SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
รายวิชาวิทยาศาสตร์            โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาวิทยาศาสตร์                       โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
      ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2              กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

             สารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย
วิตามิน
          ร่างกายต้องการวิตามินในปริมาณน้อยมาก แต่มีความจาเป็นต้องได้รับ เพราะมี
    บทบาทในการควบคุมปฏิกิริยาเคมีต่างๆในร่างกาย ซึงจะช่วยให้เซลล์ต่างๆในร่างกาย
                                                     ่
    สามารถเจริญเติบโต และทาหน้าที่ได้อย่างเป็นปกติ
วิตามินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
          -วิตามินไม่ละลายในน้าหรือวิตามินละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน A D E และ K
          -วิตามินละลายในน้าได้แก่ วิตามินB ชนิดต่างๆ และวิตามินC
วิตามินละลายในไขมัน
      วิตามิน                          ประโยชน์                 ผลการขาด


วิตามิน A   พบใน             ช่วยบารุงสายตาและผิวหนัง   จะทาให้เด็กไม่เจริญเติบโต
อาหารจาพวก ไข่ ผัก           ช่วยสร้างเคลือบฟัน         ผู้ใหญ่ตามองไม่เห็นในที่
ผลไม้                                                   สลัว ตาอักเสบ

วิตามิน D                   ช่วยในการดูดซึมแคลเซียม
พบในอาหารจาพวก                                          จะทาให้เกิดโรคกระดูกอ่อนและ
                            ฟอสฟอรัส                    ฟันผุ
นมแปรรูป ปลา ไข่ ตับ        ช่วยรักษากระดูกและฟัน
สร้างโดยเซลล์ผิวหนังเมื่อ
ถูกแสงแดด
วิตามิน                         ประโยชน์                          ผลการขาด


วิตามิน E                          ช่วยรักษาเซลล์เม็ดเลือดแดง   จะทาให้เป็นหมัน กล้ามเนื้อลีบ
พบในอาหารจาพวก                     ป้องกันการเป็นหมันและแท้งลูก โลหิตจาง เนื่องจากเม็ดเลือด
เมล็ดข้าว ถั่ว ผักใบเขียว ธัญพืช   ช่วยสร้างเอนไซม์หลายชนิด     แดงแตก

วิตามิน K
พบในอาหารจาพวก                         ช่วยให้เลือดแข็งตัว         จะทาให้มีอาการเลือดออกง่าย
ตับ นม ผักใบเขียวหรือเหลือง                                        ไม่แข็งตัว
สร้างโดยการสังเคราะห์แสงของ
แบคทีเรียในลาไส้
วิตามินละลายในน้้า

            วิตามิน                         ประโยชน์                      ผลจากการขาด

วิตามิน B1                             บารุงประสาทและหัวใจ          จะทาให้มีอาการเหน็บชา
พบในอาหารจาพวก                         ช่วยย่อยคาร์โบไฮเดรต         อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร หงุดหงิด
เนื้อสัตว์ ข้าวซ้อมมือ ถั่ว เห็ด

วิตามิน B2                         ช่วยให้การเจริญเติบโตเป็นไปตาม     จะทาให้เกิดโรคปากนกกระจอก
พบในอาหารจาพวก                     ปกติ                               ผิวหนังอักเสบ แห้ง แตก
ผักยอดอ่อน เนยแข็ง ตับ ไข่         บารุงผิวหนัง ลิ้น ตา               และปวดศีรษะ

วิตามิน B6                         ช่วยรักษาสุขภาพเหงือกและฟัน       จะทาให้มีอาการบวม เบื่ออาหาร
พบในอาหารจาพวก                     ช่วยรักษาเส้นเลือดและเม็ดเลือดแดง ประสาทเสื่อม เป็นโรคโลหิตจาง
เนื้อสัตว์ ข้าวโพด มันฝรั่ง ตับ    ช่วยในการทางานของระบบย่อย         ผิวหนังแห้ง
วิตามิน                      ประโยชน์                       ผลจากการขาด


วิตามิน B12                 ช่วยรักษาสุขภาพของระบบประสาท           จะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง
พบในอาหารจาพวก              จาเป็นต่อการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง     ประสาทเสื่อม
ตับ เนย เนื้อปลา หอย กะปิ   ป้องกันโรคโลหิตจาง

                            ต้านทานการติดเชื้อ                     จะทาให้เป็นโรคลักปิดลักเปิด
    วิตามิน C               ป้องกันเลือดออกตามไรฟัน
    พบในอาหารจาพวก                                                 เหงือกบวม กระดูกอ่อน
                            ช่วยในการดูดซ่อมอาหารอื่นภาย           เป็นหวัดง่าย
    ผลไม้ ผักใบเขียว        ในร่างกาย
                            ช่วยในการต่อกระดูกรักษาบาดแผล
                            จาเป็นต่อการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
                            ช่วยทาให้ผนังหลอดเลือดแข็ง
                            ไม่เปราะหรือแตกง่าย
การทดสอบวิตามิน C


วิธีทดสอบวิตามินซี โดยหยดวิตามินซีและน้าผลไม้
จนกระทั่งสารสีละลายสีน้าเงินค่อยๆจางไปจนเปลี่ยนเป็น
สารละลายไม่มีสี แล้วเปรียบเทียบกับจานวนหยดของ
สารละลายวิตามินซีและน้าผลไม้
การทดสอบวิตามิน C
            หยดสารละลายไอโอดีน                            หยดสารละลายไอโอดีน

หลอดที่ 1                                    หลอดที่ 2


                                                                             น้าแป้งสุก
                              น้าแป้งสุก
            ได้สารละลายสีน้าเงิน                              ได้สารละลายสีน้าเงิน

             ทดสอบวิตามินซี                                    ทดสอบวิตามินซี

                              หยดสารละลาย                หลอดที่ 2          หยดน้าผลไม้ที่
หลอดที่ 1
                              วิตามินซี 0.001%                              ต้องการทดสอบ
แร่ธาตุ
       ร่างกายต้องการใช้แร่ธาตุในปริมาณน้อย แต่แร่ธาตุก็มีความจาเป็น
ต่อร่างกาย แร่ธาตุเป็นสารอาหารที่ไม่ได้สร้างจากสิ่งมีชีวิต แต่เป็นสาร
ที่พืชดูดซึมขึ้น มาจากดินผ่านทางราก เราจึงได้แร่ธาตุต่างๆจากการ
รับประทานผัก และผลไม้ ดังนั้นในแต่ละวันเราควรรับประทานอาหาร
หลายๆชนิด เพื่อให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุที่จาเป็นครบถ้วน
       ร่างกายมีส่วนประกอบของธาตุอยู่แล้ว คือ ออกซิเจน
คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน และไนโตรเจน ซึ่งธาตุทั้ง 4 ได้รับจาก
สารอาหาร คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน นอกจากธาตุทั้ง 4
ที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายธาตุอื่นๆ ที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า แร่
ธาตุ ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม
เหล็ก ไอโอดีน คลอรีน ฟลูออรีน ฯลฯ
แร่ธาตุที่เป็นต่อร่างกาย

         แร่ธาตุ                     ประโยชน์                       ผลจากการขาด


แคลเซียม                    เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน   จะทาให้เป็นโรคกระดูกอ่อน
พบในอาหารจาพวก              ช่วยในการทางานของหัวใจ          เลือดแข็งตัวได้ช้า ระบบทางาน
นม เต้าหู้ เนย ผักใบเขียว   กล้ามเนื้อ และประสาท            ของหัวใจไม่ปกติ
                            ช่วยในการแข็งตัวของเลือด


ฟอสฟอรัส                                                    จะทาให้เกิดโรคกระดูกอ่อน
พบในอาหารจาพวก               ช่วยในการสร้างกระดูกและฟัน
                             ช่วยสร้างเซลล์สมองและประสาท    การยืด และหดตัวของ
เนื้อสัตว์ ไข่ นม ตับ                                       กล้ามเนื้อไม่ดี
                             ช่วยในการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
แร่ธาตุ                     ประโยชน์                    ผลจากการขาด


    โพแทสเซียม             ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย    จะทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
    พบในอาหารจาพวก         จาเป็นต่อการทางานของกล้ามเนื้อ
    ปลา ผัก ผลไม้ นม       และประสาท


โซเดียม                     ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย จะทาให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
พบในอาหารจาพวก              เป็นส่วนประกอบของน้าย่อย      เป็นตะคริว
เกลือแกง อาหารทะเล เนื้อปลา ช่วยให้ระบบประสาททางานได้ปกติ
แร่ธาตุ                     ประโยชน์                      ผลจากการขาด



แมกนีเซียม
                              จาเป็นต่อการทางานของกล้ามเนื้อ จะทาให้เกิดอาการชัก เกิดความ
พบในอาหารจาพวก
                              และประสาท                      ผิดปกติของระบบประสาทและ
เนื้อวัว ธัญพืช ผัก ถั่ว นม
                              เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน กล้ามเนื้อ
                              ช่วยกระตุ้นให้เอนไซม์ทางาน
เหล็ก                         เป็นส่วนประกอบของเฮลโมโกลบิน
พบในอาหารจาพวก                                                  จะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง
                              ในเม็ดเลือดแดง                    อ่อนเพลีย
ตับ ไข่แดง ผลไม้ตากแห้ง       ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
แร่ธาตุ                     ประโยชน์                  ผลจากการขาด

