SlideShare a Scribd company logo
1 of 138
Download to read offline
จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ในยุคดิจิทัล
               “เพื่อการรู้เท่าทันเทคโนโลยี และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม”
                                            ราชบดินทร์ สุวรรณคัณฑิ
                                 สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ




http://www.slideshare.net/rachabodin/
หัวข้อการบรรยาย
•   จดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ และเทคโนโลยี
•   ตัวอย่างจดหมายเหตุดิจิทัล
•   ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
•   กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังจดหมายเหตุดิจิทัล และ
    พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล




                                                                 2
หัวข้อการบรรยาย
•   จดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ และเทคโนโลยี
•   ตัวอย่างจดหมายเหตุดิจิทัล
•   ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
•   กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังจดหมายเหตุดิจิทัล และ
    พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล




                                                                 3
จดหมายเหตุ
    • หน่วยงานจดหมายเหตุ (Archival Agency) หมายถึง หน่วยงาน
      ที่มีหน้าที่ในการรวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษา และให้บริการเอกสาร
      จดหมายเหตุ
    • หอจดหมายเหตุ (Archival Repository) หมายถึง อาคารที่เก็บ
      รักษาเอกสารจดหมายเหตุ
    • เอกสารจดหมายเหตุ (Archives)



                                                                 4
ที่มา -หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, กรมศิลปากร
เอกสารจดหมายเหตุ
    เอกสารจดหมายเหตุ หมายถึง ข้อมูลทุกรูปแบบที่หน่วยงานผลิตขึ้นใช้
    ในการปฏิบัติงาน แต่สิ้นกระแสการปฏิบัติงานแล้ว และได้รับการ
    ประเมินว่ามีคุณค่าในฐานะเป็นข้อมูลชั้นต้นที่แสดงถึงการดาเนินงาน
    และพัฒนาการของหน่วยงานนั้นๆ ซึ่งมีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์
    ของประเทศ ทั้งนี้หมายรวมถึงเอกสารส่วนบุคคลที่รับมอบจากบุคคล
    สาคัญหรือทายาทด้วย


                                                                                                                                    5
ที่มา - คู่มือการอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบข้อมูลเข้าสู่ระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
ประเภทเอกสารจดหมายเหตุ




                                                                                                                                    6
ที่มา - คู่มือการอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบข้อมูลเข้าสู่ระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑
“พิพิธภัณฑ์” คืออะไร? (1)
    พิพิธภัณฑ์ คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกาไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม
    สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อ
    การพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้า การศึกษา และความเพลิดเพลิน


    โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษา
    และจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง
    สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้า และสถานที่อัน
    จัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์
    วิทยาศาสตร์ และท้องฟ้าจาลอง
                                                                                   7
ที่มา - ICOM (International Council of Museums)
“พิพิธภัณฑ์” คืออะไร? (2)
    พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน [พิพิดทะพัน, พันทะสะถาน] น.
    สถานทีเก็บรวบรวมและแสดง สิ่งต่าง ๆ ที่มีความสาคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้าน
          ่
    วิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อ ให้
    เกิดความเพลิดเพลินใจ




                                                                          8
ที่มา - พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
ภารกิจของงานจดหมายเหตุและงานพิพิธภัณฑ์

     งานหลังบ้าน                 งานหน้าบ้าน
-   จัดหา / รับมอบ          -   ให้บริการ
-   ประเมินคุณค่า           -   เผยแพร่
-   จัดหมวดหมู่             -   จัดแสดง ให้ความรู้
-   อนุรักษ์
-   จัดเก็บ / จัดการ

                                                     9
พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล และหอจดหมายเหตุดิจิทัล
คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดเก็บ การจัดการ การจัดแสดง
การเผยแพร่ หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล องค์ความรู้ ทั้งองค์ความรู้ที่สามารถจับต้อง
ได้ (Tangible) และองค์ความรู้ที่ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangible)




                                                                         10
เทคโนโลยีดิจิทัลที่เกี่ยวข้อง (1)

 องค์ความรู้       +       เทคโนโลยี
                           สารสนเทศ
                                         +         เทคโนโลยี
                                                   การสื่อสาร
-Tangible
- Intangible




ONLINE Learning                 OFFLINE / ON-SITE Learning
                                                                11
เทคโนโลยีดิจิทัลที่เกี่ยวข้อง (2)




                                    12
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์




       Digital Camera


                                        Computer Set


    Scanner
.
                        Digital Media Player           13
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคม

• เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเทคโนโลยีที่ทา
  ให้เกิดการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ทั่วโลก
• เครือข่ายสังคม (Social Network) ป็น
  เทคโนโลยีที่ทาให้เกิดการเชื่อมโยงคนที่อยู่
  บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้าด้วยกัน เช่น
  Hi5, Facebook, MySpace ฯลฯ

