SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑.แทบฝั่งธารที่เราเฝ้าฝันถึง เสียงน้ำซึ่งกระซิบสาดปราศจากเสียงจักรวาลวุ่นวายไร้สำเนียง โลกนี้เพียงแผ่นภพสงบเย็นณ ฝั่งน้ำที่เราเฝ้าใฝ่ฝันถึง ไม่ได้ยินเสียงกระซิบของน้ำ เสียงวุ่นวายไม่ได้ตามมารบกวน สถานที่นี้จึงเป็นพื้นโลกที่สงบเย็นใช้โวหารภาพพจน์โดยวิธีปฏิพากย์หรือปฏิทรรศน์ คือ  การกล่าวแสดงความคิดเห็นซึ่งมองเพียงผิวเผินว่าขัดแย้งกัน  แต่เมื่อพิจารณาโดยถ่องแท้แล้วจะไม่ขัดกันและเป็นไปได้  เช่น  เสียงกระซิบซึ่งไม่มีเสียง  จักรวาลวุ่นวายแต่ไม่มีเสียงดัง   นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐานหรือบุคคลวัตรแสดงลักษณะการกระซิบของเสียงน้ำ  ซึ่งเป็นการนำเอากริยากระซิบของมนุษย์มาใช้กับธรรมชาติคือเสียงของน้ำ๒.เพื่อชื่นชมรมณีย์กับชีวิต ที่จะคิดจะทำตามคิดถึง ระเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉ่ำลืมลำเค็ญ ลืมความเป็นปรัศนีย์ของชีวิตเพื่อชื่นชมกับสิ่งที่ควรทำให้ชีวิตที่จะทำตามความคิดเห็นอย่างอิสระ ความร่มรื่นที่ชื่นฉ่ำทำให้ลืมความทุกข์และปัญหาของชีวิตมีการใช้คำอัพภาส   คือ ระเรื่อย  และมีการใช้คำซ้ำ คือ เรื่อย เรื่อย  เพื่อทำให้เกิดความงามของภาษามีการใช้คำในลักษณะของนามนัย คือ คำว่า ปรัศนี  ในความหมายถึงปัญหาของชีวิต๓.หางนกยูงระย้าเรี่ยคลอเคลียน้ำ แพนดอกฉ่ำช้อยช่อวรวิจิตร งามดังเปลวเพลิงป่ามานิรมิต สร้อยโสภิตอภิรุมพุ่มหัวใจหางนกยูงเป็นพวงอยู่เรื่อยๆ น้ำ ดอกที่แผ่กระจายออกไปเป็นช่อที่สวยงามยิ่ง ความดังเปลวเพลิงป่า (เพราะมีสีแดง) ที่มาเนรมิตร ดอกหางนกยูงเป็นพุ่มมีรูปทรงเหมือนฉัตรใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน หรือบุคคลสมมติ  ที่กล่าวว่าดอกหางนกยูงทำกริยาคลอเคลีย(ซึ่งเป็นกริยาของคน)กับน้ำ     และใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมาโดยการเปรียบดอกหางนกยูงกับเปลวไฟป่าโดยใช้คำเปรียบว่าดุจเนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๔.เพชรน้ำค้างค้างหล่นบนพรมหญ้า เย็นหยาดฟ้ามาผันหลงวันใหม่ เคล้าเคลียหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย เมื่อแฉกดาวใบไผ่ไหวตะวันน้ำค้างที่บริสุทธิ์มีประกายเหมือนเพชร หล่นมาค้างอยู่ที่ใบหญ้าที่เรียบราบเสมอกัน งามดั่งปูพรม ยังมีน้ำค้างบางหยดหลงเหลืออยู่จนถึงรุ่งเช้าวันใหม่ ดุจอาลัยดอกหญ้า ภาพดาวที่เกิดจากใบไผ่แหลมพลิ้วลมแสดงแดดส่องผ่านทำให้เกิดเงาเป็นแฉกคล้ายภาพดาวที่พื้นดินเพชรน้ำค้าง พรมหญ้า และแฉกดาวใบไผ่  นับเป็น โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์  โดยเปรียบน้ำค้างเป็นเพชร  หญ้าเป็นพรม และ  ใบไผ่เป็นดาว   นอกจากนี้ยังมีการใช้โวหารแบบบุคลาธิษฐาน คือ การที่น้ำค้างคลอเคลียกับดอกหญ้าอย่างอาลัย  เป็นการนำเอากริยาของมนุษย์มาใช้กับธรรมชาติ คือ  น้ำค้าง ๕.มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ ราชินีแห่งน้ำค้างจะห่างหัน ผักต้อยติ่งแตกจังหวะประชันกัน จักจั่นจี่เจื้อยรับเรื่อยร้องเสียงต่าง ๆ ที่ดังมาจากราวป่าประดุจเสียงมโหรี ยอดน้ำค้างก็จะหายไป เสียงผักต้อยติ่ง (ที่ถูกน้ำค้าง) แตกดังเป็นจังหวะ เสียงจักจั่นและแมลงชนิดหนึ่ง (จี่) ร้องเจื้อยแจ้วรับกันเป็นจังหวะมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบนามนัย  โดยการนำเอาเสียงธรรมชาติในป่าเปรียบเป็นเสียงมโหรีมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบนามนัย  โดยการนำเอาลักษณะที่โดดเด่นของราชินีมาเปรียบกับน้ำค้าง๖.