  ไอโอดีน                 ช่วยในการเจริญเติบโต          จะทาให้เกิดโรคคอพอก
พบในอาหารจาพวก            เป็นส่วนประกอบสาคัญของฮอร์โมน แคระแกร็น เชื่องช้าทั้งความคิด
อาหารทะเล เกลือผสมไอโอดีน ซึ่งช่วยในการปลดปล่อยพลังงาน  และอากัปกริยา
ปลา

   คลอรีน                   ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย   จะทาให้การถ่ายไม่ปกติ
   พบในอาหารจาพวก           ช่วยย่อยอาหาร
   เกลือแกง ซอสถั่วเหลือง

   ฟลูออรีน                     ช่วยสร้างกระดูกและฟัน             จะทาให้ฟันผุง่าย
   พบในอาหารจาพวก               ป้องกันฟันผุ
   ชา ปลา อาหารทะเล
น้้า
       น้าเป็นสารอาหารที่มีความจาเป็นต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากเป็นส่วนประกอบของเซลล์
ทุกเซลล์ในร่างกาย ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ 50-70% ของน้าหนักตัว
โดยทั่วไปเพศชายมีมากกว่าเพศหญิง

ความส้าคัญของน้้าต่อร่างกาย
1.ช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
2.ช่วยทาละลายสารต่างๆที่มีความสาคัญต่อร่างกาย เช่น เกลือแร่ น้าตาล โปรตีน และวิตามิน
3.ช่วยในการย่อยอาหาร กาจัดของเสียออกทางเหงื่อ และปัสสาวะ
4. ช่วยในการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
5.ป้องกันการเสียดสีของอวัยวะในร่างกาย
6.ในภาวะปกติควรดื่มน้าให้ได้วันละ 2 ลิตร
พีระมิดอาหาร
                  พีระมิดอาหาร เป็นการแนะนาการบริโภคสารอาหารทั้ง 6 ชนิดในแต่ละวัน วัยรุ่นจะต้อง
                 บริโภคอาหารในปริมาณที่เพิ่มขึ้นจากที่กาหนดไว้ทุกกลุ่ม
                                                                                  ยอดพีระมิดเป็นอาหาร
                                                                                  พวกไขมันได้แก่ น้ามัน
                                                                                  ของหวานต่างๆซึ่งควร
                                                                                  บริโภคในปริมาณน้อย

    เนื้อสัตว์ ปลาถั่ว                                                                  นม โยเกิร์ต เนย
    ไข่ 2-3 หน่วย                                                                       แข็ง 2-3 หน่วย
    บริโภค                                                                              บริโภค


                                                                                   พืชผักต่างๆ 3-5 หน่วย
                                                                                   บริโภค ร่างกายต้องการ
                                                                                   ปริมาณมากรองจาก
ฐานพีระมิดเป็นอาหาร                                                                คาร์โบไฮเดรต
พวกคาร์โบไฮเดรต
ได้แก่ ข้าว แป้ง ขนมปัง
6-11 หน่วยบริโภค
ทุพโภชนาการ

ทุพโภชนาการ คือ ภาวะโภชนาการที่ไม่ดีซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทด้วยกันคือภาวะขาดสารอาหาร และ
ภาวะโภชนาการเกิน ดังนี้
          1)ภาวะขาดสารอาหาร หมายถึง ภาวะที่เกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารที่ไม่ได้
สัดส่วนปริมาณหรือหลากหลายเพียงพอกับความต้องการของร่างกายซึ่งมีผลทาให้ร่างกายมีสุขภาพไม่
แข็งแรง อาจก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ง่าย

         2)ภาวะโภชนาการเกิน หมายถึง ภาวะที่เกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารที่เกินต่อ
ความต้องการของร่างกาย เช่น บริโภคอาหารที่ให้พลังงานเกินกว่าที่ร่างกายจะใช้ หรือการได้รับวิตามิน
มากเกินไป เช่น วิตามินเอ วิตามินดี อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้
โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนตามทีร่างกายต้องการ
                                                        ่
โรคที่เกิดจากการขาดวิตามิน               โรคทีเกิดจากการขาดแร่ธาตุ
-ขาดวิตามินเอ ทาให้เป็นโรคตาฟาง          -ขาดธาตุเหล็กทาให้เป็นโรคโลหิตจาง
-ขาดวิตามินบี1 ทาให้เป็นโรคเหน็บชา       -ขาดธาตุไอโอดีนทาให้เป็นโรคคอพอก สติปัญญาเสื่อม
-ขาดวิตามินบี2 ทาให้เป็นโรค              -ขาดธาตุโซเดียมทาให้เบื่ออาหาร เป็นตะคริว ชัก
ปากนกกระจอก                              -ขาดธาตุแมกนีเซียมทาให้กล้ามเนื้อกระตุก
-ขาดวิตามินซีทาให้เป็นโรคลักปิดลักเปิด
-ขาดวิตามินดี ทาให้เป็นโรคกระดูกอ่อน        โรคที่เกิดจากการขาดโปรตีน
-ขาดวิตามินทาให้เป็นโรคเลือดแข็งตัวช้า      -ร่างกายอ่อนแอเจริญเติบโตช้า
                                            -ภูมิต้านทานต่าติดโรคได้ง่าย
                                            -พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
                                            ล่าช้า
โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารบางชนิดที่ไม่เหมาะสม

 โรคปวดตามข้อ                                                     โรคอ้วน
 -รับประทานโปรตีนจากสัตว์                                         -รับประทานอาหาร
 ปีกและเครื่องในมากเกินไป                                         ประเภทคาร์โบไฮเดรต
                                                                  และไขมันมากเกินไป

                            การรับประทานอาหารบางประเภทมากเกินไป

ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง                                    โรคเบาหวาน
-รับประทานอาหารจากสัตว์ปีก                                   -รับประทานอาหารประเภทน้าตาล
มากเกินไป                                                    มากเกินไป
                                                             -การทางานของฮอร์โมนอินซูลิน
                                                             ผิดปกติ
                                                             -มีน้าตาลกลูโคสปนออกมากับ
                                                             ปัสสาวะ
การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ 9 ประการ

1) กินอาหารครบ 5 หมู่
2) กินข้าวเป็นอาหารหลัก
3) กินพืชผักให้มาก
4) กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจ้า
5) ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
6) กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
7) หลีกเลี่ยงการกินอาหรรสหวานจัดและเค็มจัด
8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน
9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
การรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วน
    ปริมาณที่ร่างกายต้องการตามความเหมาะสมกับเพศ วัย และการทางาน
    พลังงานของร่างกายได้มาจากอาหาร ปริมาณอาหารที่เรารับประทานจึงมีความสัมพันธ์กับพลังงานที่ร่างกาย
    ต้องการ ดังนั้นในแต่ละวันเราจึงต้องการพลังงานจากสารอาหารเพื่อนาไปใช้ในการทากิจกรรมต่างๆ ในปริมาณ
    ทีแตกต่างขึ้นอยู่กับเพศ วัย สภาพร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละบุคคล เพื่อสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์

     เพศต่างกัน อายุเท่ากัน เพศ                                      เพศเดียวกัน อายุเท่ากัน แต่อาชีพ
     ชายต้องการพลังงาน                                               ต่างกันชายที่มีอาชีพเป็นกรรมกร
                                                                     ใช้พลังงานมากกว่าชายที่มีอาชีพ
     มากกว่าเพศหญิง                     ความต้องการพลังงานของ        เป็นเลขานุการ
                                        แต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน
                                             ไปในแต่ละวัน
เพศเดียวกัน อายุเท่ากัน แต่สภาพ                                    เพศเดียวกันอายุไม่เท่ากันต้องการ
ร่างกายต่างกันความต้องการพลังงาน                                   พลังงานต่างกัน วัยที่กาลังเจริญเติบโต
ต่างกัน หญิงมีครรภ์อายุ 25ปี และ                                   ซึ่งต้องทากิจกรรมมากจะใช้พลังงาน
หญิงอายุ 25 ปีที่ต้องให้นมบุตร                                     มาก
ต้องการพลังงานมากกว่าหญิงมีครรภ์
สารปนเปื้อนในอาหาร
                              อาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนี้มีหลายชนิดที่มีสารพิษเจือปน เมื่อบริโภคแล้วจะทาให้
                   ผู้บริโภคเกิดการเจ็บป่วยได้ สารพิษที่ปะปนในอาหารสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
                   1.สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
                   2.สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์

 ไวรัสทาให้เกิดโรคตับอักเสบ        แบคทีเรียทาให้เกิดโรคท้องเสีย อหิวาตกโรค

ไวรัสทาให้เกิดโรคไข้หวัดนก                   อะฟลาทอกชินทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ


         สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ                     สารพิษในพืชหรือสัตว์
                                                                             - เห็ดมีพิษบางชนิด
                                                                             - ผักขี้หนอน
   พยาธิบางชนิด                                                              - ปลาปักเป้า
     - พยาธิใบไม้ในตับเกิดจากการรับประทานปลาดิบที่มี                      - แมงดาทะเล
   ไข่พยาธิ ซึ่งไข่พยาธิจะเจริญเติบโตในร่างกาย ทาให้ตับ                   ถ้ามีสารพิษอยู่ในอาหาร เมื่อเรา
   แข็งและตายในที่สุด                                                     รับประทานเข้าไปอาจเป็น
                                                                          อันตรายถึงชีวิตได้
สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดจากการกระท้าของมนุษย์
                 สิ่งปนเปื้อนในอาหารมี 2 ลักษณะคือ
                 สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารโดยไม่ตั้งใจ
                 สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์

สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารโดย              สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์
ไม่ได้ตั้งใจ                                      1.สารปรุงแต่งกลิ่นรสของอาหาร
                                                                  น้าตาลเทียมบางชนิดทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ
-ปุ๋ยเคมีที่ใช้เร่งผลผลิตของ                     สารที่ใส่ในอาหารเพือให้กรอบ เช่น
                                                                    ่
                                                 บอแรกช์ น้าประสานทอง เป็นต้น พบ             น้าส้มสายชูปลอมปนกับกรด
-สารเคมีกาจัดศัตรูพืชพืช                         ในหมูบด ลูกชิ้นปลาบด ไส้กรอก                ซัลฟิวริก ทาให้เกิดการกัด
                                                 ผลไม้ดอง ซึ่งจะเป็นพิษต่อตับ ไต และ         กร่อนทางเดินอาหาร
-ฮอร์โมนเร่งผลผลิตในพืช                          ระบบทางเดินอาหาร
-อาหารสัตว์สาเร็จรูป                             สารฟอกขาว เช่น โซเดียม
                                                 ไฮโดรซัลไฟด์ เป็นต้น พบใน             สารเคมีที่ชื่อว่า ซาลมูทามอล ซึ่ง
-ยารักษาโรคในสัตว์                               ถั่วงอก หน่อไม้ดอง น้าตาล             เร่งสีเนื้อหมูให้มีสีแดงสดจะตกค้าง
                                                 มะพร้าว ทุเรียนกวน เมื่อ              ในเนื้อหมู เมื่อรับประทานเข้าไป
                                                 รับประทานเข้าไปจะทาให้ปวด             จะทาให้ใจสัน กล้ามเนือกระตุก
                                                                                                      ่        ้
                                                 หลัง ปวดศีรษะ อาเจียน หายใจ           อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว
                                                 ไม่สะดวก ปวดท้อง
2.สารอาหารกันเสีย                                      3.สีผสมอาหาร


ปรอท จะสะสมในสมองทาให้ประสาทหลอน เป็น                 ฟอร์มาลีน (น้้ายาดองศพ) พบในผัก
อัมพาต ถ้าผู้หญิงที่ตั้งครรภ์รับประทานเข้าไปจะทาให้   สด อาหารทะเลสด และเนื้อสัตว์ เมื่อ
ระบบประสาทของทารกในครรภ์ถูกทาลาย                      รับประทานเข้าไปจะทาให้เกิดอาการปวด
                                                      ท้องอย่างรุนแรง ท้องเสีย อาเจียน หมด
                                                      สติ
กรดซาลิซิลิก ใช้ป้องกันเชื้อรา พบใน
ผักดอง แหนม หมูยอ เมื่อ
รับประทานเข้าไปจะทาให้หูอื้อ มีไข้                    ตะกั่ว ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดง
อาเจียน และอาจเสียชีวิตได้                            และเซลล์สมอง ทาให้เป็นอัมพาต


                                                      แคดเมียม เป็นอันตรายต่อปอดและไต

                                                      โครเมียม เป็นอันตรายต่อปอดและผิวหนัง
การป้องกันอันตรายจากสารปนเปื้อน
                        ผลไม้                                                 อาหารทะเล
โรคที่พบ ได้แก่ ระบบตับ ไต กระเพาะอาหารผิดปกติจาก        โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการที่มีสารเคมี
การที่มีสารเคมีสะสมอยู่ในร่างกาย                         สะสมอยู่ในร่างกาย โรคภูมิแพ้จากยาปฏิชีวนะ
วิธีการป้องกัน บริโภคผลไม้ตามฤดูกาล ล้างและปลอก          วิธีการป้องกัน เลือกรับประทานอาหารสด เนื้อไม่
เปลือกผลไม้ทุกครั้งก่อนที่จะรับประทาน                    เปื่อยยุ่ย วางแช่น้าแข็ง
    เนื้อไก่                                             ผักสด                   เนื้อวัว
  โรคที่พบ ได้แก่ โรคภูมิแพ้จากยา     โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการที่มี       โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการสะสม
  ปฏิชีวนะ โรคไข้รากสาดเทียม          สารเคมีสะสมอยู่ในร่างกาย โรคพยาธิจาก       ของสารเคมี โรคพยาธิ วิธีการป้องกัน
  วิธีป้องกัน เลือกซื้อเนื้อที่มีสี   ไข่พยาธิที่ติดมากับผัก                     คือ เลือกซื้อเนื้อวัวที่มีสีตามธรรมชาติ
  ธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการบริโภคคอ      วิธีการป้องกัน เลือกรับประทานผักที่มีรู    ซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และปรุงอาหาร
  และหัวไก่                           พรุน และล้างผักให้สะอาด                    ด้วยความร้อนสูง

  อาหารที่เรารับประทานกันอยู่ในปัจจุบันมักพบสารปนเปื้อนต่างๆ ได้แก่ สารเร่งเนื้อแดง
  สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารบอแรกช์ และยาฆ่าแมลง ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีสาร
  ปนเปื้อนเหล่านี้เป็นประจาจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งสูง ซึ่งขณะนี้สาเหตุการ
  ตายอันดับ 1 ของคนไทยคือการป่วยเป็นโรคมะเร็งประมาณปีละ 45,000 คน
  กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทาโครงการ “อาหารปลอดภัย” ด้วยการตรวจสอบสาร
  ปนเปื้อนในอาหารสดในตลาดทั่วประเทศไทย ผู้ขายรายใดที่ฝ่าฝืนยังจาหน่ายอาหาร
  ปนเปื้อนสารพิษจะมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท และจาคุกไม่เกิน 2 ปี
สารเสพติดกับการป้องกัน

      สารเสพติด หมายถึง สิงที่เสพเข้าไปแล้วจะทาให้เกิดความต้องการที่จะเสพสารนั้นใน
                             ่
ปริมาณที่เพิ่มขึ้นและไม่สามารถหยุดเสพได้ มีผลทาให้ร่างกายทรุดโทรมสภาวะจิตใจผิดปกติ