                                                    14
ข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล (1)

• Digital Images
  - JPG
• Digital Video
  – CD Video, DVD Video, Portable Video
• Digital Sound / Digital Music
  - MP3, MP4
• Digital Document
  - PDF, Word Document
 .
                                           15
ข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล (2)




.
                                16
ทาไมต้องใช้เทคโนโลยี




                       17
หัวข้อการบรรยาย
•   จดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ และเทคโนโลยี
•   ตัวอย่างจดหมายเหตุดิจิทัล
•   ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
•   กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังจดหมายเหตุดิจิทัล และ
    พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล




                                                             18
โครงการความร่วมมือในการพัฒนา
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ในรูปแบบดิจิทัล
http://www.slideshare.net/rachabodin            19
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปัญโญ)
พุทธทาสภิกขุ หรือพระธรรมโกศาจารย์
นามเดิม เงื่อม พานิช เกิดเมื่อวันอาทิตย์
ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๙ ณ บ้าน
กลาง ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๔๖๗ สาเร็ จการศึกษาชัน น.ธ.เอก,
                      ้
ป.ธ.๓
                                                          20
ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปัญโญ)
ก่อตั้งสวนโมกขพลาราม ที่ อ.ไชยา เมื่อ
วันที่ ๑๒ พ.ค. ๒๔๗๕ และหันมาใช้
นามปากกา "พุทธทาส" แทนนามเดิมนับ
แต่นั้นมา ท่านพุทธทาสภิกขุอุทิศตนเผย
แผ่พระพุทธศาสนาจนกระทั่งถึงแก่มร
ภาพอย่างสงบ ณ สวนโมกขพลาราม เมื่อ
วันที่ ๘ ก.ค. ๒๕๓๖
                                                           21
 ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
พระพุทธทาสภิกขุ (พุทธทาส อินทปัญโญ)
                                       คาสอนอันโดดเด่นของท่านคือเรื่อง "การ
                                        ปล่อยวาง" ผลงานอันยิ่งใหญ่ของท่านคือ
                                        งานนิพนธ์ชุด "ธรรมโฆษณ์" และงาน
                                        นิพนธ์อีกไม่น้อยกว่า ๓๕๐ เล่ม
                                        ตลอดเวลาที่มีชีวิตอยู่ ท่านพุทธทาสภิกขุ
                                        ได้รับการสดุดีว่าเป็น มหาปราชญ์แห่ง
                                        พุทธธรรมทางบูรพาทิศ
                                                                           22
ที่มา - http://www.dhammathai.org/sounds/buddhadasa.php
โครงการพัฒนาหอจดหมายเหตุดิจิทัล

       มูลนิธิหอจดหมายเหตุ
       พุทธทาส อินทปัญโญ
                +
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
      และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
 ระยะเวลาของโครงการ: 2551 – 2553

                                   23
วัตถุประสงค์ของโครงการ

• เพื่อดาเนินการสารวจ จัดหมวดหมู่ แปลงข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุ
  พุทธทาส อินทปัญโญ ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัล
• เพื่อวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับการแปลงข้อมูล และ
  เทคโนโลยีในการสร้างคลังเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล เพื่อการอนุรักษ์
  จัดการ และเผยแพร่ข้อมูลประวัติ ผลงาน คาสอน หรือคติธรรมของ
  ท่านพุทธทาสไปสู่สาธารณะ โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่


                                                              24
ผลงานต้นฉบับ




หนังสือ บันทึก เอกสารลายมือ
                              25
ผลงานต้นฉบับ




เอกสารจากพิมพ์ดีด   26
ผลงานต้นฉบับ




ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโรงมหรสพทางวิญญาณ
                                       27
ผลงานต้นฉบับ




ประติมากรรม
               28
ผลงานต้นฉบับ




เทปเสียงและวิดีโอ
                    29
ปริมาณผลงานต้นฉบับของท่านพุทธทาส
                            ภาพ                        เสียงและโสตทัศน์
                        ๔,๐๘๓ รายการ                       ๒๓๔ แผ่น
                        (๕๑,๓๐๐ ชิ้น)                      ๑,๙๐๐ GB

หนังสือ บันทึก ลายมือ
       ต้นฉบับ
 ๑๘,๕๖๕ รายการ                                                            วัสดุอื่นๆ
 (๕๗๕,๐๐๐ หน้า)


                                           หอจดหมายเหตุ
                                        พุทธทาส อินทปัญโญ




                                                                                       30
แนวทางในการดาเนินงาน
                                                 ผลงานต้นฉบับ


                                            จัดทาทะเบียนควบคุม


                                          กรรมวิธีอนุรักษ์ต้นฉบับ
                                         ตามหลักจดหมายเหตุสากล


                การจัดเก็บต้นฉบับ                                     การจัดเก็บในรูปแบบดิจตอล
                                                                                           ิ