ลมระเริงลู่หวิวพลิ้วระรอก สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง แล้วใบไม้ก็ไหวขึงข่ายกรอง ทอแสงทอดทอดประทับรับน้ำค้างลมพัดต้องใบไม้พลิ้วเป็นระลอก เหมือนกับจะล้อยอดไม้ที่แกว่งไกวไปมา ใบไม้ส่าย (เพราะแรงลม) เป็นข่าวกรองแสงแดดประดุจแสงทองส่องมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า  ลม  ทำกริยา ระเริงและสัพยอก กับยอดไม้  <br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๗.ดอกไม้ป่าปรุงกลิ่นประทินป่า อบบุหงามาลัยที่ไพรกว้าง หอมจนหอบหัวใจไปเคว้งคว้าง เคลิ้มถวิลกลิ่นปรางอบกลางทรวงดอกไม้ป่าส่งกลิ่นหอมไปทั่วป่า เหมือนป่ากว้างนั้นอบอวลไปด้วยกลิ่นบุหงาและมาลัยหอมจนพาหัวใจล่องลอยเคว้งคว้างไปจนเคลิบเคลิ้มถึงกลิ่นแก้มหอมอบอวลอยู่ในหัวใจมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า  ดอกไม้ป่า  ทำกริยา ปรุงกลิ่น อย่างมนุษย์  และมีการใช้โวหารแบบอติพจน์ การกล่าวเกินจริง  ว่ากลิ่นหอมของดอกไม้หอบให้หัวใจลอยเคว้งคว้างได้๘.ผีเสื้อสวยแต้มสีที่กลีบแก้ม ชมพูแย้มแดงระยับสลับม่วง ก้านเกสรอ่อนฉ่ำน้ำผึ้งรวง หยาดหยดพวงพุ่มระย้าจากคาคบผีเสื้อสีสวยมาเกาะดอกไม้ บางตัวมีสีชมพู สีแดงระยับ สลับกับสีม่วง เกสรดอกไม้หอมหวาน เหมือนน้ำผึ้งรวงที่หยดมาจากรวงผึ้งที่คาคบไม้ มีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า  ผีเสื้อทำกริยาอย่างมนุษย์ คือ แต้มสี ที่กลีบของดอกไม้  มี การใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์  โดยเปรียบน้ำหวานของดอกไม้เป็นน้ำผึ้งรวง๙. และเราลิ้มรสหวามของความหวาน จากสายธารที่ไหลไม่รู้จบ จากสายใจไหลย้อนซอกซอนซบ เงียบสงบระงับลงตรงมุมนี้เมื่อได้รับรสสัมผัสของความสงบ จากการที่ได้มาอยู่ริมฝั่งธารนี้แล้ว ใจที่วุ่นวายก็สงบลงมีการใช้คำซ้ำ คือ จากสายธาร และ จากสายใจ  เพื่อ ทำให้เกิดความงามของภาษา<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๐.เลิกความคิดขันแข่งปรุงแต่งจิต เลิกชีวิตวุ่นวายในทุกที่ เลือกเดือดร้อนดิ้นรนคนใยดี ไม่ต้องมีปรารถนาในอารมณ์เลิกคิดต่อสู้แข่งขันชิงดีซึ่งเป็นกิเลสปรุงแต่งจิต เลิกชีวิตที่วุ่นวายไม่เดือดร้อนดิ้นรนสนใจความใยดีของใคร และไม่มีความปรารถนาใด ๆ ในอารมณ์อีกมีการใช้คำซ้ำ คือ เลิก  เพื่อ เน้นย้ำให้เลิก๑๑.ฟังต้นไม้สายน้ำย้ำให้หยุด หยุดเสียเถิดมนุษย์หยุดสะสม หยุดปรุงแต่งแสร้งความตามนิยม สร้างสังคมโสโครกโลกจึงร้อนฟังต้นไม้-สายน้ำที่ขอร้องให้มนุษย์หยุดสะสมวัตถุ หรืออุปทานความยึดมั่นต่าง ๆ หยุดนิยมยินดีในสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมาตามความนิยม เมื่อสร้างสมสิ่งโสโครกเหล่านี้ไว้มาก ๆ โลกจึงเกิดความเดือดร้อนวุ่นวายมีการใช้คำซ้ำ คือ หยุด  เพื่อ เน้นย้ำให้หยุด  และ มีการใช้โวหารแบบบุคลาธิษฐาน คือ ต้นไม้สายน้ำ ทำกริยาย้ำให้หยุด๑๒.จงหยุดชมชื่นใจในใจเถิด ทุกสิ่งเกิดก่อไว้ในใจก่อน สมมุติจากหัวใจไปทุกตอน ใจจึงซ่อนทุกสิ่งจริงลวงไว้จงหยุดความชื่นชมในใจ เพราะอะไร ๆ ก็ย่อมเกิดจากใจก่อน ใจตกลงยอมรับการปรุงแต่งให้เป็นเช่นนั้นเช่นนี้ ใจจึงซ่อนทุกสิ่งไว้ ทั้งสิ่งจริงและสิ่งหลอกลวงมีการใช้คำซ้ำ คือ ใจ  เพื่อ แสดงถึงความสำคัญของ ใจ ว่า ใจ เป็นที่เกิดของทุกสิ่งทุกอย่าง  ทั้งความจริงและความเท็จ<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๓.