      องค์การอนามัยโลกได้แบ่งสารเสพติดออกเป็น 7 ประเภทด้วยกันคือ กดสมอง
หลอนประสาท ยานอนหลับ กระตุ้นสมอง กดประสาท เครื่องดื่มมึนเมา และสารเสพติดชนิด
อื่นๆ
สารเสพติดประเภทกดสมอง
สารเสพติดประเภทกดสมอง ได้แก่
• ฝิ่น (opium)                                     • เฮโรอีน (heroin)
• ลักษณะ เป็นยางสีน้าตาลที่ได้จากการกรีดดอกฝิ่น    •   ลักษณะ เป็นผงสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น
  มีกลิ่นเหม็นเขียว และมีรสขม                          สังเคราะห์จากมอร์ฟีน
  เรียกว่า “ฝิ่นดิบ” เมื่อนาไปเคี่ยวจะได้ฝิ่นสุก   •   การออกฤทธิ์ กดประสาทอย่างรุนแรง
• การออกฤทธิ์ มีสารแอลคาลอยด์ ซึ่งมีฤทธิ์กด        •   วิธีเสพ สูบ สูดดม ฉีด
  ประสาท                                           •   อาการของผู้เสพ มึนงง เซื่องซึม เคลิบเคลิ้ม
• วิธีเสพ สูบ รับประทาน                                คลื่นไส้ อาเจียน ร่างกายทรุดโทรม ประสาท
• อาการของผู้เสพ เซื่องซึม อารมณ์ดี ความคิดช้า         เสื่อม
  ร่างกายซูบผอม อ่อนเพลีย                          •   บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
• บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ                 5,000-100,000 บาท
  5,000-100,000 บาท                                •   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ
• การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ               ประเภทที่ 2
  ประเภทที่ 2
•   มอร์ฟีน (morphine)
•   ลักษณะ เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว
    ไม่มีกลิ่น รสขม สกัดจากฝิ่น
•   การออกฤทธิ์ กดประสาทส่วนกลาง
    ออกฤทธิ์รุนแรงกว่าฝิ่น 8-10 เท่า
•   วิธีเสพ รับประทาน ฉีด
•   อาการของผู้เสพ ม่านตาหรี่ คลื่นไส้
    อาเจียน รู้สึกสบาย คลายความเจ็บปวด
•   บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี
    ปรับ 5,000-100,000 บาท
สารเสพติดประเภทหลอนประสาท
สารเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่
• ยาอี (ecstasy,love                        • ยาเค (ketamine)
   drog หรือ MDMA)                          • ลักษณะ เป็นผงสีขาว โดยการนายาเคชนิดที่
                                              ใช้ฉีดมาทาเป็นผง
• ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน ด้านหนึ่งนูนหรือ
  เรียบ มีรูปดอกไม้ การ์ตูน มีสีต่างๆ ได้   • การออกฤทธิ์ หลอนประสาท
• สีขาว สีเหลือง สีส้ม สีชมพู               • วิธีเสพ สูดดม สูบ มักเสพร่วมกับยาอี
                                              เฮโรอีน หรือโคเคน
• การออกฤทธิ์ หลอนประสาท
                                            • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 18-24 ชั่วโมง
• วิธีเสพ รับประทาน
                                            • อาการของผู้เสพ ประสาทหลอน ความคิด
• ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 6-8 ชั่งโมง             สับสน มึนงง ถ้าเสพติดต่อกันนานๆ จะ
• อาการของผู้เสพ อารมณ์ดี เคลิบเคลิ้ม       • ทาให้เป็นโรคจิต
  ประสาทหลอน ความคิดสับสน หัวใจเต้นเร็ว
  นอนไม่หลับ                                • บทลงโทษ จาคุก 1-5 ปี ปรับ
                                              20,000-100,000 บาท
• บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
  5,000-100,000 บาท                         • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้
                                              โทษประเภทที่ 2
• ควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ
  ประเภทที่ 1
•   แอล เอส ดี                               • กัญชา (cannabis)
•   ลักษณะ เป็นผลึก ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่   • ลักษณะ กัญชาเป็นพืชล้มลุกชนิดหนึง ใช้
                                                                                  ่
    มีรส พบในรูปแบบของกระดาษซับ                ใบหรือยอดเกสรตัวเมียมาตากแห้งแล้วอัด
    แผ่นวุ้น                                   เป็นแท่ง
•   การออกฤทธิ์ หลอนประสาท                   • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาทและกด
•   วิธีเสพ รับประทาน                          ประสาท
•   ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 8-12 ชั่วโมง         • วิธีเสพ สูบ รับประทาน
•   อาการของผู้เสพ ประสาทหลอนอย่าง           • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่วโมง
    รุนแรง ขาดสติ ควบคุมตนเองไม่ได้ ถ้า      • อาการของผู้เสพ ร่าเริง หัวเราะง่าย ต่อมา
    เสพเป็น                                    จะมีอาการคล้ายคนเมาสุรา เพ้อคลั่ง
•   ระยะเวลานานอาจทาให้เป็นโรคจิตได้           หวาดระแวง
•   บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี          • บทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน
    ปรับ 5,000-100,000 บาท                     10,000 บาท
•   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพ            • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด
    ติดให้โทษประเภทที่ 2                       ให้โทษประเภทที่ 5
สารเสพติดประเภทยานอนหลับ
         ยานอนหลับส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นผงสีขาวบรรจุอยู่ในแคปซูลสีฟ้าแดง
  สามารถแบ่งประเภทของยานอนหลับได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
• 1.กลุ่มบาร์บิทูเรต เป็นกลุ่มที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ฟีโนบาร์ และ
  เวลาเซโคนาล ที่เรียกกันว่า เหล้าแห้ง ไก่แดง ปีศาจแดง
• 2.กลุ่มเบนโซไดอะซีปนส์ เป็นกลุ่มที่นิยมใช้ในปัจจุบน เพื่อรักษาอาการนอนไม่
                         ิ                             ั
  หลับ คลายความกังวล เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะเกิดอาการติดยา
• การออกฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง ระงับการทางานของระบบประสาท
  คลายความวิตกกังวล คลายกล้ามเนื้อ ยับยั้งอาการชัก ทาให้หลับ เมื่อใช้ไปนานๆ
  จะทาให้เกิดอาการดื้อยาได้
สารเสพติดประเภทกระตุ้นสมอง
สารเสพติดประเภทกระตุนสมอง ได้แก่
                    ้
•   แอมเฟตามีน(amphetamine)
    เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายาบ้า ยาม้า หรือยาขยัน
•   ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน มีสีต่างๆ เช่น สี
    ขาว สีน้าตาล สีส้ม สีเหลือง สีม่วง มี
    สัญลักษณ์บนเม็ดยา เช่น w ที่เป็นผลึก
    ใส เรียกว่า“ice” ซึ่งก็คือเมทแอมเฟตามีน
•   การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท
•   วิธีเสพ รับประทาน สูดดม สูบ หรือฉีด
•   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่งโมง
•   อาการของผู้เสพ เบื่ออาหาร ตื่นเต้นไม่รู้สึก
    ง่วง ฉุนเฉียว เกิดอาการทางจิต ประสาท
    หลอน เพ้อคลั่ง หวาดระแวง วิตกกังวล
•   บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
    5,000-100,000 บาท
•   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้
    โทษประเภทที่ 1
• โคเคน (cocaine)                        •   กระท่อม (khatom)
• ลักษณะ เป็นผงละเอียดสีขาว มีรสขม ไม่   •   ลักษณะ กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาด
  มีกลิ่น                                    กลาง มีแก่น เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบคล้าย
• การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท                  ฝรั่ง
• วิธีเสพ สูดดม สูบ ฉีด                  •   การออกฤทธิ์ มีสารมิตราจินีนซึ่งมีฤทธิ์
                                             กระตุ้นประสาท
• ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง
                                         •   วิธีเสพ รับประทานโดยบดให้เป็นผง
• อาการของผู้เสพ เกิดอาการเคลิบเคลิ้ม
                                             แล้วชงด้วยน้าร้อน
  ตื่นเต้น มีความมั่นใจสูง เมื่อเสพใน
  ปริมาณ                                 •   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ กระตุ้น
                                             ประสาท
• มากจะเกิดอาการประสาทหลอน
                                         •   อาการของผู้เสพ อารมณ์แจ่มใส
• บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี            คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ผิวหนังกร้าน
  ปรับ 5,000-100,000 บาท
                                             ดาหรือเกรียม
• การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด
  ให้โทษประเภทที่ 2
สารเสพติดประเภทกดประสาท
สารเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่               • สารระเหย ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว น้ายาทา
                                                 เล็บ สีสเปรย์ ลูกโป่งวิทยาศาสตร์
• ยาแก้ไอผสมโคเคอีน                          •   ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีส่วนผสมของ
• ลักษณะ ยาปรุงน้าเชื่อม มีสีน้าตาลดา            ทินเนอร์หรือแลคเกอร์
• การออกฤทธิ์ กดประสาท                       •   การออกฤทธิ์ กดประสาท
                                             •   วิธีเสพ สูดดม
• วิธีเสพ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง ดื่มโดยผสม
                                             •   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่
  กับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือน้าอัดลม       กับปริมาณที่เสพ
• ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 4-6 ชั่วโมง          •   อาการของผู้เสพ ตื่นเต้น รู้สึกเป็นสุข ร่าเริง
• อาการของผู้เสพ ง่วงซึม มึนเมา เมื่อเสพ         อาการคล้ายคนเมาสุรา พูดไม่ชัด ความคิดสับสน
  มากจะมีอาการเคลิ้มฝัน                          เหม่อซึม ง่วงนอน
                                             •   บทลงโทษ ถ้าผู้เสพอายุไม่เกิน 17 ปี บทลงโทษ
• การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด               นั้นขึ้นอยู่กับการพิจารณาของศาล ถ้าผู้เสพอายุ 17
  ให้โทษประเภทที่ 3                              ปี ขึ้นไป จาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน
                                                 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
                                             •   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารระเหยตามพระ
                                                 ราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.
                                                 2533
สารเสพติดประเภทเครื่องดื่มมึนเมา
ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอทิลแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี สุราขาว เป็นต้น
การออกฤทธิ์ กดสมองตั้งแต่สมองส่วนหน้าถึงก้านสมอง
วิธีเสพ ดื่ม
อาการของผู้เสพ ตาพร่า การได้ยินผิดปกติ การรับรส กลิ่น
และสัมผัสเสื่อมลงจนนอนหลับในที่สุด
สารเสพติดชนิดอื่นๆ
สารเสพติดชนิดอื่นๆ ได้แก่
1.บุหรี่
ลักษณะ ผลิตจากใบสูบที่ผ่านการตากแห้งแล้ว มีสารนิโคตินเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ซึ่งเป็นสารแอลคาลอยด์ที่มีสมบัติเป็นน้ามัน
วิธีเสพ สูบ
อาการของผู้เสพ กระตุ้นระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ ทาให้หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก
ถุงลมโป่งพอง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
2.ยาลดความอ้วน
ลักษณะ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของแคปซูลที่มีสีสันหลากหลาย
การออกฤทธิ์ คล้ายยาบ้า เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะทาให้นอนไม่หลับ กระวนกระวาย
ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ปากแห้ง
วิธีเสพ รับประทาน
การควบคุมตามกฎหมาย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518
การป้องกันสารเสพติด
การป้องกันในครอบครัว โดยการให้ความรัก                              การป้องกันในสถานศึกษา โดยการจัดกิจกรรม
ความอบอุ่น ความเข้าใจ พูดคุยถึงโทษของ                              ต่อต้านสารเสพติด รณรงค์ป้องกันสารเสพติด
สารเสพติดร่วมกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว                            จัดให้มีการทัศนศึกษาที่สถานบาบัดผู้ติดสาร
                                                                   เสพติด