 การจัดเตรียมสถานที่เก็บที่ได้รับการควบคุม                 การจัดทาสาเนาดิจิทัล, ฐานข้อมูลดิจิทัล และ
  อุณหภูมิและความชื้น                                        จัดเตรียมอุปกรณ์เก็บสาเนาดิจิทัล และบุคลากรใน
 การจัดเก็บรักษาด้วยอุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้ในการ               การดูแลรักษาควบคุม
  จัดเก็บจดหมายเหตุโดยเฉพาะ                                 เก็บรายละเอียดข้อมูลตามมาตรฐานจดหมายเหตุ
                                                             ISAD

                                                                                                         31
รูปแบบการให้บริการ
                                                   ผลงานต้นฉบับ


                                                  ฐานข้อมูลดิจิทัล
                            หอจดหมายเหตุ
                         พุทธทาส อินทปัญโญ
                                                     นิทรรศการ
   ผลงานการศึกษา
 ค้นคว้าและเผยแผ่
      พุทธธรรม                                   กิจกรรมในการปฏิบัติ
ที่ท่านพุทธทาสทาไว้                                 ธรรมและเสวนา


                           ระบบอินเทอร์เน็ต        ฐานข้อมูลดิจิทัล


                                                  หนังสือ บทความ
                            สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ      (ภาษาไทย/
                                                   ต่างประเทศ)
                                                                       32
กระบวนการในการจัดทาคลังเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล
                                             2.0
            1.0
                                 วิเคราะห์ ออกแบบ หรือเลือก
     สารวจและจัดหมวดหมู่
                                มาตรฐานเมตะดาต้าที่เหมาะสม


                                             3.0
                                แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
                                ลงทะเบียนในแบบฟอร์มกระดาษ


                                              4.0
               5.0
                                 เลือกหรือพัฒนาระบบลงทะเบียน
     ใช้งาน เผยแพร่ ให้บริการ
                                   และลงทะเบียนในระบบดิจิทัล

                                                                   33
แผนการทางานของโครงการ
        2008                          2009                       2010
                                      แปลงข้อมูล
  สารวจและจัดหมวดหมู่                                     ลงทะเบียนข้อมูลในระบบ
                                 ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล



วิเคราะห์ สารวจ เปรียบเทียบ                                  เผยแพร่ข้อมูลผ่าน
                                ลงทะเบียนข้อมูลในระบบ
   และออกแบบเมตะดาต้า                                           อินเทอร์เน็ต



   ออกแบบ และพัฒนา                  พัฒนาระบบ             พัฒนาศูนย์ให้บริการข้อมูล
ระบบคลังเอกสารจดหมายเหตุ        “สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา”            จดหมายเหตุ


   Preparation                    Archives                       Access
                                Development                                           34
ความก้าวหน้าของโครงการ ณ วันสิ้นสุดโครงการ
• การแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
   – เอกสาร 80,000 หน้า
   – เสียง 20,000 ชั่วโมง
• การพัฒนาเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการคลังข้อมูลจดหมายเหตุ
   – ได้พัฒนาระบบ Digital Archives Management Software 1.0
• การเผยแพร่ข้อมูลเอกสารจดหมายเหตุ
   – ระบบ “สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา”
   – ระบบ “ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ”

                                                            35
ผลผลิตของโครงการ (1)
              ข้อกาหนดคุณลักษณะของข้อมูลดิจิทัลในระบบ
                                    High Resolution     Low Resolution
Original Type Digitization Method
                                         Format             Format
Handwriting Scan by Flat-based .tif 300dpi            .jpg 72 dpi
Documents Scanner                 (5MB / File)        (<1MB / File)
              Recording to        .wav                .mp3 128 Kbps
Sound
              Computer            (80MB / File)       .flv
              Scan by Flat-based
Photo (paper)                     .tif 300dpi         .jpg 72 dpi
              Scanner
              Scan by Film
Photo (Slide)                     .tif 600dpi         .jpg 72 dpi
              Scanner
                                                                    36
ผลผลิตของโครงการ (2)
  ระบบ Digital Archives Management Software version 1.0
คุณสมบัติของระบบ
• Web-based Application (Managing and Accessing
  using web browser)
• Developed with Open-source Software
• ISAD(G) Metadata Compliant - General
  International Standard Archival Description
• Tool for Managing and Accessing Digital Archives
                                                          37
ISAD(G) Metadata (1)
มาตรฐานคาอธิบายจดหมายเหตุระหว่างประเทศ หรือ ISAD (G)
( General International Standard Archival Description)
เป็นมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนามาตรฐาน
คาอธิบายเอกสาร (The Ad Hoc Commission for the
Development of Description Standard) ของสภาการ
จดหมายเหตุระหว่างประเทศ (ICA) เพื่อจัดทาคาอธิบายเอกสาร
จดหมายเหตุ ประกาศใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539 และปรับปรุง
ใหม่เมื่อ พ.ศ. 2542
                                                     38
ISAD(G) Metadata (2)
ISAD (G) เป็นมาตรฐานสาหรับการจัดทาคาอธิบายจดหมายเหตุ
หลายระดับ สามารถใช้ควบคู่กับคาอธิบายเอกสารเดิม ที่มีใช้อยู่
แล้วในแต่ละประเทศได้ มีวัตถุประสงค์ในการจาแนก อธิบาย
ลักษณะเนื้อหา บริบท และโครงสร้างต่างๆ ของเอกสาร




