นของโรงเรียน หรือตามความต้องการของผู้เรียน การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ เป็นการวิเคราะห์เพื่อค้นหา จาแนก สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และ ต้องปฏิบัติได้ ดังนั้น เมื่อครูผู้สอนได้กาหนด ผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมในภาคเรียนที่รับผิดชอบแล้ว ต่อจากนั้น จะต้องนาผลการเรียนรู้แต่ละข้อ ไปวิเคราะห์ จาแนกเป็นความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ พฤติกรรม หรือ ทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ ไปสู่สมรรถนะสาคัญที่คาดว่าผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน ไปจนถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวของผู้เรียน ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ในลักษณะ เดียวกันกับการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐาน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลประกอบ การเขียนคาอธิบายรายวิชา ในขั้นต่อไป การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธี วิธีที่โรงเรียน ส่วนใหญ่นิยมใช้ คือ การนาผลการเรียนรู้มาวิเคราะห์องค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ ที่นาไปสู่สมรรถนะ สาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน โดยใช้ตาราง ดังนี้
  • 14. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 14 (ตัวอย่าง ) การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม (ภาษาฝรั่งเศส) ข้อที่ ผลการเรียนรู้ ผู้เรียนรู้อะไร/ ทาอะไรได้ นาไปสู่ สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 1 ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ  สิ่งที่ต้องรู้ คาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ  พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้ ปฏิบัติตาม ความสามารถใน การสื่อสาร ใฝ่เรียนรู้ 2 ระบุตัวอักษรและเสียง  สิ่งที่ต้องรู้ ตัวอักษรและเสียง  พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้ ระบุ ความสามารถใน การสื่อสาร/ ความสามารถใน การคิด ใฝ่เรียนรู้ 3 เลือกภาพตรงกับ ความหมายของคา และกลุ่มคาที่ฟัง  สิ่งที่ต้องรู้ ความหมายของคาและกลุ่มคา  พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้ เลือกภาพตรงกับความหมาย ความสามารถใน การสื่อสาร/ ความสามารถใน การคิด ใฝ่เรียนรู้ 4 อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ และสะกดคาง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการ อ่าน  สิ่งที่ต้องรู้ คา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ คาง่ายๆ  พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้ อ่านออกเสียง / สะกดคา ความสามารถใน การสื่อสาร ใฝ่เรียนรู้ 5 เขียนคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้ สัมพันธ์กับสื่อที่เป็น ความเรียงและไม่ใช่ ความเรียง  สิ่งที่ต้องรู้ คา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ที่ สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง  พฤติกรรมที่ต้องปฏิบัติได้ เขียน ความสามารถใน การสื่อสาร ใฝ่เรียนรู้ ฯลฯ
  • 15. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 15 ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูนาผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมที่ได้กาหนด ไว้ในชั้นปี หรือ 1 ภาคเรียน มาวิเคราะห์ว่าผู้เรียนควรรู้เรื่องใด ควรปฏิบัติสิ่งใดได้บ้าง และผลการเรียนรู้แต่ละข้อ นาไปสู่สมรรถนะ สาคัญข้อใดบ้าง ผู้เรียนควรมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง จากการเรียนรู้รายวิชานี้ ประเด็นคาตอบ : บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
  • 16. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 16 เรื่องที่ 4 การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กรอบแนวคิด : คาอธิบายรายวิชา เป็นขอบข่ายขององค์ความรู้ ทักษะ/ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สาคัญของผู้เรียน ที่ครูผู้สอนหลอมรวมเขียนเป็นความเรียงในรูปแบบที่กาหนด มีประโยชน์ไว้ เพื่อเป็นข้อกาหนดสาหรับผู้เรียนว่าจะได้เรียนรู้สิ่งใด ฝึกทักษะ/กระบวนการใด และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด และเป็นกรอบแนวทางสาหรับครูผู้สอน ที่จะได้นาไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรายวิชานั้น การจัดทาคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม คาอธิบายรายวิชา เป็นขอบข่ายขององค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่สาคัญของผู้เรียน ในภาพโดยรวมของหนึ่งรายวิชา ที่ผู้สอนเรียบเรียงมาจากการวิเคราะห์จาแนก ตัวชี้วัดของรายวิชาพื้นฐาน 1 รายวิชา หรือ ผลการเรียนรู้ 1 รายวิชา หลอมรวมเป็นความเรียงในรูปแบบ ที่กาหนด เพื่อนาไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนในรายวิชานั้น ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ที่ได้กาหนดขึ้น ประโยชน์ของคาอธิบายรายวิชามี 2 ประการ คือ 1. เพื่อเป็นข้อกาหนดว่าในรายวิชานั้น ผู้เรียนจะได้เรียนรู้องค์ความรู้ ได้ฝึกทักษะ/กระบวนการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สาคัญประการใดบ้าง 2. เพื่อเป็นกรอบแนวทางให้ครูผู้สอนได้นาไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ การเขียนคาอธิบายรายวิชาจะต้องหลอมรวมข้อมูลแล้วเรียบเรียงเป็นความเรียงที่กระชับได้ใจความ ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามตัวชี้วัดที่หลักสูตร กาหนดในรายวิชาพื้นฐาน และตามผลการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนกาหนดขึ้นในรายวิชาเพิ่มเติม ดังนั้น คาอธิบาย รายวิชา ต้องสะท้อนตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น เป็นรายปีสาหรับระดับประถมศึกษา และ เป็นรายภาคเรียนสาหรับระดับมัธยมศึกษา