                                       วิธีการป้องกันการเสพสารเสพติด
การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม                                  การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม
สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่                                 สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่
และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่                              และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่
บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ                                  บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ
กิจกรรมต้านสารเสพติด                                              กิจกรรมต้านสารเสพติด

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...Janejira Meezong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
สารอาหารให้พลังงาน
สารอาหารให้พลังงานสารอาหารให้พลังงาน
สารอาหารให้พลังงานAobinta In
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
สารอาหารให้พลังงาน
สารอาหารให้พลังงานสารอาหารให้พลังงาน
สารอาหารให้พลังงาน
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
Food ao
Food aoFood ao
Food ao
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 

Similar a สารอาหารไม่ให้พลังงาน

งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์manasapat
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก KM117
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพZee Gopgap
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for ImmunityPha C
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยยguest3494f08
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good healthPiyaratt R
 

Similar a สารอาหารไม่ให้พลังงาน (20)

งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
Vit minerals 62bf
Vit minerals 62bfVit minerals 62bf
Vit minerals 62bf
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
 
อาหารสำหรับสมอง
อาหารสำหรับสมองอาหารสำหรับสมอง
อาหารสำหรับสมอง
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for Immunity
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good health
 

Más de Aobinta In

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมAobinta In
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1Aobinta In
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Aobinta In
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพAobinta In
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินAobinta In
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบAobinta In
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยAobinta In
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลกAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 

Más de Aobinta In (20)

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพ
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แร่1
แร่1แร่1
แร่1
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหิน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLas
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลก
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 