                                                          39
ISAD(G) Metadata (3)
โครงสร้างข้อมูลของ ISAD (G) ประกอบด้วย 26 เขตข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 7 ส่วน ดังนี้
• ส่วนที่ 1 คาอธิบายเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
• ส่วนที่ 2 คาอธิบายเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context Area)
• ส่วนที่ 3 คาอธิบายเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and Structure Area)
• ส่วนที่ 4 คาอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of Access
  and Use Area)
• ส่วนที่ 5 คาอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้อง (Allied Materials Area)
• ส่วนที่ 6 คาอธิบายเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes Area)
• ส่วนที่ 7 คาอธิบายเกี่ยวกับการควบคุมการทาคาอธิบายเอกสาร (Description Control
  Area)
                                                                                   40
ผลผลิตของโครงการ (2)
Digital Archives Management Software version 1.0 Screenshot




                                                          41
ผลผลิตของโครงการ (3)
                    สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา

คุณสมบัติของระบบ

• Web-based Virtual Reality Application

• Develop Panoramic VR using 2 Techniques

   – HDR Photography

   – Panorama Photography
                                            42
ผลผลิตของโครงการ (3)
 สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา




                       43
ผลผลิตของโครงการ (3)
 สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา




                       44
ผลผลิตของโครงการ (4)
              ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ
คุณสมบัติของระบบ
• Web-based Photo Archives
• Interaction using Curve Wall Interface
• Develop using 2 Technologies
   – XML
   – Action Script 3
                                            45
ผลผลิตของโครงการ (4)
ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ




                              46
ผลผลิตของโครงการ (4)
            ระเบียงภาพปริศนาธรรมสามมิติ




watch image, read text and listen sound   47
งานในอนาคต
• แปลงข้อมูลและลงทะเบียนข้อมูลเพิ่มเติม
• พัฒนาคลังสื่อมัลติมีเดียที่รวบรวม เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว
• ต่อยอดพัฒนาระบบให้บริการผ่านอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ เช่น มือถือ
  แท็บเล็ต
• พัฒนาศูนย์ให้บริการศึกษาวิจัยภายในหอจดหมายเหตุพุทธทาส
  อินทปัญโญ
• พัฒนาระบบเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น Natural
  User Interface                                              48
สรุป
องค์ประกอบของการพัฒนาหอจดหมายเหตุดิจิทัล
   – เนื้อหา
      • Cataloging
      • Metadata Design and Knowledge Extraction
   – เทคโนโลยี
      • Information technology
      • Communication technology
   – บริการ
      • Online and Mobile Services
      • In house Services
                                                   49
เทคโนโลยีกับการอนุรักษ์
และเผยแพร่จารึกวัดโพธิ์



                          50
วัดโพธิ์
วัดโพธิ์เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัยอยุธยา เดิมชื่อ
“วัดโพธาราม” แต่คนทั่วไปนิยมเรียกสั้นๆ ว่า
“วัดโพธิ์” เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงโปรดฯ ให้ปฏิสังขรณ์
วัดโพธาราม และสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวง พระราชทานนามใหม่ว่า
“วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส” ต่อมาภายหลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยนสร้อยนามใหม่ว่า “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม”
                                                                   51
จารึกวัดโพธิ์
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีพระราชประสงค์จะให้วัดโพธิ์ เป็นแหล่งเรียนรู้
ของมหาชน จึงโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมตาราวิชาการ
สาขาต่างๆ แล้วโปรดฯ ให้จารึกวิชาความรู้เหล่านั้น
ลงแผ่นศิลาประดับไว้ตามผนัง เสา คอสอง
และส่วนต่างๆ ของอาคารสิ่งก่อสร้างภายในบริเวณวัด
มีรูปเขียนเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง รวมทั้งรูปปั้นลอยตัว
ประกอบกับตาราที่จารึกไว้นั้นด้วย เพื่อให้ประชาชน
สามารถเล่าเรียนได้จากจารึกเหล่านั้น
                                                       52
ความสาคัญของจารึกวัดโพธิ์
จารึกวัดโพธิ์เป็นเอกสารโบราณที่แสดงให้เห็น
ถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย ที่มีคุณค่าต่อ
ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ใน พ.ศ. ๒๕๕๑
ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกความทรงจาแห่งโลก
ของภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก จากองค์การศึกษา
วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจา
แห่งโลกเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