  • 17. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 17 องค์ประกอบสาคัญของคาอธิบายรายวิชา จาแนกได้ 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลทั่วไปของรายวิชา ประกอบด้วย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน หรือ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา............ ชื่อรายวิชา…………..… กลุ่มสาระการเรียนรู้.................... ชั้น....... ภาคเรียนที่.........จานวน........ ชั่วโมง จานวน.........หน่วยกิต ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่แสดงขอบข่ายเนื้อหาสาระซึ่งประกอบด้วย องค์ความรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ ศึกษาเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ผู้เรียนจะต้อง ประพฤติปฏิบัติ จากการเรียนรู้ในรายวิชานั้น โดยมีหลักการเขียนแสดงข้อมูลตามลาดับ ดังนี้ 1. ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใด 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติทักษะ / กระบวนการ หรือแสดงพฤติกรรมใด 3. ผู้เรียนจะมีคุณลักษณะอังพึงประสงค์ใด ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ/ หรือ ตามธรรมชาติของวิชาที่กาหนด ส่วนที่ 3 เป็นส่วนที่ระบุรหัสตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ทั้งหมดในรายวิชานั้น แนวการเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม มีขั้นตอนดังนี้ 1. พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ชั้นปีในระดับประถมศึกษา หรือ ผลการเรียนรู้ รายภาคสาหรับมัธยมศึกษา จากตารางวิเคราะห์ที่ได้ดาเนินการไว้แล้ว 2. จัดกลุ่มผลการเรียนรู้ ให้ได้3 กลุ่ม ตามลาดับ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ที่ผู้เรียนจะได้ศึกษาเรียนรู้ และมีความเชื่อมโยง สัมพันธ์กันตามความยากง่าย หลอมรวมและเรียบเรียง เขียนเป็นความเรียงตามลาดับก่อนหลังของเนื้อหา กลุ่มที่ 2 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับทักษะ กระบวนการ ที่ครูผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติใน รายวิชานั้น ควรขึ้นต้น ส่วนที่ 1 นี้ด้วยคาว่า “โดยใช้กระบวนการ ...........” แล้วระบุทักษะ หรือ กระบวนการใหญ่ ๆ ที่ผู้สอนจะนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยไม่จาเป็นต้องระบุขั้นตอน ย่อยๆ ในแต่ละกระบวนการไว้ เพราะไม่มีความจาเป็น กลุ่มที่ 3 เป็นส่วนที่เกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามธรรมชาติของรายวิชา และ/หรือ ตามคุณลักษณะ 8 ประการที่หลักสูตรแกนกลาง ฯ ได้กาหนดไว้ ข้อความส่วนนี้ อาจขึ้นต้นด้วยคาว่า “เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด / เพื่อให้เป็น ................” นอกจากนี้ ครูผู้สอนสามารถระบุ สมรรถนะสาคัญของ ผู้เรียนที่เกี่ยวข้อง จากการจาแนกผลการเรียนรู้ที่นาไปสู่สมรรถนะนั้นๆ ในตารางการวิเคราะห์ผลการ เรียนรู้ที่ได้ดาเนินการไว้แล้ว เพื่อเป็นการเน้นย้ากรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน 3. เขียนเรียบเรียงข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม ตามรูปแบบของคาอธิบายรายวิชา
  • 18. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 18 รูปแบบของการเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา นาเสนอไว้ มี 2 รูปแบบ สาหรับให้โรงเรียนเลือกได้ตามความเหมาะสม ดังนี้ คาอธิบายรายวิชา รูปแบบที่ 1 รหัสวิชา …….. ชื่อรายวิชา………….. รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้……………… ชั้น……........... ภาคเรียนที่ เวลา …….. ชั่วโมง (จานวนหน่วยกิต) (เขียนเป็นความเรียงให้ได้ใจความว่าผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร สามารถทาอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและธรรมชาติของวิชา) ( กลุ่มที่ 1) .................................................................................................... ............................................................................................................... .......... .......................................................................................................................... (กลุ่มที่ 2 ) โดยใช้กระบวนการ .................................................................... ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... (กลุ่มที่ 3) เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด/ เพื่อให้เป็น................................................ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ผลการเรียนรู้ 1............................... 2............................... 3............................... รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู้ ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3