สงสารใจ ใจเจ้าเอ๋ยไม่เคยนิ่ง วนและวิ่งคืนและวันหวั่นไหว เหมือนถูกกายกำบังกักขังไว้ ใจจึงได้ดิ้นรนทุกหนทางใจคนเราไม่เคยหยุดนิ่ง คิดวนเวียนไปทุกอย่างตามอารมณ์ เพราะใจนั้นเหมือนถูกขังไว้ใน ร่างกาย จึงต้องพยายามดิ้นรนทุกวิถีทางมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน  ใช้กริยาวิ่งซึ่งเป็นกริยาของคนกับใจ  มีการเล่นคำสัมผัส อักษร วน   วิ่ง  หวั่น   ไหว  และ ใช้คำที่มีความหมายตรงข้าม  คือ  คืน  กับ  วัน ๑๔. กลางคืนคอยเป็นควันอัดอั้นไว้ กลางวันก็เป็นไฟไปทุกอย่าง ร่างกายถูกผูกพันสรรพางค์ เป็นสื่อกลางแก่ใจรับให้การกลางคืนจิตใจก็เป็นควัน คือมีด้วยกิเลสตัณหา พอกลางวันก็จะเป็นไฟ คือราคะโทสะโมหะ ร่างกายถูกใจบงการให้ทำงานต่าง ๆ ตามที่ใจปรารถนามี การใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์  เปรียบใจเป็น   ควัน  และ  ไฟ๑๕.เมื่อใจทุกข์กายก็ต้องทนครองทุกข์ ครั้นใจสุขกายก็สุขสนุกสนาน วนเวียนหว่างทุกข์สุขทุกวันวาน แล้วสะสมสันดานการเป็นตนกายกับใจเป็นสิ่งเนื่องกัน เมื่อใจเป็นทุกข์ กายก็พลอยทุกข์ไปด้วย เมื่อใจสุข กายก็พลอยเป็นสุข ความสุข-ความทุกข์ หมุนเวียนเปลี่ยนไปทุกวันเวลา นี่แหละคือความเป็นคนมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบปฏิพากย์  ใช้คำที่มีความหมายตรงข้ามกันคือ  ทุกข์ กับ สุข    <br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๖.ทุกวิถีที่ใจได้ท่องเที่ยว ย่อมขึ้นล่องอยู่ระหว่างกลางปลายต้น ที่โคจรของใจไม่เคยจน ไม่เคยพ้นเคยพรากจากวงจรทุกวิถีทางที่ใจคิดไปย่อมวนเวียนอยู่ที่ต้น กลางปลายที่เที่ยวไปของใจมีมากมาย ไม่เคยพ้นจากการคิดดังกล่าวนี้ไปได้เลยมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน ใช้คำว่าเที่ยวท่องกับใจ  คล้ายกับสิ่งมีชีวิตเช่น คนหรือสัตว์๑๗.ใจจึงหน่ายจึงเหนื่อยจึงเมื่อยล้า วุ่นผวาว่อนไหวถูกไล่ต้อน เกิดแล้วก่อล่อแล้วเร้นเย็นแล้วร้อน ไม่พักผ่อนเพียงสักคราวเฝ้าแฟบฟูดังนั้นใจจึงเกิดการเหนื่อยหน่ายและอ่อนเพลีย ถูกอารมณ์ต่าง ๆ ไล่ต้อนตลอดเวลา เกิด สร้าง ล่อ หนี เดี๋ยวเย็นเดี๋ยวร้อน คือ เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ อยู่ตลอดเวลามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบปฏิพากย์  ใช้คำที่มีความหมายตรงข้ามกันคือ  ล่อ กับ เร้น  เย็น กับ ร้อน  แฟบ กับ ฟู    และใช้คำสัมผัสอักษร คือ  เกิด  ก่อ   แฟบ  ฟู๑๘.รู้และเห็นเป็นไปตามใจอยาก จึงเหมือนฉากขวากขวางกำบังอยู่ หยุดเสียทีหยุดเสียเถิดเปิดประตู เพื่อได้รู้และได้เห็นตามเป็นจริงอยากรู้อยากเห็นสิ่งต่าง ๆ ตามที่ใจปรารถนา จึงเป็นเหมือนฉากกั้นไม่ให้มองเห็นความจริง หยุดคิดเสียเถิดทำใจให้สงบ แล้วใช้ปัญญามองดูโลกตามความเป็นจริง อย่ามองโลกตามอำนาจกิเลสตัณหามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบความอยาก เป็นเหมือน ฉาก กับ ขวาก ที่คอยปิดบังอยู่<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๙.ขอกายเจ้าจงเป็นเช่นต้นไม้ ยืนอยู่ได้โดยพบสงบนิ่ง เพื่อแผ่ร่มให้เป็นหลักเพื่อพักพิง แต่งดอกพริ้งผลัดฤดูอยู่ชั่วกาลขอให้ร่างกายเป็นเหมือนต้นไม้ คืออยู่อย่างสงบเพื่อความร่มเย็น เป็นที่พักพิงและสวยงามทุกกาลเวลามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์  โดยเปรียบกายเป็นต้นไม้และเปรียบร่มไม้เป็นที่พักพิง๒๐.และใจเจ้าจักเป็นเช่นสายน้ำ ใสเย็นฉ่ำชื่นแล้วไหลแผ่วผ่าน เพื่อเลี้ยงชีพโลมไล้ให้เบิกบาน เพียงพ้องพานผิวแผ่วแล้วผ่านเลยและขอให้ใจเป็นดังสายน้ำ คือ ใสเย็น สงบ เบิกบาน เมื่อมีอารมณ์อะไรมากระทบก็ไม่ยึดมั่น ปล่อยวางเสียมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์  โดยเปรียบใจเป็นสายน้ำ๒๑.