                                                 53
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการเข้าถึงองค์ความรู้ในจารึกวัดโพธิ์
1. จารึกวัดโพธิ์ ทาจากหินอ่อนและหินปูนมีทั้งส่วนที่อยู่ในอาคาร และส่วนที่
อยู่นอกอาคาร หรือบนเสาริมระเบียง ซึ่งจารึกที่อยู่ในบริเวณพื้นที่ที่ถูกแสงแดด
และน้าฝนอย่างต่อเนื่อง จะมีการเสื่อมสภาพหรือลบเลือน
2. มีข้อจากัดในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่ถูกจารึกไว้ นั่นคือ ผู้ศึกษาจะต้องเดินทาง
ไปศึกษาที่วัดโพธิ์ และองค์ความรู้หลายๆ ส่วนผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ในภาษาโบราณ



                                                                               54
แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับการเข้าถึงองค์ความรู้
1. ดาเนินการอนุรักษ์ และป้องกันการเสื่อมสภาพของแผ่นจารึกต้นฉบับ
2. นาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการแปลงรูปแบบข้อมูล เพื่อให้เกิดกระบวนการใน
   การอนุรักษ์ระยะยาว (Long Term Preservation) ซึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับ 3
   กระบวนการหลัก คือ
      • กระบวนการในการแปลงรูปแบบข้อมูล
      • กระบวนการในการลงทะเบียนข้อมูล
      • กระบวนการในการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่


                                                                    55
กระบวนการในการแปลงรูปแบบข้อมูล

การแปลงรูปแบบข้อมูล หรือกระบวนการอนุรักษ์เอกสารโดยการ
แปลงรูปแบบข้อมูล (Preservation Reformatting) คือ การแปลง
รูปแบบข้อมูล เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาของเอกสารจากวัสดุดั้งเดิมไป
บันทึกยังวัสดุรูปแบบใหม่เพื่อการอนุรักษ์เอกสารให้มีอายุยืนยาว




 คู่มือการอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบข้อมูลเข้าสู่ระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑   56
รูปแบบของการอนุรักษ์เอกสารโดยการแปลงรูปแบบข้อมูล
รูปแบบที่ 1

                 กระดาษ                                                                           ฟิล์ม



รูปแบบที่ 2
            กระดาษ ฟิล์ม
                                                                                              สื่อดิจิทัล
              วัสดุอื่นๆ


  คู่มือการอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ : การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุโดยการแปลงรูปแบบข้อมูลเข้าสู่ระบบดิจิตอล, กรมศิลปากร, ๒๕๕๑   57
กระบวนการในการลงทะเบียนข้อมูล

กระบวนการในการลงทะเบียนข้อมูล คือ การจัดทาระบบฐานข้อมูล
หรือระบบคลังข้อมูลของจารึกวัดโพธิ์ โดยจะทาการบันทึกข้อมูล
ภาพนิ่งดิจิทัลของจารึกทุกแผ่น พร้อมกับข้อมูลคาอธิบายของจากรึก
แต่ละแผ่น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และความสะดวกต่อการบริหาร
จัดการ การสืบค้น และการเผยแพร่ข้อมูลจากรึกวัดโพธิ์



                                                         58
ผังแสดงกระบวนการในการลงทะเบียนข้อมูล
   ถ่ายภาพจารึก           ลงทะเบียนในแบบฟอร์ม
และลงทะเบียนชั้นต้น             กระดาษ




                              ลงทะเบียนใน
                            ระบบคอมพิวเตอร์




                               บริหารจัดการ
                               เผยแพร่ข้อมูล    59
ตัวอย่างแบบฟอร์มในการลงทะเบียนข้อมูลจารึกวัดโพธิ์




                                                    60
กระบวนการในการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่

กระบวนการในการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นการ
ใช้เทคโนโลยีสื่อสมัยใหม่ เช่น สื่อสามมิติและแอนิเมชั่น เว็บไซต์
หรือเครือข่ายสังคม เช่น Facebook เป็นช่องทางในการเข้าถึงข้อมูล
จารึกลงทะเบียนข้อมูลจารึกวัดโพธิ์




                                                           61
กระบวนการในการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
                      เว็บไซต์


เครือข่ายสังคม
   ออนไลน์                                     แอนิเมชั่น
  Facebook                                     ฤาษีดัดตน
   Twitter             จารึกวัดโพธิ์




           วัดโพธิ์                     คลังข้อมูล
         เสมือนจริง                    จารึกวัดโพธิ์
                                                            62
63
หัวข้อการบรรยาย
•   จดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ และเทคโนโลยี
•   ตัวอย่างจดหมายเหตุดิจิทัล
•   ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
•   กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังจดหมายเหตุดิจิทัล และ
    พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล




                                                             64
NATIONAL MUSEUM OF KOREA
    http://www.museum.go.kr
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
เทคโนโลยีดิจิทัลกับการชมพิพิธภัณฑ์




                                     83
ต ัวอย่างพิพธภ ัณฑ์ดจท ัล
                ิ       ิ ิ
M.R. Kukrit Heritage Home
      Living Museum




                                84
85
Who is M.R. Kukrit?
• Momrajawong (M.R.) Kukrit
  Pramoj (1911-1995) was a leading
  political and literary figure in
  Thailand.
• He was the 13th Prime Minister of
  Thailand.
• On 24 October 2009, UNESCO
  named M.R. Kukrit Pramoj as a
  World Historic Important Figure.