สารอาหารไม่ให้พลังงาน

  • 1. รายวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. รายวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย วิตามิน ร่างกายต้องการวิตามินในปริมาณน้อยมาก แต่มีความจาเป็นต้องได้รับ เพราะมี บทบาทในการควบคุมปฏิกิริยาเคมีต่างๆในร่างกาย ซึงจะช่วยให้เซลล์ต่างๆในร่างกาย ่ สามารถเจริญเติบโต และทาหน้าที่ได้อย่างเป็นปกติ วิตามินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ -วิตามินไม่ละลายในน้าหรือวิตามินละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน A D E และ K -วิตามินละลายในน้าได้แก่ วิตามินB ชนิดต่างๆ และวิตามินC
  • 3. วิตามินละลายในไขมัน วิตามิน ประโยชน์ ผลการขาด วิตามิน A พบใน ช่วยบารุงสายตาและผิวหนัง จะทาให้เด็กไม่เจริญเติบโต อาหารจาพวก ไข่ ผัก ช่วยสร้างเคลือบฟัน ผู้ใหญ่ตามองไม่เห็นในที่ ผลไม้ สลัว ตาอักเสบ วิตามิน D ช่วยในการดูดซึมแคลเซียม พบในอาหารจาพวก จะทาให้เกิดโรคกระดูกอ่อนและ ฟอสฟอรัส ฟันผุ นมแปรรูป ปลา ไข่ ตับ ช่วยรักษากระดูกและฟัน สร้างโดยเซลล์ผิวหนังเมื่อ ถูกแสงแดด
  • 4. วิตามิน ประโยชน์ ผลการขาด วิตามิน E ช่วยรักษาเซลล์เม็ดเลือดแดง จะทาให้เป็นหมัน กล้ามเนื้อลีบ พบในอาหารจาพวก ป้องกันการเป็นหมันและแท้งลูก โลหิตจาง เนื่องจากเม็ดเลือด เมล็ดข้าว ถั่ว ผักใบเขียว ธัญพืช ช่วยสร้างเอนไซม์หลายชนิด แดงแตก วิตามิน K พบในอาหารจาพวก ช่วยให้เลือดแข็งตัว จะทาให้มีอาการเลือดออกง่าย ตับ นม ผักใบเขียวหรือเหลือง ไม่แข็งตัว สร้างโดยการสังเคราะห์แสงของ แบคทีเรียในลาไส้
  • 5. วิตามินละลายในน้้า วิตามิน ประโยชน์ ผลจากการขาด วิตามิน B1 บารุงประสาทและหัวใจ จะทาให้มีอาการเหน็บชา พบในอาหารจาพวก ช่วยย่อยคาร์โบไฮเดรต อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร หงุดหงิด เนื้อสัตว์ ข้าวซ้อมมือ ถั่ว เห็ด วิตามิน B2 ช่วยให้การเจริญเติบโตเป็นไปตาม จะทาให้เกิดโรคปากนกกระจอก พบในอาหารจาพวก ปกติ ผิวหนังอักเสบ แห้ง แตก ผักยอดอ่อน เนยแข็ง ตับ ไข่ บารุงผิวหนัง ลิ้น ตา และปวดศีรษะ วิตามิน B6 ช่วยรักษาสุขภาพเหงือกและฟัน จะทาให้มีอาการบวม เบื่ออาหาร พบในอาหารจาพวก ช่วยรักษาเส้นเลือดและเม็ดเลือดแดง ประสาทเสื่อม เป็นโรคโลหิตจาง เนื้อสัตว์ ข้าวโพด มันฝรั่ง ตับ ช่วยในการทางานของระบบย่อย ผิวหนังแห้ง
  • 6. วิตามิน ประโยชน์ ผลจากการขาด วิตามิน B12 ช่วยรักษาสุขภาพของระบบประสาท จะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง พบในอาหารจาพวก จาเป็นต่อการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง ประสาทเสื่อม ตับ เนย เนื้อปลา หอย กะปิ ป้องกันโรคโลหิตจาง ต้านทานการติดเชื้อ จะทาให้เป็นโรคลักปิดลักเปิด วิตามิน C ป้องกันเลือดออกตามไรฟัน พบในอาหารจาพวก เหงือกบวม กระดูกอ่อน ช่วยในการดูดซ่อมอาหารอื่นภาย เป็นหวัดง่าย ผลไม้ ผักใบเขียว ในร่างกาย ช่วยในการต่อกระดูกรักษาบาดแผล จาเป็นต่อการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ช่วยทาให้ผนังหลอดเลือดแข็ง ไม่เปราะหรือแตกง่าย
  • 8. การทดสอบวิตามิน C หยดสารละลายไอโอดีน หยดสารละลายไอโอดีน หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 น้าแป้งสุก น้าแป้งสุก ได้สารละลายสีน้าเงิน ได้สารละลายสีน้าเงิน ทดสอบวิตามินซี ทดสอบวิตามินซี หยดสารละลาย หลอดที่ 2 หยดน้าผลไม้ที่ หลอดที่ 1 วิตามินซี 0.001% ต้องการทดสอบ
  • 9. แร่ธาตุ ร่างกายต้องการใช้แร่ธาตุในปริมาณน้อย แต่แร่ธาตุก็มีความจาเป็น ต่อร่างกาย แร่ธาตุเป็นสารอาหารที่ไม่ได้สร้างจากสิ่งมีชีวิต แต่เป็นสาร ที่พืชดูดซึมขึ้น มาจากดินผ่านทางราก เราจึงได้แร่ธาตุต่างๆจากการ รับประทานผัก และผลไม้ ดังนั้นในแต่ละวันเราควรรับประทานอาหาร หลายๆชนิด เพื่อให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุที่จาเป็นครบถ้วน ร่างกายมีส่วนประกอบของธาตุอยู่แล้ว คือ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน และไนโตรเจน ซึ่งธาตุทั้ง 4 ได้รับจาก สารอาหาร คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน นอกจากธาตุทั้ง 4 ที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายธาตุอื่นๆ ที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า แร่ ธาตุ ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม เหล็ก ไอโอดีน คลอรีน ฟลูออรีน ฯลฯ
  • 10. แร่ธาตุที่เป็นต่อร่างกาย แร่ธาตุ ประโยชน์ ผลจากการขาด แคลเซียม เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน จะทาให้เป็นโรคกระดูกอ่อน พบในอาหารจาพวก ช่วยในการทางานของหัวใจ เลือดแข็งตัวได้ช้า ระบบทางาน นม เต้าหู้ เนย ผักใบเขียว กล้ามเนื้อ และประสาท ของหัวใจไม่ปกติ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ฟอสฟอรัส จะทาให้เกิดโรคกระดูกอ่อน พบในอาหารจาพวก ช่วยในการสร้างกระดูกและฟัน ช่วยสร้างเซลล์สมองและประสาท การยืด และหดตัวของ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ตับ กล้ามเนื้อไม่ดี ช่วยในการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
  • 11. แร่ธาตุ ประโยชน์ ผลจากการขาด โพแทสเซียม ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย จะทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง พบในอาหารจาพวก จาเป็นต่อการทางานของกล้ามเนื้อ ปลา ผัก ผลไม้ นม และประสาท โซเดียม ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย จะทาให้เกิดอาการเบื่ออาหาร พบในอาหารจาพวก เป็นส่วนประกอบของน้าย่อย เป็นตะคริว เกลือแกง อาหารทะเล เนื้อปลา ช่วยให้ระบบประสาททางานได้ปกติ
  • 12. แร่ธาตุ ประโยชน์ ผลจากการขาด แมกนีเซียม จาเป็นต่อการทางานของกล้ามเนื้อ จะทาให้เกิดอาการชัก เกิดความ พบในอาหารจาพวก และประสาท ผิดปกติของระบบประสาทและ เนื้อวัว ธัญพืช ผัก ถั่ว นม เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน กล้ามเนื้อ ช่วยกระตุ้นให้เอนไซม์ทางาน เหล็ก เป็นส่วนประกอบของเฮลโมโกลบิน พบในอาหารจาพวก จะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง ในเม็ดเลือดแดง อ่อนเพลีย ตับ ไข่แดง ผลไม้ตากแห้ง ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
  • 13. แร่ธาตุ ประโยชน์ ผลจากการขาด ไอโอดีน ช่วยในการเจริญเติบโต จะทาให้เกิดโรคคอพอก พบในอาหารจาพวก เป็นส่วนประกอบสาคัญของฮอร์โมน แคระแกร็น เชื่องช้าทั้งความคิด อาหารทะเล เกลือผสมไอโอดีน ซึ่งช่วยในการปลดปล่อยพลังงาน และอากัปกริยา ปลา คลอรีน ช่วยรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย จะทาให้การถ่ายไม่ปกติ พบในอาหารจาพวก ช่วยย่อยอาหาร เกลือแกง ซอสถั่วเหลือง ฟลูออรีน ช่วยสร้างกระดูกและฟัน จะทาให้ฟันผุง่าย พบในอาหารจาพวก ป้องกันฟันผุ ชา ปลา อาหารทะเล
  • 14. น้้า น้าเป็นสารอาหารที่มีความจาเป็นต่อร่างกายอย่างมาก เนื่องจากเป็นส่วนประกอบของเซลล์ ทุกเซลล์ในร่างกาย ในร่างกายของคนเรามีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ 50-70% ของน้าหนักตัว โดยทั่วไปเพศชายมีมากกว่าเพศหญิง ความส้าคัญของน้้าต่อร่างกาย 1.ช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 2.ช่วยทาละลายสารต่างๆที่มีความสาคัญต่อร่างกาย เช่น เกลือแร่ น้าตาล โปรตีน และวิตามิน 3.ช่วยในการย่อยอาหาร กาจัดของเสียออกทางเหงื่อ และปัสสาวะ 4. ช่วยในการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย 5.ป้องกันการเสียดสีของอวัยวะในร่างกาย 6.ในภาวะปกติควรดื่มน้าให้ได้วันละ 2 ลิตร
  • 15. พีระมิดอาหาร พีระมิดอาหาร เป็นการแนะนาการบริโภคสารอาหารทั้ง 6 ชนิดในแต่ละวัน วัยรุ่นจะต้อง บริโภคอาหารในปริมาณที่เพิ่มขึ้นจากที่กาหนดไว้ทุกกลุ่ม ยอดพีระมิดเป็นอาหาร พวกไขมันได้แก่ น้ามัน ของหวานต่างๆซึ่งควร บริโภคในปริมาณน้อย เนื้อสัตว์ ปลาถั่ว นม โยเกิร์ต เนย ไข่ 2-3 หน่วย แข็ง 2-3 หน่วย บริโภค บริโภค พืชผักต่างๆ 3-5 หน่วย บริโภค ร่างกายต้องการ ปริมาณมากรองจาก ฐานพีระมิดเป็นอาหาร คาร์โบไฮเดรต พวกคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ข้าว แป้ง ขนมปัง 6-11 หน่วยบริโภค
  • 16. ทุพโภชนาการ ทุพโภชนาการ คือ ภาวะโภชนาการที่ไม่ดีซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทด้วยกันคือภาวะขาดสารอาหาร และ ภาวะโภชนาการเกิน ดังนี้ 1)ภาวะขาดสารอาหาร หมายถึง ภาวะที่เกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารที่ไม่ได้ สัดส่วนปริมาณหรือหลากหลายเพียงพอกับความต้องการของร่างกายซึ่งมีผลทาให้ร่างกายมีสุขภาพไม่ แข็งแรง อาจก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ง่าย 2)ภาวะโภชนาการเกิน หมายถึง ภาวะที่เกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารที่เกินต่อ ความต้องการของร่างกาย เช่น บริโภคอาหารที่ให้พลังงานเกินกว่าที่ร่างกายจะใช้ หรือการได้รับวิตามิน มากเกินไป เช่น วิตามินเอ วิตามินดี อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้