อิสระเสรีที่จะไหล ด้วยเพลงไพเราะล้ำร่ำเฉลย ชมดอกไม้สายลมพรมรำเพย และชื่นชมกับชีวิตทุกทิศทางใจย่อมมีอิสระเสรีเพราะไม่ตกอยู่ใต้อำนาจของความปรารถนา เป็นใจที่อยู่กับธรรมชาติ และชื่นชมกับชีวิตทุกอย่างมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน  โดยใช้กริยา เฉลย  ชม  ชื่นเชย  ซึ่งเป็นกริยาของคนไปเปรียบกริยาของน้ำ<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๒๒.วงของน้ำทำประกายกับสายแดด ร้อนจะแผดเผาทรายพริบพรายพร่าง ราวกากเพชรเกล็ดโปรดโรยระวาง หาดทรายกว้างกลางน้ำเริ่มคร่ำครวญน้ำย่อมทำประกายเมื่อถูกแดดเผา ความร้อนจะทำให้ทรายเกิดระยิบระยับดุจโปรยด้วยกากเพชรมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบความระยิบระยับของวงน้ำเหมือนกากเพชร  โดยใช้คำเปรียบว่า  ราวและมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน  โดยใช้กริยา คร่ำครวญ  ซึ่งเป็นกริยาของคนไปเปรียบกริยาของกรวดที่ไหลไปตามน้ำ๒๓.ไม่ไยดีปรีดาประสาโลก ไม่ทุกข์โศกเสียใจหรือไห้หวน มีสุขอยู่ทุกยามตามที่ควร ไม่ปั่นป่วนไปตามความเร่าร้อนเมื่อมีสิ่งใดมากระทบตามวิถีทางแห่งโลก มนุษย์ก็ไม่ทุกข์ โศกเสียใจหรือร่ำไห้ ทำใจให้เป็นสุข ไม่เร่าร้อนไปตามความรู้สึกหรืออารมณ์ที่มากระทบมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน  กำหนดให้กรวดทำกริยา ไยดีปรีดา  ทุกข์โศก  ไห้หวน  มีความสุข  ปั่นป่วน เช่นเดียวกับคนหรือสัตว์๒๔.รู้จักเพียงพอที่จักรับ ความเกิดดับธรรมดาอุทาหรณ์ พร้อมความรู้สึกตามวิสัยไปทุกตอน เหมือนก้อนกรวดทรายย่อมคล้ายกันรู้จักความพอดีที่จะรับอารมณ์ รู้เท่าทันธรรมดาโลก เช่น ความเกิด ความดับ ต้องรู้ทันไปทุกตอน กล่าวคือต้องทำตัวประดุจก้อนกรวดทราย ไม่หวั่นไหว รับสิ่งที่มากระทบอารมณ์ด้วยจิตใจที่สงบและเยือกเย็นมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบคนเราที่เข้าใจธรรมดาโลกเหมือนก้อนกรวดทราย<br />แนวคิดเรื่องวารีดุริยางค์ ให้แนวคิดสำคัญ ดังนี้<br />ธรรมชาติมีความสวยงามและรื่นรมย์<br />ธรรมชาติเป็นที่พักพิงให้ความสงบทั้งกายและใจ<br />ธรรมชาติเป็นอนุสติเตือนให้เกิดความคิดในทางสร้างสรรค์<br />ค่านิยมเรืองวารีดุริยางค์  แสดงให้เห็นค่านิยมบางประการ  ดังนี้<br />ความงามของธรรมชาติมีคุณค่าเหนือความงามที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น<br />นอกเหนือจากประโยชน์ของตนเองแล้วมนุษย์ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของผู้อื่นด้วย<br />คนเราควรทำใจให้สงบ  ไม่คิดฟุ้งซ่าน   เพื่อความสุขสงบอย่างแท้จริง<br />จิตใจ มีความสำคัญมากกว่าร่างกาย  กายจะเป็นสุขได้ก็ต่อเมื่อใจเป็นสุขแล้ว<br />ใจความสำคัญ<br />ธรรมชาติแวดล้อมตัวเรามีความงดงาม  เราควรใช้ธรรมชาติเป็นที่พักผ่อนอันรื่นรมย์ สงบจิตใจอันว้าวุ่นสับสน  นำธรรมชาติมาเป็นเครื่องเตือนสติ  ทำตนให้เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ  ให้กายเปรียบเหมือนต้นไม้ยืนต้นสงบมั่นคง   ผลิดอกประดับโลกให้สวยงาม  มีร่มเงาเป็นที่พักพิง  ทำใจประดุจสายน้ำที่ไหลไปตามทิศทาต่าง ๆ ได้อย่างอิสรเสรี   ให้ความฉ่ำชื่นแก่ชีวิตทั้งหลาย  หรือ  ให้เหมือนก้อนกรวดทรายที่ไม่หวั่นไหว  รับความกระทบกระเทือนทั้งปวงอย่างสงบนิ่งด้วยความรู้เท่าทันธรรมดาโลก<br />
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์