                                        86
About M.R. Kukrit’s Heritage Home.




The home that M.R. Kukrit built for himself in Bangkok
has been registered by the Department of Fine Arts as
'Home of an Important Person'.
                                                         87
The Digital Preservation Project
• The project was initiated by H.R.H
  Princess Maha Chakri Sirindhorn
  since 2007.
• Collaboration project of NECTEC
  with Kukrit 80 Foundation and
  Mass Communication Organization
  of Thailand (MCOT).
• Preservation of M.R. Kukrit’s
  Heritage Home and his lifestyle in
  digital form.
• Implemented 5 technologies
                                           88
Implemented Technologies
M.R. Kukrit’s Heritage Home    Object VR

Digital Preservation Project



                                 Digital
                                 Video




                                   3D
                                Animation



                                   HDR
                                 Panoramic
                                    VR
                                           89
Related Technology #1: Interactive Floor Plan




                                            90
Related Technology #2: Digital Video




                                       91
Related Technology #3: Object VR




                                   92
Related Technology #4: 3D Animation




                                      93
Related Technology #4: 3D Animation




                                      94
Related Technology #5: HDR Panoramic VR




                                          95
Related Technology #5: HDR Panoramic VR




                                          96
หัวข้อการบรรยาย
•   จดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ และเทคโนโลยี
•   ตัวอย่างจดหมายเหตุดิจิทัล
•   ตัวอย่างพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
•   กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังจดหมายเหตุดิจิทัล และ
    พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล




                                                             97
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานจดหมายเหตุและงานพิพิธภัณฑ์


    งานหลังบ้าน                       งานหน้าบ้าน
-   แปลงรูปแบบข้อมูลให้อยู่      -   จัดแสดง เผยแพร่ หรือ
    ในรูปแบบดิจิทัล                  ให้บริการ (Information
    (Digitization)                   Dissemination)
-   บริหารจัดการข้อมูล
    (Information
    Management)


                                                              98
แผนภาพแสดงกระบวนการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
                                     Information Dissemination
       Digitization



                       Information
                       Management                                Offline




                                                             On-Site




                                                             Online
                                                            99
เทคโนโลยีสาหรับการแปลงข้อมูล
  Digitization Technology



                               100
การแปลงข้อมูล (Digitization)
Analog --------------------------------------> Digital


                      scan
                                            digital photo


                      shoot



                     record
                                        digital video/audio
                                                            101
การแปลงข้อมูลกระดาษ




                      102
การแปลงข้อมูลวิดีโอ




                      103
การถ่ายภาพนิ่งรายละเอียดสูง


    +              +




                              104
ภาพปกติ VS ภาพรายละเอียดสูง




ภาพปกติ              ภาพรายละเอียดสูง
                                        105
106
High Dynamic Range Panorama
                               Normal
                              Panorama




                                HDR
                              Panorama




                                     107
High Dynamic Range Panoramic VR




       สวนโมกข์ ๓๖๐ องศา
                                  108
การสร้างภาพสามมิติด้วยกล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิทัล




                                                109
การแปลงข้อมูลด้วยเครื่องสแกนภาพเลเซอร์สามมิติ




                                                110
การแปลงข้อมูลด้วยเครื่องตรวจจับการเคลื่อนไหว




  Faridah Noor Mohd Noor, INDIAN TRADITIONAL DANCE: A VIRTUAL PROTOTYPE
                                                                          111
เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง
    (High Resolution Imaging)




                                    112
เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง
    (High Resolution Imaging)




                                    113
เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง
    (High Resolution Imaging)




                          จานวนภาพ : 343 ภาพ

                          Focal length : 324 mm

                          Speed : 1/80

                          Aperture : F22

                          ระยะเวลาถ่ายภาพ : 19 นาที


                                                      114
เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง
    (High Resolution Imaging)




                                    115
เทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการข้อมูล
Information Management Technology




                                         116
คาอธิบายข้อมูลคืออะไร?

• คาอธิบายวัตถุ (Metadata) คือ สารสนเทศที่มีโครงสร้าง
(Structured Information) สาหรับอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของ
ข้อมูลหลัก
• เป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูล สืบค้นข้อมูล
รวมทั้งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลในคลังข้อมูล



                                                                  117
Metadata ทีตดมาก ับข้อมูลหล ัก
           ่ ิ




                                 118
่ ู้ ้ ็
Metadata ทีผใชเปนผูกาหนด
                    ้
                   รหัสภาพ: 25500101153000
                    ื่        ั
                   ชอภาพ: วัดชยวัฒนาราม
                   สถานที: อยุธยา
                         ่
                   เจ ้าของภาพ: ลัดดา สาระเดช
                   ประเภท: Landscape
                           Architecture
                   วันทีถายภาพ: 10 มิ.ย. 2550
                        ่ ่
                                    ั
                   คาอธิบายภาพ: วัดชยวัฒนารามตังอยูบนริม
                                               ้   ่
                   ฝั่ งแม่น้ าฟากตะวันตกของเกาะเมือง พระ
                   เจ ้าประสาททองทรงสร ้างขึน ในปี พ.ศ.
                                            ้
                   2173

                                                          119
คุณสมบัติของ Metadata

• ไม่ยึดติดกับชนิดของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
• มีลักษณะโครงสร้างที่เป็นมาตรฐาน รองรับการใช้งานที่
หลากหลายได้
• ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง




                                                       120
ตัวอย่างเมตะดาต้า




                    121
ตัวอย่างเมตะดาต้า




                    122
ตัวอย่างเมตะดาต้า




Data from Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
                                                                123
แบบฟอร์มทะเบียนสาหรับการกรอกเมตะดาต้า




                                        124
แบบฟอร์มทะเบียนสาหรับการกรอกเมตะดาต้า




                                        125
ประโยชน์ของเมตะดาต้า

1. เป็นกลไกสาคัญในการจัดเก็บข้อมูลพืนฐาน และข้อมูลที่อธิบายที่มาของข้อมูลหลัก
                                     ้
   รวมถึงข้อมูลคาอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นที่สนใจต่างๆ ข้อมูลเชิงลึก และข้อมูล
   แวดล้อม
2. ช่วยให้สามารถบริหารจัดการข้อมูลจานวนมากได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
3. ช่วยให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับคลังข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่ข้อมูลสู่
   สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ช่วยสนับสนุนให้เกิดการสร้างระบบคลังข้อมูล เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของประเทศ หรือ
   เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ


                                                                                  126
เทคโนโลยีสาหรับการเผยแพร่ข้อมูล
  Information Dissemination




                                  127
รูปแบบของการเผยแพร่ข้อมูล
                        Photo Gallery




e-Card Service                                Video/Audio
                                              Archive

                       คล ังข้อมูลดิจท ัล
                                     ิ




       e-Learning                             Digital
                                             Museum


                                                        128
129
130
131
132
133
134
ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีในงานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์

                  ช่วยในการอนุรักษ์ข้อมูลสาคัญ โดยลดการใช้งานข้อมูลต้นฉบับที่
                  อ่อนไหวต่อการถูกทาลาย เสี่ยงต่อการเสียหาย หรือสูญหายจาก
       อนุรักษ์
                  การเข้าถึงได้โดยตรงจากผู้ใช้


                  ช่วยให้เจ้าของข้อมูล มีเครื่องมือช่วยในการบริหารจัดการข้อมูล
                  จานวนมากอย่างเป็นระบบ ช่วยในการแลกเปลี่ยนหรือเผยแพร่
       จัดการ
                  ข้อมูลผ่านระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


                  เป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต 7 วัน 24 ชั่วโมง สาหรับ
                  ทุกคน โดยบรรจุองค์ความรู้ที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ
       เรียนรู้
                  วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ

                                                                                 135
จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ดจทลในอนาคตจะเป็นอย่างไร?
                        ิิ ั

              เป็นสังคมของการแลกเปลี่ยน
               เชื่อมโยง และเรียนรู้ร่วมกัน

             ใช้สื่อที่ทันสมัยเป็นเครื่องมือหลัก
                   ในการสื่อสารแลกเปลี่ยน


               เข้าถึงได้ง่ายในหลายรูปแบบ



                                                   136
เทคโนโลยีในอนาคตของจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล

- New Media
- Virtual Reality and Human Computer
  Interaction
- Internet-based Technology
  (Online Museum, Online Collection)
- Collaboration and Sharing
  (Social Network, RSS, Podcast, Mobile)
                                               137
ขอบคุณครับ




http://www.slideshare.net/rachabodin/

More Related Content

What's hot

ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1Similun_maya
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
Arta Mandro - E Drejta Romake
Arta Mandro -  E Drejta RomakeArta Mandro -  E Drejta Romake
Arta Mandro - E Drejta RomakeRefik Mustafa
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridicaexodumuser
 
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์Pu Tua-Klom
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
Metodologjia dhe Shkrimi Ligjor
Metodologjia dhe Shkrimi LigjorMetodologjia dhe Shkrimi Ligjor
Metodologjia dhe Shkrimi LigjorRefik Mustafa
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51mina612
 
Historia e se Drejtes 2
Historia e se Drejtes 2Historia e se Drejtes 2
Historia e se Drejtes 2Ferdi Nuredini
 
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์tanakornsonic
 
E drejta familjare (permbledhje)
E drejta familjare (permbledhje)E drejta familjare (permbledhje)
E drejta familjare (permbledhje)Vehap Hashani
 
E+drejta+nderkombetare+publike[1]
E+drejta+nderkombetare+publike[1]E+drejta+nderkombetare+publike[1]
E+drejta+nderkombetare+publike[1]kulla 2010
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายSAM RANGSAM
 

What's hot (18)

ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
Arta Mandro - E Drejta Romake
Arta Mandro -  E Drejta RomakeArta Mandro -  E Drejta Romake
Arta Mandro - E Drejta Romake
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
Kushtetuta e belgjikes
Kushtetuta e belgjikesKushtetuta e belgjikes
Kushtetuta e belgjikes
 
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica
257316175 valeriu-capcelea-filozofia-juridica
 
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
Metodologjia dhe Shkrimi Ligjor
Metodologjia dhe Shkrimi LigjorMetodologjia dhe Shkrimi Ligjor
Metodologjia dhe Shkrimi Ligjor
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
 
Historia e se Drejtes 2
Historia e se Drejtes 2Historia e se Drejtes 2
Historia e se Drejtes 2
 
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
 
E drejta familjare (permbledhje)
E drejta familjare (permbledhje)E drejta familjare (permbledhje)
E drejta familjare (permbledhje)
 
E+drejta+nderkombetare+publike[1]
E+drejta+nderkombetare+publike[1]E+drejta+nderkombetare+publike[1]
E+drejta+nderkombetare+publike[1]
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
Ese
EseEse
Ese
 

Viewers also liked

Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyRachabodin Suwannakanthi
 
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectRachabodin Suwannakanthi
 
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรRachabodin Suwannakanthi
 
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...greenehorse
 
六合彩-香港六合彩
六合彩-香港六合彩六合彩-香港六合彩
六合彩-香港六合彩wlgadsk
 
Photoshop +
Photoshop +Photoshop +
Photoshop +dboling
 
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009internationalvr
 
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...HKAIM
 
Mapas Finales Wakoo
Mapas Finales WakooMapas Finales Wakoo
Mapas Finales WakooBloom
 

Viewers also liked (20)

Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
How to develop photo archives
How to develop photo archivesHow to develop photo archives
How to develop photo archives
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Digital Photo Archive
Digital Photo ArchiveDigital Photo Archive
Digital Photo Archive
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development ProjectSummary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
Summary of Digital Archive Package Tools Research and Development Project
 
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
Digital Archives Management
Digital Archives ManagementDigital Archives Management
Digital Archives Management
 
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
 
Casey Lee
Casey LeeCasey Lee
Casey Lee
 
六合彩-香港六合彩
六合彩-香港六合彩六合彩-香港六合彩
六合彩-香港六合彩
 
Photoshop +
Photoshop +Photoshop +
Photoshop +
 
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 72, Week 1 Mar, 2009
 
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...
eCMO 2010 Internet Marketing Trends in the Chinese Mainland: Implications for...
 
Quicktime Panoramic VR
Quicktime Panoramic VRQuicktime Panoramic VR
Quicktime Panoramic VR
 
Mapas Finales Wakoo
Mapas Finales WakooMapas Finales Wakoo
Mapas Finales Wakoo
 
Chpt1
Chpt1Chpt1
Chpt1
 
Gagliardi
GagliardiGagliardi
Gagliardi
 
Animoto
AnimotoAnimoto
Animoto
 

Similar to Archives and Museum in Digital Age

การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลRachabodin Suwannakanthi
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesMaykin Likitboonyalit
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดOpen Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดBoonlert Aroonpiboon
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 

Similar to Archives and Museum in Digital Age (20)

การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
Personal Digital Library Development
Personal Digital Library DevelopmentPersonal Digital Library Development
Personal Digital Library Development
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
Personal Digital Archives Development
Personal Digital Archives DevelopmentPersonal Digital Archives Development
Personal Digital Archives Development
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
 
Technology For Museum
Technology For MuseumTechnology For Museum
Technology For Museum
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Digital Collection ... Guideline
Digital Collection ... GuidelineDigital Collection ... Guideline
Digital Collection ... Guideline
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดOpen Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 

More from Rachabodin Suwannakanthi

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)Rachabodin Suwannakanthi
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopRachabodin Suwannakanthi
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 

More from Rachabodin Suwannakanthi (20)

การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
Digital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course OutlineDigital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course Outline
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 

Archives and Museum in Digital Age