  • 19. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 19 คาอธิบายรายวิชา รูปแบบที่ 2 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา …….. ชื่อรายวิชา………… กลุ่มสาระการเรียนรู้……………… ชั้น……........... ภาคเรียนที่ เวลา …….. ชั่วโมง (จานวนหน่วยกิต) (เขียนเป็นความเรียงให้ได้ใจความว่าผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร สามารถทาอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใดบ้าง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและธรรมชาติของวิชา) ( กลุ่มที่ 1) .................................................................................................... ............................................................................................................... .......... .......................................................................................................................... (กลุ่มที่ 2 ) โดยใช้กระบวนการ .................................................................... ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... (กลุ่มที่ 3) เพื่อให้มี / เพื่อให้เกิด/ เพื่อให้เป็น................................................ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ผลการเรียนรู้ 1............................... 2............................... 3............................... รวมทั้งหมด................... ผลการเรียนรู้ ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3
  • 20. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 20 ( ตัวอย่างคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม) คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ฝ20201 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาฝรั่งเศส) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ ระบุตัวอักษรและเสียง เลือกภาพตรงกับความหมายของคา และ กลุ่มคาที่ฟัง อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ และสะกดคาง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เขียนคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง พูดโต้ตอบด้วยคาและ ประโยคสั้นๆง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง พูดและทาท่าทาง ประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ ของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิด เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และความเพลิดเพลินสนุกสนาน สามารถใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้ เหมาะสมกับระดับบุคคลและกาลเทศะ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตามคาสั่งสั้นๆ ง่ายๆ 2. ระบุตัวอักษรและเสียง 3. เลือกภาพตรงกับความหมายของคา และกลุ่มคาที่ฟัง 4. อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆ และสะกดคาง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน 5. เขียนคา กลุ่มคา ประโยคสั้นๆง่ายๆ ให้สัมพันธ์กับสื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง 6. พูดโต้ตอบด้วยคาและประโยคสั้นๆง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง 7. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง 8. พูดและทาท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 9. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้
  • 21. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 21 ภาระงาน : ขอให้เพื่อนครูเขียนนาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ไว้ในตาราง วิเคราะห์ผลการเรียนรู้มาหลอมรวมเรียบเรียงเขียนเป็นคาอธิบายรายวิชา เพิ่มเติมที่รับผิดชอบ 1 รายวิชา ใน 1 ภาคเรียน โดยใช้รูปแบบใด รูปแบบหนึ่งให้สอดคล้องกับรูปแบบที่โรงเรียนเลือกใช้ ประเด็นบันทึก : บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
  • 22. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 22 เรื่องที่ 5 การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม กรอบแนวคิด : โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเป็นการกาหนดกรอบขอบข่ายของ รายวิชาเพิ่มเติมที่จะจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของรายวิชา ประกอบด้วยจานวนหน่วยการเรียนรู้ หัวข้อเรื่อง ผลการเรียนรู้ และสาระสาคัญ ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้ และสัดส่วนการเก็บคะแนน ของรายวิชา การจัดทาโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมจะช่วยให้ครูผู้สอนเห็นความ สอดคล้องเชื่อมโยงของลาดับการเรียนรู้ และภาพรวมของรายวิชานั้นอย่างชัดเจน การกาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม เมื่อได้คาอธิบายรายวิชา 1 รายวิชา เรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนต้องนาคาอธิบายรายวิชา มากาหนดเป็นโครงสร้างรายวิชา เพื่อกาหนดจานวนหน่วยการเรียนรู้ จานวนเวลาเรียน