More Related Content

What's hot

สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 

What's hot (20)

สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 

Viewers also liked (17)

1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
 

Similar to Waterรวมวารีดุริยางค์

โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 

Similar to Waterรวมวารีดุริยางค์ (20)

Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 

More from maerimwittayakom school (16)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอ
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้
 
เสียงของคำ
เสียงของคำเสียงของคำ
เสียงของคำ
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 

Waterรวมวารีดุริยางค์

  • 1. เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑.แทบฝั่งธารที่เราเฝ้าฝันถึง เสียงน้ำซึ่งกระซิบสาดปราศจากเสียงจักรวาลวุ่นวายไร้สำเนียง โลกนี้เพียงแผ่นภพสงบเย็นณ ฝั่งน้ำที่เราเฝ้าใฝ่ฝันถึง ไม่ได้ยินเสียงกระซิบของน้ำ เสียงวุ่นวายไม่ได้ตามมารบกวน สถานที่นี้จึงเป็นพื้นโลกที่สงบเย็นใช้โวหารภาพพจน์โดยวิธีปฏิพากย์หรือปฏิทรรศน์ คือ การกล่าวแสดงความคิดเห็นซึ่งมองเพียงผิวเผินว่าขัดแย้งกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยถ่องแท้แล้วจะไม่ขัดกันและเป็นไปได้ เช่น เสียงกระซิบซึ่งไม่มีเสียง จักรวาลวุ่นวายแต่ไม่มีเสียงดัง นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐานหรือบุคคลวัตรแสดงลักษณะการกระซิบของเสียงน้ำ ซึ่งเป็นการนำเอากริยากระซิบของมนุษย์มาใช้กับธรรมชาติคือเสียงของน้ำ๒.เพื่อชื่นชมรมณีย์กับชีวิต ที่จะคิดจะทำตามคิดถึง ระเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉ่ำลืมลำเค็ญ ลืมความเป็นปรัศนีย์ของชีวิตเพื่อชื่นชมกับสิ่งที่ควรทำให้ชีวิตที่จะทำตามความคิดเห็นอย่างอิสระ ความร่มรื่นที่ชื่นฉ่ำทำให้ลืมความทุกข์และปัญหาของชีวิตมีการใช้คำอัพภาส คือ ระเรื่อย และมีการใช้คำซ้ำ คือ เรื่อย เรื่อย เพื่อทำให้เกิดความงามของภาษามีการใช้คำในลักษณะของนามนัย คือ คำว่า ปรัศนี ในความหมายถึงปัญหาของชีวิต๓.หางนกยูงระย้าเรี่ยคลอเคลียน้ำ แพนดอกฉ่ำช้อยช่อวรวิจิตร งามดังเปลวเพลิงป่ามานิรมิต สร้อยโสภิตอภิรุมพุ่มหัวใจหางนกยูงเป็นพวงอยู่เรื่อยๆ น้ำ ดอกที่แผ่กระจายออกไปเป็นช่อที่สวยงามยิ่ง ความดังเปลวเพลิงป่า (เพราะมีสีแดง) ที่มาเนรมิตร ดอกหางนกยูงเป็นพุ่มมีรูปทรงเหมือนฉัตรใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน หรือบุคคลสมมติ ที่กล่าวว่าดอกหางนกยูงทำกริยาคลอเคลีย(ซึ่งเป็นกริยาของคน)กับน้ำ และใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมาโดยการเปรียบดอกหางนกยูงกับเปลวไฟป่าโดยใช้คำเปรียบว่าดุจเนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๔.เพชรน้ำค้างค้างหล่นบนพรมหญ้า เย็นหยาดฟ้ามาผันหลงวันใหม่ เคล้าเคลียหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย เมื่อแฉกดาวใบไผ่ไหวตะวันน้ำค้างที่บริสุทธิ์มีประกายเหมือนเพชร หล่นมาค้างอยู่ที่ใบหญ้าที่เรียบราบเสมอกัน งามดั่งปูพรม ยังมีน้ำค้างบางหยดหลงเหลืออยู่จนถึงรุ่งเช้าวันใหม่ ดุจอาลัยดอกหญ้า ภาพดาวที่เกิดจากใบไผ่แหลมพลิ้วลมแสดงแดดส่องผ่านทำให้เกิดเงาเป็นแฉกคล้ายภาพดาวที่พื้นดินเพชรน้ำค้าง พรมหญ้า และแฉกดาวใบไผ่ นับเป็น โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ โดยเปรียบน้ำค้างเป็นเพชร หญ้าเป็นพรม และ ใบไผ่เป็นดาว นอกจากนี้ยังมีการใช้โวหารแบบบุคลาธิษฐาน คือ การที่น้ำค้างคลอเคลียกับดอกหญ้าอย่างอาลัย เป็นการนำเอากริยาของมนุษย์มาใช้กับธรรมชาติ คือ น้ำค้าง ๕.มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ ราชินีแห่งน้ำค้างจะห่างหัน ผักต้อยติ่งแตกจังหวะประชันกัน จักจั่นจี่เจื้อยรับเรื่อยร้องเสียงต่าง ๆ ที่ดังมาจากราวป่าประดุจเสียงมโหรี ยอดน้ำค้างก็จะหายไป เสียงผักต้อยติ่ง (ที่ถูกน้ำค้าง) แตกดังเป็นจังหวะ เสียงจักจั่นและแมลงชนิดหนึ่ง (จี่) ร้องเจื้อยแจ้วรับกันเป็นจังหวะมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบนามนัย โดยการนำเอาเสียงธรรมชาติในป่าเปรียบเป็นเสียงมโหรีมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบนามนัย โดยการนำเอาลักษณะที่โดดเด่นของราชินีมาเปรียบกับน้ำค้าง๖.ลมระเริงลู่หวิวพลิ้วระรอก สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง แล้วใบไม้ก็ไหวขึงข่ายกรอง ทอแสงทอดทอดประทับรับน้ำค้างลมพัดต้องใบไม้พลิ้วเป็นระลอก เหมือนกับจะล้อยอดไม้ที่แกว่งไกวไปมา ใบไม้ส่าย (เพราะแรงลม) เป็นข่าวกรองแสงแดดประดุจแสงทองส่องมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า ลม ทำกริยา ระเริงและสัพยอก กับยอดไม้ <br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๗.ดอกไม้ป่าปรุงกลิ่นประทินป่า อบบุหงามาลัยที่ไพรกว้าง หอมจนหอบหัวใจไปเคว้งคว้าง เคลิ้มถวิลกลิ่นปรางอบกลางทรวงดอกไม้ป่าส่งกลิ่นหอมไปทั่วป่า เหมือนป่ากว้างนั้นอบอวลไปด้วยกลิ่นบุหงาและมาลัยหอมจนพาหัวใจล่องลอยเคว้งคว้างไปจนเคลิบเคลิ้มถึงกลิ่นแก้มหอมอบอวลอยู่ในหัวใจมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า ดอกไม้ป่า ทำกริยา ปรุงกลิ่น อย่างมนุษย์ และมีการใช้โวหารแบบอติพจน์ การกล่าวเกินจริง ว่ากลิ่นหอมของดอกไม้หอบให้หัวใจลอยเคว้งคว้างได้๘.ผีเสื้อสวยแต้มสีที่กลีบแก้ม ชมพูแย้มแดงระยับสลับม่วง ก้านเกสรอ่อนฉ่ำน้ำผึ้งรวง หยาดหยดพวงพุ่มระย้าจากคาคบผีเสื้อสีสวยมาเกาะดอกไม้ บางตัวมีสีชมพู สีแดงระยับ สลับกับสีม่วง เกสรดอกไม้หอมหวาน เหมือนน้ำผึ้งรวงที่หยดมาจากรวงผึ้งที่คาคบไม้ มีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กล่าวว่า ผีเสื้อทำกริยาอย่างมนุษย์ คือ แต้มสี ที่กลีบของดอกไม้ มี การใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ โดยเปรียบน้ำหวานของดอกไม้เป็นน้ำผึ้งรวง๙. และเราลิ้มรสหวามของความหวาน จากสายธารที่ไหลไม่รู้จบ จากสายใจไหลย้อนซอกซอนซบ เงียบสงบระงับลงตรงมุมนี้เมื่อได้รับรสสัมผัสของความสงบ จากการที่ได้มาอยู่ริมฝั่งธารนี้แล้ว ใจที่วุ่นวายก็สงบลงมีการใช้คำซ้ำ คือ จากสายธาร และ จากสายใจ เพื่อ ทำให้เกิดความงามของภาษา<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๐.เลิกความคิดขันแข่งปรุงแต่งจิต เลิกชีวิตวุ่นวายในทุกที่ เลือกเดือดร้อนดิ้นรนคนใยดี ไม่ต้องมีปรารถนาในอารมณ์เลิกคิดต่อสู้แข่งขันชิงดีซึ่งเป็นกิเลสปรุงแต่งจิต เลิกชีวิตที่วุ่นวายไม่เดือดร้อนดิ้นรนสนใจความใยดีของใคร และไม่มีความปรารถนาใด ๆ ในอารมณ์อีกมีการใช้คำซ้ำ คือ เลิก เพื่อ เน้นย้ำให้เลิก๑๑.ฟังต้นไม้สายน้ำย้ำให้หยุด หยุดเสียเถิดมนุษย์หยุดสะสม หยุดปรุงแต่งแสร้งความตามนิยม สร้างสังคมโสโครกโลกจึงร้อนฟังต้นไม้-สายน้ำที่ขอร้องให้มนุษย์หยุดสะสมวัตถุ หรืออุปทานความยึดมั่นต่าง ๆ หยุดนิยมยินดีในสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมาตามความนิยม เมื่อสร้างสมสิ่งโสโครกเหล่านี้ไว้มาก ๆ โลกจึงเกิดความเดือดร้อนวุ่นวายมีการใช้คำซ้ำ คือ หยุด เพื่อ เน้นย้ำให้หยุด และ มีการใช้โวหารแบบบุคลาธิษฐาน คือ ต้นไม้สายน้ำ ทำกริยาย้ำให้หยุด๑๒.จงหยุดชมชื่นใจในใจเถิด ทุกสิ่งเกิดก่อไว้ในใจก่อน สมมุติจากหัวใจไปทุกตอน ใจจึงซ่อนทุกสิ่งจริงลวงไว้จงหยุดความชื่นชมในใจ เพราะอะไร ๆ ก็ย่อมเกิดจากใจก่อน ใจตกลงยอมรับการปรุงแต่งให้เป็นเช่นนั้นเช่นนี้ ใจจึงซ่อนทุกสิ่งไว้ ทั้งสิ่งจริงและสิ่งหลอกลวงมีการใช้คำซ้ำ คือ ใจ เพื่อ แสดงถึงความสำคัญของ ใจ ว่า ใจ เป็นที่เกิดของทุกสิ่งทุกอย่าง ทั้งความจริงและความเท็จ<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๓.สงสารใจ ใจเจ้าเอ๋ยไม่เคยนิ่ง วนและวิ่งคืนและวันหวั่นไหว เหมือนถูกกายกำบังกักขังไว้ ใจจึงได้ดิ้นรนทุกหนทางใจคนเราไม่เคยหยุดนิ่ง คิดวนเวียนไปทุกอย่างตามอารมณ์ เพราะใจนั้นเหมือนถูกขังไว้ใน ร่างกาย จึงต้องพยายามดิ้นรนทุกวิถีทางมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน ใช้กริยาวิ่งซึ่งเป็นกริยาของคนกับใจ มีการเล่นคำสัมผัส อักษร วน วิ่ง หวั่น ไหว และ ใช้คำที่มีความหมายตรงข้าม คือ คืน กับ วัน ๑๔. กลางคืนคอยเป็นควันอัดอั้นไว้ กลางวันก็เป็นไฟไปทุกอย่าง ร่างกายถูกผูกพันสรรพางค์ เป็นสื่อกลางแก่ใจรับให้การกลางคืนจิตใจก็เป็นควัน คือมีด้วยกิเลสตัณหา พอกลางวันก็จะเป็นไฟ คือราคะโทสะโมหะ ร่างกายถูกใจบงการให้ทำงานต่าง ๆ ตามที่ใจปรารถนามี การใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ เปรียบใจเป็น ควัน และ ไฟ๑๕.เมื่อใจทุกข์กายก็ต้องทนครองทุกข์ ครั้นใจสุขกายก็สุขสนุกสนาน วนเวียนหว่างทุกข์สุขทุกวันวาน แล้วสะสมสันดานการเป็นตนกายกับใจเป็นสิ่งเนื่องกัน เมื่อใจเป็นทุกข์ กายก็พลอยทุกข์ไปด้วย เมื่อใจสุข กายก็พลอยเป็นสุข ความสุข-ความทุกข์ หมุนเวียนเปลี่ยนไปทุกวันเวลา นี่แหละคือความเป็นคนมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบปฏิพากย์ ใช้คำที่มีความหมายตรงข้ามกันคือ ทุกข์ กับ สุข <br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๖.