  • 17. โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนตามทีร่างกายต้องการ ่ โรคที่เกิดจากการขาดวิตามิน โรคทีเกิดจากการขาดแร่ธาตุ -ขาดวิตามินเอ ทาให้เป็นโรคตาฟาง -ขาดธาตุเหล็กทาให้เป็นโรคโลหิตจาง -ขาดวิตามินบี1 ทาให้เป็นโรคเหน็บชา -ขาดธาตุไอโอดีนทาให้เป็นโรคคอพอก สติปัญญาเสื่อม -ขาดวิตามินบี2 ทาให้เป็นโรค -ขาดธาตุโซเดียมทาให้เบื่ออาหาร เป็นตะคริว ชัก ปากนกกระจอก -ขาดธาตุแมกนีเซียมทาให้กล้ามเนื้อกระตุก -ขาดวิตามินซีทาให้เป็นโรคลักปิดลักเปิด -ขาดวิตามินดี ทาให้เป็นโรคกระดูกอ่อน โรคที่เกิดจากการขาดโปรตีน -ขาดวิตามินทาให้เป็นโรคเลือดแข็งตัวช้า -ร่างกายอ่อนแอเจริญเติบโตช้า -ภูมิต้านทานต่าติดโรคได้ง่าย -พัฒนาการทางด้านสติปัญญา ล่าช้า
  • 18. โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารบางชนิดที่ไม่เหมาะสม โรคปวดตามข้อ โรคอ้วน -รับประทานโปรตีนจากสัตว์ -รับประทานอาหาร ปีกและเครื่องในมากเกินไป ประเภทคาร์โบไฮเดรต และไขมันมากเกินไป การรับประทานอาหารบางประเภทมากเกินไป ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง โรคเบาหวาน -รับประทานอาหารจากสัตว์ปีก -รับประทานอาหารประเภทน้าตาล มากเกินไป มากเกินไป -การทางานของฮอร์โมนอินซูลิน ผิดปกติ -มีน้าตาลกลูโคสปนออกมากับ ปัสสาวะ
  • 19. การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ 9 ประการ 1) กินอาหารครบ 5 หมู่ 2) กินข้าวเป็นอาหารหลัก 3) กินพืชผักให้มาก 4) กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจ้า 5) ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย 6) กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร 7) หลีกเลี่ยงการกินอาหรรสหวานจัดและเค็มจัด 8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน 9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
  • 20. การรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วน ปริมาณที่ร่างกายต้องการตามความเหมาะสมกับเพศ วัย และการทางาน พลังงานของร่างกายได้มาจากอาหาร ปริมาณอาหารที่เรารับประทานจึงมีความสัมพันธ์กับพลังงานที่ร่างกาย ต้องการ ดังนั้นในแต่ละวันเราจึงต้องการพลังงานจากสารอาหารเพื่อนาไปใช้ในการทากิจกรรมต่างๆ ในปริมาณ ทีแตกต่างขึ้นอยู่กับเพศ วัย สภาพร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละบุคคล เพื่อสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เพศต่างกัน อายุเท่ากัน เพศ เพศเดียวกัน อายุเท่ากัน แต่อาชีพ ชายต้องการพลังงาน ต่างกันชายที่มีอาชีพเป็นกรรมกร ใช้พลังงานมากกว่าชายที่มีอาชีพ มากกว่าเพศหญิง ความต้องการพลังงานของ เป็นเลขานุการ แต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน ไปในแต่ละวัน เพศเดียวกัน อายุเท่ากัน แต่สภาพ เพศเดียวกันอายุไม่เท่ากันต้องการ ร่างกายต่างกันความต้องการพลังงาน พลังงานต่างกัน วัยที่กาลังเจริญเติบโต ต่างกัน หญิงมีครรภ์อายุ 25ปี และ ซึ่งต้องทากิจกรรมมากจะใช้พลังงาน หญิงอายุ 25 ปีที่ต้องให้นมบุตร มาก ต้องการพลังงานมากกว่าหญิงมีครรภ์
  • 21. สารปนเปื้อนในอาหาร อาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนี้มีหลายชนิดที่มีสารพิษเจือปน เมื่อบริโภคแล้วจะทาให้ ผู้บริโภคเกิดการเจ็บป่วยได้ สารพิษที่ปะปนในอาหารสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2.สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ ไวรัสทาให้เกิดโรคตับอักเสบ แบคทีเรียทาให้เกิดโรคท้องเสีย อหิวาตกโรค ไวรัสทาให้เกิดโรคไข้หวัดนก อะฟลาทอกชินทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สารพิษในพืชหรือสัตว์ - เห็ดมีพิษบางชนิด - ผักขี้หนอน พยาธิบางชนิด - ปลาปักเป้า - พยาธิใบไม้ในตับเกิดจากการรับประทานปลาดิบที่มี - แมงดาทะเล ไข่พยาธิ ซึ่งไข่พยาธิจะเจริญเติบโตในร่างกาย ทาให้ตับ ถ้ามีสารพิษอยู่ในอาหาร เมื่อเรา แข็งและตายในที่สุด รับประทานเข้าไปอาจเป็น อันตรายถึงชีวิตได้
  • 22. สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่เกิดจากการกระท้าของมนุษย์ สิ่งปนเปื้อนในอาหารมี 2 ลักษณะคือ สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารโดยไม่ตั้งใจ สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์ สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารโดย สิ่งเป็นพิษที่ปนเปื้อนในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์ ไม่ได้ตั้งใจ 1.สารปรุงแต่งกลิ่นรสของอาหาร น้าตาลเทียมบางชนิดทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ -ปุ๋ยเคมีที่ใช้เร่งผลผลิตของ สารที่ใส่ในอาหารเพือให้กรอบ เช่น ่ บอแรกช์ น้าประสานทอง เป็นต้น พบ น้าส้มสายชูปลอมปนกับกรด -สารเคมีกาจัดศัตรูพืชพืช ในหมูบด ลูกชิ้นปลาบด ไส้กรอก ซัลฟิวริก ทาให้เกิดการกัด ผลไม้ดอง ซึ่งจะเป็นพิษต่อตับ ไต และ กร่อนทางเดินอาหาร -ฮอร์โมนเร่งผลผลิตในพืช ระบบทางเดินอาหาร -อาหารสัตว์สาเร็จรูป สารฟอกขาว เช่น โซเดียม ไฮโดรซัลไฟด์ เป็นต้น พบใน สารเคมีที่ชื่อว่า ซาลมูทามอล ซึ่ง -ยารักษาโรคในสัตว์ ถั่วงอก หน่อไม้ดอง น้าตาล เร่งสีเนื้อหมูให้มีสีแดงสดจะตกค้าง มะพร้าว ทุเรียนกวน เมื่อ ในเนื้อหมู เมื่อรับประทานเข้าไป รับประทานเข้าไปจะทาให้ปวด จะทาให้ใจสัน กล้ามเนือกระตุก ่ ้ หลัง ปวดศีรษะ อาเจียน หายใจ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว ไม่สะดวก ปวดท้อง
  • 23. 2.สารอาหารกันเสีย 3.สีผสมอาหาร ปรอท จะสะสมในสมองทาให้ประสาทหลอน เป็น ฟอร์มาลีน (น้้ายาดองศพ) พบในผัก อัมพาต ถ้าผู้หญิงที่ตั้งครรภ์รับประทานเข้าไปจะทาให้ สด อาหารทะเลสด และเนื้อสัตว์ เมื่อ ระบบประสาทของทารกในครรภ์ถูกทาลาย รับประทานเข้าไปจะทาให้เกิดอาการปวด ท้องอย่างรุนแรง ท้องเสีย อาเจียน หมด สติ กรดซาลิซิลิก ใช้ป้องกันเชื้อรา พบใน ผักดอง แหนม หมูยอ เมื่อ รับประทานเข้าไปจะทาให้หูอื้อ มีไข้ ตะกั่ว ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดง อาเจียน และอาจเสียชีวิตได้ และเซลล์สมอง ทาให้เป็นอัมพาต แคดเมียม เป็นอันตรายต่อปอดและไต โครเมียม เป็นอันตรายต่อปอดและผิวหนัง
  • 24. การป้องกันอันตรายจากสารปนเปื้อน ผลไม้ อาหารทะเล โรคที่พบ ได้แก่ ระบบตับ ไต กระเพาะอาหารผิดปกติจาก โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการที่มีสารเคมี การที่มีสารเคมีสะสมอยู่ในร่างกาย สะสมอยู่ในร่างกาย โรคภูมิแพ้จากยาปฏิชีวนะ วิธีการป้องกัน บริโภคผลไม้ตามฤดูกาล ล้างและปลอก วิธีการป้องกัน เลือกรับประทานอาหารสด เนื้อไม่ เปลือกผลไม้ทุกครั้งก่อนที่จะรับประทาน เปื่อยยุ่ย วางแช่น้าแข็ง เนื้อไก่ ผักสด เนื้อวัว โรคที่พบ ได้แก่ โรคภูมิแพ้จากยา โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการที่มี โรคที่พบ ได้แก่ โรคมะเร็งจากการสะสม ปฏิชีวนะ โรคไข้รากสาดเทียม สารเคมีสะสมอยู่ในร่างกาย โรคพยาธิจาก ของสารเคมี โรคพยาธิ วิธีการป้องกัน วิธีป้องกัน เลือกซื้อเนื้อที่มีสี ไข่พยาธิที่ติดมากับผัก คือ เลือกซื้อเนื้อวัวที่มีสีตามธรรมชาติ ธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการบริโภคคอ วิธีการป้องกัน เลือกรับประทานผักที่มีรู ซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และปรุงอาหาร และหัวไก่ พรุน และล้างผักให้สะอาด ด้วยความร้อนสูง อาหารที่เรารับประทานกันอยู่ในปัจจุบันมักพบสารปนเปื้อนต่างๆ ได้แก่ สารเร่งเนื้อแดง สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารบอแรกช์ และยาฆ่าแมลง ผู้ที่รับประทานอาหารที่มีสาร ปนเปื้อนเหล่านี้เป็นประจาจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งสูง ซึ่งขณะนี้สาเหตุการ ตายอันดับ 1 ของคนไทยคือการป่วยเป็นโรคมะเร็งประมาณปีละ 45,000 คน กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทาโครงการ “อาหารปลอดภัย” ด้วยการตรวจสอบสาร ปนเปื้อนในอาหารสดในตลาดทั่วประเทศไทย ผู้ขายรายใดที่ฝ่าฝืนยังจาหน่ายอาหาร ปนเปื้อนสารพิษจะมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท และจาคุกไม่เกิน 2 ปี
  • 25. สารเสพติดกับการป้องกัน สารเสพติด หมายถึง สิงที่เสพเข้าไปแล้วจะทาให้เกิดความต้องการที่จะเสพสารนั้นใน ่ ปริมาณที่เพิ่มขึ้นและไม่สามารถหยุดเสพได้ มีผลทาให้ร่างกายทรุดโทรมสภาวะจิตใจผิดปกติ องค์การอนามัยโลกได้แบ่งสารเสพติดออกเป็น 7 ประเภทด้วยกันคือ กดสมอง หลอนประสาท ยานอนหลับ กระตุ้นสมอง กดประสาท เครื่องดื่มมึนเมา และสารเสพติดชนิด อื่นๆ
  • 26. สารเสพติดประเภทกดสมอง สารเสพติดประเภทกดสมอง ได้แก่ • ฝิ่น (opium) • เฮโรอีน (heroin) • ลักษณะ เป็นยางสีน้าตาลที่ได้จากการกรีดดอกฝิ่น • ลักษณะ เป็นผงสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น มีกลิ่นเหม็นเขียว และมีรสขม สังเคราะห์จากมอร์ฟีน เรียกว่า “ฝิ่นดิบ” เมื่อนาไปเคี่ยวจะได้ฝิ่นสุก • การออกฤทธิ์ กดประสาทอย่างรุนแรง • การออกฤทธิ์ มีสารแอลคาลอยด์ ซึ่งมีฤทธิ์กด • วิธีเสพ สูบ สูดดม ฉีด ประสาท • อาการของผู้เสพ มึนงง เซื่องซึม เคลิบเคลิ้ม • วิธีเสพ สูบ รับประทาน คลื่นไส้ อาเจียน ร่างกายทรุดโทรม ประสาท • อาการของผู้เสพ เซื่องซึม อารมณ์ดี ความคิดช้า เสื่อม ร่างกายซูบผอม อ่อนเพลีย • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท 5,000-100,000 บาท • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 2
  • 27. มอร์ฟีน (morphine) • ลักษณะ เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว ไม่มีกลิ่น รสขม สกัดจากฝิ่น • การออกฤทธิ์ กดประสาทส่วนกลาง ออกฤทธิ์รุนแรงกว่าฝิ่น 8-10 เท่า • วิธีเสพ รับประทาน ฉีด • อาการของผู้เสพ ม่านตาหรี่ คลื่นไส้ อาเจียน รู้สึกสบาย คลายความเจ็บปวด • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท
  • 28. สารเสพติดประเภทหลอนประสาท สารเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ • ยาอี (ecstasy,love • ยาเค (ketamine) drog หรือ MDMA) • ลักษณะ เป็นผงสีขาว โดยการนายาเคชนิดที่ ใช้ฉีดมาทาเป็นผง • ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน ด้านหนึ่งนูนหรือ เรียบ มีรูปดอกไม้ การ์ตูน มีสีต่างๆ ได้ • การออกฤทธิ์ หลอนประสาท • สีขาว สีเหลือง สีส้ม สีชมพู • วิธีเสพ สูดดม สูบ มักเสพร่วมกับยาอี เฮโรอีน หรือโคเคน • การออกฤทธิ์ หลอนประสาท • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 18-24 ชั่วโมง • วิธีเสพ รับประทาน • อาการของผู้เสพ ประสาทหลอน ความคิด • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 6-8 ชั่งโมง สับสน มึนงง ถ้าเสพติดต่อกันนานๆ จะ • อาการของผู้เสพ อารมณ์ดี เคลิบเคลิ้ม • ทาให้เป็นโรคจิต ประสาทหลอน ความคิดสับสน หัวใจเต้นเร็ว นอนไม่หลับ • บทลงโทษ จาคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000-100,000 บาท • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้ โทษประเภทที่ 2 • ควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1
  • 29. แอล เอส ดี • กัญชา (cannabis) • ลักษณะ เป็นผลึก ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ • ลักษณะ กัญชาเป็นพืชล้มลุกชนิดหนึง ใช้ ่ มีรส พบในรูปแบบของกระดาษซับ ใบหรือยอดเกสรตัวเมียมาตากแห้งแล้วอัด แผ่นวุ้น เป็นแท่ง • การออกฤทธิ์ หลอนประสาท • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาทและกด • วิธีเสพ รับประทาน ประสาท • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 8-12 ชั่วโมง • วิธีเสพ สูบ รับประทาน • อาการของผู้เสพ ประสาทหลอนอย่าง • ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่วโมง รุนแรง ขาดสติ ควบคุมตนเองไม่ได้ ถ้า • อาการของผู้เสพ ร่าเริง หัวเราะง่าย ต่อมา เสพเป็น จะมีอาการคล้ายคนเมาสุรา เพ้อคลั่ง • ระยะเวลานานอาจทาให้เป็นโรคจิตได้ หวาดระแวง • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี • บทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน ปรับ 5,000-100,000 บาท 10,000 บาท • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด ติดให้โทษประเภทที่ 2 ให้โทษประเภทที่ 5
  • 30. สารเสพติดประเภทยานอนหลับ ยานอนหลับส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นผงสีขาวบรรจุอยู่ในแคปซูลสีฟ้าแดง สามารถแบ่งประเภทของยานอนหลับได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ • 1.กลุ่มบาร์บิทูเรต เป็นกลุ่มที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ฟีโนบาร์ และ เวลาเซโคนาล ที่เรียกกันว่า เหล้าแห้ง ไก่แดง ปีศาจแดง • 2.กลุ่มเบนโซไดอะซีปนส์ เป็นกลุ่มที่นิยมใช้ในปัจจุบน เพื่อรักษาอาการนอนไม่ ิ ั หลับ คลายความกังวล เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะเกิดอาการติดยา • การออกฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง ระงับการทางานของระบบประสาท คลายความวิตกกังวล คลายกล้ามเนื้อ ยับยั้งอาการชัก ทาให้หลับ เมื่อใช้ไปนานๆ จะทาให้เกิดอาการดื้อยาได้
  • 31. สารเสพติดประเภทกระตุ้นสมอง สารเสพติดประเภทกระตุนสมอง ได้แก่ ้ • แอมเฟตามีน(amphetamine) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายาบ้า ยาม้า หรือยาขยัน • ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน มีสีต่างๆ เช่น สี ขาว สีน้าตาล สีส้ม สีเหลือง สีม่วง มี สัญลักษณ์บนเม็ดยา เช่น w ที่เป็นผลึก ใส เรียกว่า“ice” ซึ่งก็คือเมทแอมเฟตามีน • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท • วิธีเสพ รับประทาน สูดดม สูบ หรือฉีด • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่งโมง • อาการของผู้เสพ เบื่ออาหาร ตื่นเต้นไม่รู้สึก ง่วง ฉุนเฉียว เกิดอาการทางจิต ประสาท หลอน เพ้อคลั่ง หวาดระแวง วิตกกังวล • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้ โทษประเภทที่ 1
  • 32. • โคเคน (cocaine) • กระท่อม (khatom) • ลักษณะ เป็นผงละเอียดสีขาว มีรสขม ไม่ • ลักษณะ กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาด มีกลิ่น กลาง มีแก่น เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบคล้าย • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท ฝรั่ง • วิธีเสพ สูดดม สูบ ฉีด • การออกฤทธิ์ มีสารมิตราจินีนซึ่งมีฤทธิ์ กระตุ้นประสาท • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง • วิธีเสพ รับประทานโดยบดให้เป็นผง • อาการของผู้เสพ เกิดอาการเคลิบเคลิ้ม แล้วชงด้วยน้าร้อน ตื่นเต้น มีความมั่นใจสูง เมื่อเสพใน ปริมาณ • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ กระตุ้น ประสาท • มากจะเกิดอาการประสาทหลอน • อาการของผู้เสพ อารมณ์แจ่มใส • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ผิวหนังกร้าน ปรับ 5,000-100,000 บาท ดาหรือเกรียม • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด ให้โทษประเภทที่ 2
  • 33. สารเสพติดประเภทกดประสาท สารเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ • สารระเหย ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว น้ายาทา เล็บ สีสเปรย์ ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ • ยาแก้ไอผสมโคเคอีน • ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีส่วนผสมของ • ลักษณะ ยาปรุงน้าเชื่อม มีสีน้าตาลดา ทินเนอร์หรือแลคเกอร์ • การออกฤทธิ์ กดประสาท • การออกฤทธิ์ กดประสาท • วิธีเสพ สูดดม • วิธีเสพ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง ดื่มโดยผสม • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือน้าอัดลม กับปริมาณที่เสพ • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 4-6 ชั่วโมง • อาการของผู้เสพ ตื่นเต้น รู้สึกเป็นสุข ร่าเริง • อาการของผู้เสพ ง่วงซึม มึนเมา เมื่อเสพ อาการคล้ายคนเมาสุรา พูดไม่ชัด ความคิดสับสน มากจะมีอาการเคลิ้มฝัน เหม่อซึม ง่วงนอน • บทลงโทษ ถ้าผู้เสพอายุไม่เกิน 17 ปี บทลงโทษ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด นั้นขึ้นอยู่กับการพิจารณาของศาล ถ้าผู้เสพอายุ 17 ให้โทษประเภทที่ 3 ปี ขึ้นไป จาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารระเหยตามพระ ราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533
  • 34. สารเสพติดประเภทเครื่องดื่มมึนเมา ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอทิลแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี สุราขาว เป็นต้น การออกฤทธิ์ กดสมองตั้งแต่สมองส่วนหน้าถึงก้านสมอง วิธีเสพ ดื่ม อาการของผู้เสพ ตาพร่า การได้ยินผิดปกติ การรับรส กลิ่น และสัมผัสเสื่อมลงจนนอนหลับในที่สุด สารเสพติดชนิดอื่นๆ สารเสพติดชนิดอื่นๆ ได้แก่ 1.บุหรี่ ลักษณะ ผลิตจากใบสูบที่ผ่านการตากแห้งแล้ว มีสารนิโคตินเป็นองค์ประกอบสาคัญ ซึ่งเป็นสารแอลคาลอยด์ที่มีสมบัติเป็นน้ามัน วิธีเสพ สูบ อาการของผู้เสพ กระตุ้นระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ ทาให้หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ถุงลมโป่งพอง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร 2.ยาลดความอ้วน ลักษณะ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของแคปซูลที่มีสีสันหลากหลาย การออกฤทธิ์ คล้ายยาบ้า เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะทาให้นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ปากแห้ง วิธีเสพ รับประทาน การควบคุมตามกฎหมาย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518
  • 35. การป้องกันสารเสพติด การป้องกันในครอบครัว โดยการให้ความรัก การป้องกันในสถานศึกษา โดยการจัดกิจกรรม ความอบอุ่น ความเข้าใจ พูดคุยถึงโทษของ ต่อต้านสารเสพติด รณรงค์ป้องกันสารเสพติด สารเสพติดร่วมกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว จัดให้มีการทัศนศึกษาที่สถานบาบัดผู้ติดสาร เสพติด วิธีการป้องกันการเสพสารเสพติด การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่ สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่ และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่ และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่ บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ กิจกรรมต้านสารเสพติด กิจกรรมต้านสารเสพติด