ก่อนที่จะนาไป จัดการเรียนรู้ตลอดปีสาหรับชั้นประถมศึกษา และตลอดภาคเรียนสาหรับชั้นมัธยมศึกษา รวมไปถึง การกาหนดเวลาการสอบกลางปี / กลางภาค ปลายปี / ปลายภาค และน้าหนักคะแนน อีกด้วย การกาหนดโครงสร้างรายวิชา จึงเป็นการกาหนดขอบข่ายของรายวิชาที่จะจัดสอนเพื่อช่วยให้ ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง เห็นภาพรวมของแต่ละรายวิชาว่า ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ จานวนเท่าใด เรื่องใดบ้าง แต่ละหน่วยพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุตัวชี้วัดใด เวลาที่ใช้จัดการเรียนการสอน และสัดส่วนการเก็บ คะแนนของรายวิชานั้นเป็นอย่างไร การจัดทาโครงสร้างรายวิชาจะช่วยให้ครูผู้สอนเห็นความสอดคล้อง เชื่อมโยงของลาดับการเรียนรู้ของรายวิชาหนึ่ง ๆ ว่าครูจะสอนอะไร ใช้เวลาสอนเรื่องนั้นเท่าไร และ จัดเรียงลาดับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างไร ทาให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชาอย่างชัดเจน องค์ประกอบโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม โครงสร้างรายวิชา มีองค์ประกอบหลักที่สาคัญ ดังนี้ - ลาดับที่ ของหน่วยการเรียนรู้ - ผลการเรียนรู้ ที่เป็นเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนสาหรับหน่วยนั้นๆ - ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จะต้องสะท้อนให้เห็นสาระสาคัญของหน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย มีความหมายและสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน
  • 23. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 23 - สาระสาคัญ เป็นความรู้ ความคิด ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง หรือความรู้ที่เป็นแก่น เป็นหลักการของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการหลอมรวมของผลการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น - เวลา การกาหนดเวลาเรียนควรมีความเหมาะสมและเพียงพอกับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถตามที่ระบุไว้ในผลการเรียนรู้ และควรพิจารณาในภาพรวม ของทุกหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชานั้น ๆ ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม - น้าหนักคะแนน การกาหนดน้าหนักคะแนนเป็นส่วนช่วยให้เห็นทิศทาง การจัดเวลา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ให้สอดคล้องกับความสาคัญของผลการเรียนรู้ในหน่วย การเรียนรู้นั้นว่าเป็นผลการเรียนรู้ที่เป็นองค์ความรู้ / ประสบการณ์พื้นฐานในการต่อยอดความรู้หรือ พัฒนาการเรียนรู้ในเรื่องอื่น ๆ หรือพิจารณาจากศักยภาพผู้เรียน ธรรมชาติวิชา ฯลฯ ตัวอย่างโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม โครงสร้างรายวิชา รหัสวิชา .................... ชั้น ...................... ( ภาคเรียนที่ ...............) เวลา ............. ชั่วโมง อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับปลายภาค ...... : ……... ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน ( ......... ) 1 2 3 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางภาค) 4 5 6 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค) รวม
  • 24. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 24 ภาระงาน: ขอให้เพื่อนครูนาคาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมมากาหนดเป็น โครงสร้างรายวิชาตลอดภาคเรียน ตามรูปแบบที่กาหนดให้ ประเด็นบันทึก : ให้บันทึกคาตอบลงในแบบฝึกที่กาหนดให้
  • 25. คู่มือนิเทศการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม สาหรับโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 25 เรื่องที่ 6 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กรอบแนวคิด : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ครูผู้สอนดาเนินการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน (Standard – based Unit) โดยใช้รูปแบบ Backward Design ซึ่งเป็นการดาเนินงานที่มีขั้นตอน 3 ประการ คือ การกาหนดเป้ าหมาย การเรียนรู้ การกาหนดหลักฐานการเรียนรู้ และการออกแบบกิจกรรม ซึ่งทุกขั้นตอนต้องเชื่อมโยงสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน อย่างเป็นเหตุเป็นผล การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เมื่อได้กาหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเรียบร้อยแล้ว จากนั้นครูผู้สอนจะต้องนาข้อมูลแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ ไปออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่กาหนดให้ครูผู้สอนดาเนินการออกแบบ หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน (Standard – based Unit) โดยใช้รูปแบบ Backward Design ซึ่งเป็นการออกแบบที่มีขั้นตอน 3 ประการ คือ การกาหนดเป้ าหมายการเรียนรู้ การกาหนดหลักฐานการเรียนรู้ และการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเริ่มต้นจากการกาหนดเป้ าหมายปลายทางซึ่งเป็นคุณภาพผู้เรียนที่คาดหวังเป็นจุดเริ่มต้น แล้วจึงคิด ออกแบบองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อนาไปสู่จุดหมายปลายทางที่กาหนด และทุกขั้นตอนของ กระบวนการออกแบบต้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน