SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
โดย...นางสาวทัศนียา ชื่นเจริญ
เซลล์คือ หน่วยย่อยขนาดเล็กที่
ประกอบขึ้นเป็นสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
มัตทิอัส ยาคอบ ชไลเดน นักชีววิทยาชาวเยอรมัน
และเทโอดอร์ ชวันน์ ได้ตั้งทฤษฎีเซลล์ มีใจความว่า
“สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วย
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด”
Cell tissue organ system organism
โครงสร้างต่างๆของเซลล์เรียกว่า
ออร์แกเนลล์ (organelle) หรืออวัยวะของเซลล์
ถ้าครูเปรียบเทียบว่า 1 เซลล์เปรียบได้กับ 1 คน
ออร์แกเนลล์ต่างๆ จึงเปรียบเทียบได้กับ ?
อวัยวะต่างๆที่อยู่ภายในร่างกาย
เซลล์พืช
เซลล์สัตว์
โครงสร้างเซลล์
3.นิวเคลียส
2.ไซโทพลาสซึม
1.ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
เซลล์
สาหร่าย
หางกระรอก
onion
skin
cells
onion
skin
cells
เซลล์
ว่าน
กาบ
หอย
เซลล์
ว่าน
กาบ
หอย
โครงสร้างเซลล์
3.นิวเคลียส
2.ไซโทพลาสซึม
1.ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึมของเซลล์ให้คง
รูปร่างและแสดงขอบเขตของเซลล์
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
2. ผนังเซลล์ (cell wall)
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ได้แก่...
1. เยื่อหุ้มเซลล์
(cell membrane)
1. เยื่อหุ้มเซลล์
(cell membrane)
- เยื่อหุ้มเซลล์มีชื่อเรียกได้หลายอย่าง เช่น พลาสมา เมมเบรน
(plasma membrane) ไซโทพลาสมิก เมมเบรน (cytoplasmic
membrane)
- เยื่อหุ้มเซลล์มีความหนาประมาณ 8.5-10 นาโนเมตร
- ประกอบด้วยโปรตีน ลิพิด
- การเรียงตัวของโปรตีนและลิพิดจัดเรียงตัวเป็นสารประกอบ
เชิงซ้อน
-การเรียงตัวในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ยูนิต เมมเบรน (unit membrane)
1. เยื่อหุ้มเซลล์
(cell membrane)
- ส่วนใหญ่ประกอบด้วย
1. Lipid bilayer 2 ชั้น โดยหันด้าน polar head ออกด้านนอก
และหันด้าน nonpolar tail มีโปรตีนแทรกอยู่
2. คอเรสเตอรอล
3. ไกลโคลิพิด
4. ไกลโคโปรตีน
** เรียกการจัดเรียงตัวแบบนี้ว่า ฟลูอิดโมเซอิกโมเดล
(fluid mosaic model) **
1. เยื่อหุ้มเซลล์
(cell membrane)
เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่
หลายประการคือ
1. ห่อหุ้มส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่ข้างในทาให้เซลล์แต่ละ
เซลล์แยกออกจากกัน
2. ช่วยควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ ระหว่างภายในเซลล์และ
สิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติเป็นเซมิเพอร์มีเอเบิล เมมเบรน
(semipermeable membrane) ซึ่งจะยินยอมให้สารบางชนิดเท่านั้น
ที่ผ่านเข้าออกได้ซึ่งการผ่านเข้าออกจะมีอัตราเร็วที่แตกต่างกัน
เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่
หลายประการคือ
3. ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (electrical potential) ของภายในและ
ภายนอกเซลล์เนื่องมาจากการกระจายของไอออนและโปรตีนไม่
เท่ากัน ซึ่งมีความสาคัญในการนาสารพวกไอออนเข้าหรือออกจาก
เซลล์ซึ่งมีความจาเป็นต่อการทางานของเซลล์ประสาทและเซลล์
กล้ามเนื้อมาก
4. เยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่รับสัมผัสสาร ทาให้เกิดการเร่งหรือลดการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์นั้นๆ
ผนังเซลล์ (cell wall)
ผนังเซลล์ พบได้ในสิ่งมีชีวิตหลากชนิด เช่น เซลล์พืช สาหร่าย
แบคทีเรีย และรา ผนังเซลล์ทาหน้าที่ป้องกันและให้ความแข็งแรงแก่
เซลล์โดยที่ผนังเซลล์เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิตของเซลล์
ผนังเซลล์ (cell wall)
ผนังเซลล์บางแห่งมีช่องเล็กๆ ไซโทพลาสซึมสามารถติดต่อกับ
ไซโทพลาสซึมของเซลล์ข้างเคียงได้ เราเรียกว่า “พลาสโมเดสมาตา”
(plasmodesmata)
ผนังเซลล์พืช ประกอบด้วยชั้น
ต่างๆ 3 ชั้น คือ
1. ผนังเชื่อมยึดระหว่างเซลล์ (middle lamella) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์
พืชแบ่งตัวและเป็นชั้นที่เชื่อมระหว่างเซลล์ให้อยู่ติดกัน
2. ผนังเซลล์ปฐมภูมิ(primary wall) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่ม
เจริญเติบโต ประกอบด้วยสารพวก เซลลูโลส เป็นส่วนใหญ่
3. ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary wall) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์หยุด
ขยายขนาดแล้ว โดยมีสารพวก เซลลูโลส คิวทิน ซูเบอริน ลิกนิน
และเพกทินมาเกาะ
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
(primary cell wall หรือ primary wall)
• เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต
• ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส (cellulose) เป็นส่วนใหญ่
• ผนังเซลล์ยึดติดกันด้วยมิดเดิลลาเมลลา (middlelamella)
ซึ่งเป็นชั้นที่อยู่ตรงกลางระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกัน
• (middlelamella) ประกอบด้วยเพกทิน (pectin)
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ
(secondary cell wall หรือ secondary wall)
• มีการสะสมแบบแทรกอยู่ในผนังเซลล์ปฐมภูมิ และ
สะสมซ้อนทับเป็นแนวอยู่ระหว่างเซลล์ ปฐมภูมิและ
เยื่อหุ้มเซลล์
• องค์ประกอบทางเคมีที่สาคัญคือลิกนิน (lignin)
• ทาให้ผนังเซลล์มีความหนาและแข็งแรงมากขึ้น
ภาพผนังเซลล์
ไซโทพลาซึม (cytoplasm)
เป็นส่วนที่ล้อมรอบนิวเคลียสอยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์
โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ
1. เอกโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านนอก
ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะบางใส เพราะมีส่วนประกอบต่างๆ ของ
เซลล์อยู่น้อย
2. เอนโดพลาซึม (endoplasm) เป็นชั้นของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านใน
ใกล้นิวเคลียส ชั้นนี้จะมีลักษณะที่เข้มข้นกว่าเนื่องจากมี ออร์แกเนลล์
(organelle) และอนุภาคต่างๆ ของสารอยู่มาก จึงเป็นบริเวณที่
เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของเซลล์มากด้วย
ไซโทพลาซึม นอกจากแบ่งออกเป็น 2 ชั้น แล้ว
ประกอบด้วย
ไซโทพลาซึม (cytoplasm)
1. ออร์แกเนลล์ (organelle)
2. ไซโทซอล (cytosol)
1. ออร์แกเนลล์ (organelle)
- เป็นส่วนที่มีชีวิต ทาหน้าที่คล้ายๆ กับเป็นอวัยวะ
ของเซลล์
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม
(endoplasmic reticulum:ER)
ประกอบด้วย
โครงสร้างระบบ
ท่อที่มีการเชื่อม
ประสานกันทั้ง
เซลล์แบ่งออกเป็น
2 ชนิดคือ
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดขรุขระ
(rough endoplasmic reticulum:RER)
เป็นชนิดที่มีไรโบโซม มีช่อง
ต่อจาก nuclear pore เพื่อนา RNA
และ Ribisome ออก มีหน้าที่สาคัญ
คือ การสังเคราะห์โปรตีนของไรโบ
โซมที่เกาะอยู่และลาเลียงสารซึ่ง
ได้แก่โปรตีนที่สร้างได้และสาร
อื่นๆ
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดขรุขระ
(rough endoplasmic reticulum:RER)
โปรตีนที่ได้จะถูกส่งต่อไป
ยังกอลจิบอดี และส่งออกนอก
เซลล์หรือเป็นส่วนประกอบของ
เยื่อหุ้มเซลล์
เช่น เซลล์ตับอ่อน
(สร้างน้าย่อยสารอาหารต่างๆ)
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดเรียบ
(smooth endoplasmic reticulum:SER)
เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซม มี
หน้าที่สาคัญคือ กาจัดสารพิษ แหล่ง
รวบรวมแคลเซียมไอออน (เซลล์
กล้ามเนื้อยึดกระดูก และกล้ามเนื้อ
หัวใจ) และลาเลียงสารต่างๆ เช่น
RNA ลิพิดโปรตีนสังเคราะห์สารพวก
ไขมันและสเตอรอยด์ฮอร์โมน
เอนโดพลาสมิก เรติคูลัมชนิดเรียบ
(smooth endoplasmic reticulum:SER)
เช่น ตับ สมอง ต่อม
หมวกไต อัณฑะ และรังไข่
** การกาจัดสารพิษต้องใช้
พลังงาน เพราะฉะนั้นจึง
ต้องคู่กับ mitochondria **
กอลจิบอดี (Golgi body)
มีรูปร่าง
ลักษณะเป็นถุง
แบนๆ ขอบโป่ง
หรือเป็นท่อ
เรียงซ้อนกัน
เป็นชั้นๆ
กอลจิบอดี (Golgi body)
- มีหน้าที่สาคัญคือ รับโปรตีนจาก RER เก็บสะสมสารที่
เซลล์สร้างขึ้นก่อนที่
จะปล่อยออกนอกเซลล์ ซึ่งจะบรรจุถุง vesicle
- ซึ่งสารส่วนใหญ่เป็นสารโปรตีน
- นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการสร้างนีมาโทซีส
(nematocyst) ของไฮดราอีกด้วย และการสร้างผนังเซลล์
เพิ่มเติมในพืช
ไลโซโซม (lysosome)
ไลโซโซม (lysosome)
- รูปร่างกลมรี พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น
- ทางานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด
- มีหน้าที่ที่สาคัญคือ
1. ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์
2. ย่อยหรือทาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่
ร่างกายหรือเซลล์
3. ทาลายเซลล์ที่ตายแล้ว
4. ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ในระยะที่เซลล์มีการ
เปลี่ยนแปลง
ไลโซโซม (lysosome)
เช่น
- เซลล์เม็ดเลือดขาว
- เซลล์หางลูกอ๊อด
แวคิวโอล (vacuole)
เป็นออร์แกเนลล์ที่
มีลักษณะเป็นถุง
โดยทั่วไปจะพบ
ในเซลล์พืชและ
สัตว์ชั้นต่า
แวคิวโอล (vacuole)
มีหน้าที่....
- food vacuole พบในรา โปรโตซัว ทาหน้าที่เก็บ
อาหารที่กินเข้ามา
- Sap vacuole พบในพืช ทาหน้าที่เก็บสารสี
- central vacuole พบในพืช ทาหน้าที่เก็บของเหลว
ช่วยให้เซลล์คงสภาพอยู่ได้
- contractile vacuole พบในโปรโตซัวน้าจืด ทา
หน้าที่กาจัดน้าส่วนเกิน
ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
ส่วนใหญ่จะมี
รูปร่างกลม
ท่อนสั้น ท่อนยาว
หรือกลมรีคล้าย
รูปไข่
ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
- ประกอบด้วยสารโปรตีน ประมาณร้อยละ 60-65 และลิพิด
ประมาณร้อยละ 35-40
- ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลาย
ชนิดเรียกว่า เมทริกซ์ (matrix)
- เนื้อเยื่อที่พับทบเข้าไปเรียกว่า ครีสตี (cristae)
- มีเอนไซม์ที่สาคัญในการสร้างพลังงานจากการหายใจ
- นอกจากนี้ยังพบเอนไซม์ในการสังเคราะห์ DNA สังเคราะห์
RNA และโปรตีนด้วย
- ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานของเซลล์โดยการหายใจ
พลาสติด (plastid)
แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
1. ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี สะสมเม็ดแป้ง
2. โครโมพลาสต์ (chromoplast) เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีอื่นๆ
นอกจากสีเขียว มีสารพวกแคโรทีนอยด์
พลาสติด (plastid)
3. คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่มีสีเขียว ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นสารคลอโรฟีลล์ ภายในคลอโรพลาสต์
- ประกอบด้วยโครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายถุงแบนๆ มีเยื่อหุ้ม
เรียกว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid)
- ไทลาคอยด์ (thylakoid) เรียงซ้อนกันเรรียกว่า กรานุม (granum)
- ส่วนที่เป็นของเหลวเรียกว่า สโตรมา (stroma) อยู่รอบๆ
ไทลาคอยด์ มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง มี
DNA,RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีกหลายชนิดปะปนกัน
อยู่
ไรโบโซม (ribosome)
ไรโบโซม (ribosome)
- เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป
- ประกอบด้วยสารเคมี 2 ชนิด คือ กรดไรโบนิวคลีอิก
(ribonucleic acid:RNA) กับโปรตีน มีทั้งที่อยู่เป็นอิสระใน
ไซโทพลาซึม และเกาะอยู่บนเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
- พวกที่เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมจะพบมากในเซลล์
ต่อมที่สร้างเอนไซม์ต่างๆ
- พลาสมาเซลล์เหล่านี้จะสร้างโปรตีนที่นาไปใช้นอกเซลล์เป็น
สาคัญ
ไรโบโซม (ribosome)
เซนทริโอล (centriole)
มีลักษณะ
คล้ายท่อ
ทรงกระบอก
2 อันตั้งฉาก
กัน
เซนทริโอล (centriole)
- พบเฉพาะในสัตว์และโพรทิสต์บางชนิด
- มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์การเคลื่อนที่ของเซลล์
- เซนทริโอลแต่ละอันจะประกอบด้วยชุดของไมโครทูบูล
(microtubule) ซึ่งเป็นหลอดเล็กๆ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
ลาเลียงสารในเซลล์ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์และโครงสร้าง
อื่นๆ
- บริเวณรอบๆจะมีไซโทพลาสซึมล้อมรอบ เรียกว่า
เซนโทรโซม (centrosome)
ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton)
ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton)
- เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้าจุนรูปร่าง
ของเซลล์และเป็นที่ยึดเกาะของออแกเนลล์
- เช่น คลอโรพลาสต์ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
ให้อยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ
- ลาเลียงออแกเนลล์ให้เคลื่อนที่ภายในเซลล์
- เปรียบได้กับโครงกระดูกของเซลล์
ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament)
ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament)
- อาจจะเรียกว่า แอคทินฟิลาเมนต์(actin filament)
- ประกอบเส้นใยโปรตีนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 7
นาโนเมตร
- มีรูปร่างกลมต่อกันเป็นสาย 2 สายพันบิดเป็นเกลียว
- ทาหน้าที่ในการเคลื่อนที่ ค้าจุน และการแบ่ง
ไซโทพลาสซึม
ไมโครทิวบูล(microtubule)
- เป็นหลอดกลวง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 25 นาโนเมตร
- เกิดจากโปรตีนที่เรียกว่า ทูบูลิน (tubulin) เรียงต่อกัน
เป็นวงแหวนและเป็นสาย มีโครงสร้างที่มีรูปร่างคล้ายท่อบาง ๆ
- เป็นโครงสร้างของเส้นใยสปินเดิล ซิเลีย แฟลกเจลลัม และ ลาเลียง
ออร์แกเนลล์ภายในเซลล์
อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์
(intermediate filaments)
- เป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8-12 นาโนเมตร
- ประกอบด้วยหน่วยของโปรตีนหลายหน่วย เรียงตัวเป็นสายยาว ๆ
4 สาย พัน บิดกันเป็นเกลียว มี 8 ชุด
- เรียงตัวเป็นร่างแหตามลักษณะรูปร่างของเซลล์
2. ไซโทซอล (cytosol)
- เป็นส่วนของไซโทพลาสซึมมีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว
- มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด
- เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโทซอลประมาณ 3 เท่าของ
ปริมาตรนิวเคลียส
- บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์เรียกว่า เอกโทพลาซึม
(ectoplasm)
- บริเวณด้านในเรียกว่า เอนโดพลาสซึม (endoplasm)
- เซลล์บางเซลล์มีการไหลของไซโทพลาสซึมไปรอบ ๆ เซลล์เรียกว่า
ไซโคลซิส (cyclosis)
2. ไซโทซอล (cytosol)
-เป็นผลจากการหดและคลายของไมโครฟิลาเมนท์ บริเวณเอนโด
พลาสซึม
- มีลักษณะค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของออแกเนลล์ต่าง ๆ
- นอกจากนี้ในไซโทซอลยังอาจพบโครงสร้างอื่น ๆ เช่น ก้อนไขมัน
เม็ดสีต่าง ๆ เป็นต้น
นิวเคลียส (nucleus)
- เป็นโครงสร้างที่มักพบอยู่
กลางเซลล์เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้ม
ทึบ
- มีลักษณะเป็นก้อนทึบแสง
เด่นชัดอยู่บริเวณกลางๆ เซลล์
โดยทั่วๆ ไปจะมี 1 นิวเคลียส
- เป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม
- มีหน้าที่ควบคุมการทางาน
ของเซลล์โดยทางานร่วมกับ
ไซโทพลาซึม
นิวเคลียส (nucleus)
สารประกอบทางเคมีของ
นิวเคลียส ประกอบด้วย
1. ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก แอซิด (deoxyribonucleic acid) หรือ DNA
เป็นส่วนประกอบของโครโมโซมนิวเคลียส
2. ไรโบนิวคลีอิก แอซิด (ribonucleic acid) หรือ RNA เป็นส่วนที่
พบในนิวเคลียสโดยเป็นส่วนประกอบของนิวคลีโอลัส
3. โปรตีน ที่สาคัญคือโปรตีนฮีสโตน (histone) โปรตีนโพรตามีน
(protamine) ทาหน้าที่เชื่อมเกาะอยู่กับ DNA ส่วนโปรตีนเอนไซม์
ส่วนใหญ่จะเป็นเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิก
และเมแทบอลิซึมของกรดนิวคลีอิก
โครงสร้างของนิวเคลียส
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane)
- เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน
- ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกว่านิวเคลียร์ พอร์ (nuclear pore) หรือ
แอนนูลัส (annulus) มากมาย
- ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึม
และนิวเคลียส
- นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่าน
เช่นเดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์
โครงสร้างของนิวเคลียส
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
2. โครมาทิน (chromatin)
- เป็นส่วนของนิวเคลียสที่ย้อมติดสี
- เป็นเส้นใยเล็กๆ พันกันเป็นร่างแห
- ประกอบด้วย โปรตีนหลายชนิด และ DNA
- มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และควบคุมการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั่วไป
โครงสร้างของนิวเคลียส
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
3. นิวคลีโอลัส (nucleolus)
- เป็นส่วนของนิวเคลียสที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ
- ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA
- โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน (phosphoprotein) และไม่
พบโปรตีนฮีสโตนเลย
- มีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ
- ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสาคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็น
อย่างมาก เนื่องจากไรโบโซมทาหน้าที่สร้างโปรตีน
เซลล์สิ่งมีชีวิต
เซลล์สิ่งมีชีวิตมีความแตกต่างกัน 2 กลุ่มคือ
1. เซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic cell)
2. เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell)
แบคทีเรีย, สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
เซลล์พืช, เซลล์สัตว์
ตารางแสดงลักษณะที่แตกต่างกันของเซลล์เซลล์โพรคาริโอตและเซลล์ยูคาริโอต
เซลล์โพรคาริโอต เซลล์ยูคาริโอต
1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 1. นิวเคลียสมีเยื่อหุ้ม
2. ออร์แกเนลล์พบเฉพาะไรโบโซม 2. มีออร์แกเนลล์หลายชนิด รวมทั้ง
ไรโบโซม
3. สาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียวจะไม่
พบคลอโรพลาสต์แต่คลอโรฟิลล์จะ
ละลายอยู่ในไซโทพลาสซึม
3. เซลล์พืชทุกชนิดมีคลอโรฟิลล์อยู่
ในถุงคลอโรพลาสต์
4. โครโมโซมกระจายอยู่ในไซ
โทพลาสซึม และเป็นสารประกอบ
กรดนิวคลีอิก
4. โครโมโซมอยู่ในนิวเคลียส และ
เป็นสารประกอบนิวคลีโอโปรตีน
ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างสาคัญที่แตกต่างกันของเซลล์พืชและเซลล์ลัตว์
ออร์แกเนลล์ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
ผนังเซลล์
(cell wall)
- มีความแข็งแรง ประกอบด้วยเซลล์ลูโลส
- เป็นส่วนที่ทาให้เซลล์คงขนาดและรูปร่างได้ ทาให้เซลล์
พืชแข็งแรง
ไม่มีผนังเซลล์มีแต่เยื้อ
หุ้มเซลล์
พลาสติด (plastid) - มีทั้งชนิดคลอโรพลาสต์ลิวโคพลาสต์ และ
โครโมพลาสต์
- คลอโรพลาสต์ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ ทาให้พืมีสีเขียว
- ลิวโคพลาสต์สะสมแป้ง ไขมัน โปรตีน
- โครโมพลาสต์ เป็นพลาสติดที่มีสีอื่นๆ นอกจากสีเขียว
ไม่พบในเซลล์สัตว์
แวคิวโอล
(vacuole)
- พบมาในเซลล์พืช มีขนาดใหญ่มากและมักอยู่
กลางเซลล์ เรียกว่า แซ็บแวคอวโอล (sap vacuole)
ภายในบรรจุของเหลวเรียกว่า เซลล์แซ็บ (cell sap)
พบได้น้อยหรือไม่
พบเลยในเซลล์สัตว์
ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างสาคัญที่แตกต่างกันของเซลล์พืชและเซลลัตว์(ต่อ)
ออร์แกเนลล์ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
เม็ดแป้ง
(starch grain)
เป็นอาหารสะสมของพืช พบในออร์แกเนลล์คือ
ลิวโคพลาสต์
-ไม่มีเม็ดแป้ง
- อาหารสะสมเป็น
คาร์โบไฮเดรตในรูป
ของไกลโคเจน
เซนทริโอล
(centriole)
ไม่พบ พบได้ในเซล์สัตว
ทั่วไป
ถ้าใครถามว่าเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์ต่างกันตรงไหน
คงตอบได้แล้วซิ...นะ

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
krupornpana55
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Cell

M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 

Similar to Cell (20)

Cell
CellCell
Cell
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
4
44
4
 

More from Puchida Saingchin

การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
Puchida Saingchin
 
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
Puchida Saingchin
 
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
Puchida Saingchin
 

More from Puchida Saingchin (6)

การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
 
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น   ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
สื่อวิชาคณิตศาสตร์Gp1 ค31103 เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ครูขวัญแก้ว มีเหมือน...
 
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdfเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุค 4 g pdf
 

Cell