ทุกวิถีที่ใจได้ท่องเที่ยว ย่อมขึ้นล่องอยู่ระหว่างกลางปลายต้น ที่โคจรของใจไม่เคยจน ไม่เคยพ้นเคยพรากจากวงจรทุกวิถีทางที่ใจคิดไปย่อมวนเวียนอยู่ที่ต้น กลางปลายที่เที่ยวไปของใจมีมากมาย ไม่เคยพ้นจากการคิดดังกล่าวนี้ไปได้เลยมีการใช้ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน ใช้คำว่าเที่ยวท่องกับใจ คล้ายกับสิ่งมีชีวิตเช่น คนหรือสัตว์๑๗.ใจจึงหน่ายจึงเหนื่อยจึงเมื่อยล้า วุ่นผวาว่อนไหวถูกไล่ต้อน เกิดแล้วก่อล่อแล้วเร้นเย็นแล้วร้อน ไม่พักผ่อนเพียงสักคราวเฝ้าแฟบฟูดังนั้นใจจึงเกิดการเหนื่อยหน่ายและอ่อนเพลีย ถูกอารมณ์ต่าง ๆ ไล่ต้อนตลอดเวลา เกิด สร้าง ล่อ หนี เดี๋ยวเย็นเดี๋ยวร้อน คือ เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ อยู่ตลอดเวลามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบปฏิพากย์ ใช้คำที่มีความหมายตรงข้ามกันคือ ล่อ กับ เร้น เย็น กับ ร้อน แฟบ กับ ฟู และใช้คำสัมผัสอักษร คือ เกิด ก่อ แฟบ ฟู๑๘.รู้และเห็นเป็นไปตามใจอยาก จึงเหมือนฉากขวากขวางกำบังอยู่ หยุดเสียทีหยุดเสียเถิดเปิดประตู เพื่อได้รู้และได้เห็นตามเป็นจริงอยากรู้อยากเห็นสิ่งต่าง ๆ ตามที่ใจปรารถนา จึงเป็นเหมือนฉากกั้นไม่ให้มองเห็นความจริง หยุดคิดเสียเถิดทำใจให้สงบ แล้วใช้ปัญญามองดูโลกตามความเป็นจริง อย่ามองโลกตามอำนาจกิเลสตัณหามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบความอยาก เป็นเหมือน ฉาก กับ ขวาก ที่คอยปิดบังอยู่<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๑๙.ขอกายเจ้าจงเป็นเช่นต้นไม้ ยืนอยู่ได้โดยพบสงบนิ่ง เพื่อแผ่ร่มให้เป็นหลักเพื่อพักพิง แต่งดอกพริ้งผลัดฤดูอยู่ชั่วกาลขอให้ร่างกายเป็นเหมือนต้นไม้ คืออยู่อย่างสงบเพื่อความร่มเย็น เป็นที่พักพิงและสวยงามทุกกาลเวลามีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ โดยเปรียบกายเป็นต้นไม้และเปรียบร่มไม้เป็นที่พักพิง๒๐.และใจเจ้าจักเป็นเช่นสายน้ำ ใสเย็นฉ่ำชื่นแล้วไหลแผ่วผ่าน เพื่อเลี้ยงชีพโลมไล้ให้เบิกบาน เพียงพ้องพานผิวแผ่วแล้วผ่านเลยและขอให้ใจเป็นดังสายน้ำ คือ ใสเย็น สงบ เบิกบาน เมื่อมีอารมณ์อะไรมากระทบก็ไม่ยึดมั่น ปล่อยวางเสียมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ โดยเปรียบใจเป็นสายน้ำ๒๑.อิสระเสรีที่จะไหล ด้วยเพลงไพเราะล้ำร่ำเฉลย ชมดอกไม้สายลมพรมรำเพย และชื่นชมกับชีวิตทุกทิศทางใจย่อมมีอิสระเสรีเพราะไม่ตกอยู่ใต้อำนาจของความปรารถนา เป็นใจที่อยู่กับธรรมชาติ และชื่นชมกับชีวิตทุกอย่างมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน โดยใช้กริยา เฉลย ชม ชื่นเชย ซึ่งเป็นกริยาของคนไปเปรียบกริยาของน้ำ<br />เนื้อหาแปลวิเคราะห์โวหาร๒๒.วงของน้ำทำประกายกับสายแดด ร้อนจะแผดเผาทรายพริบพรายพร่าง ราวกากเพชรเกล็ดโปรดโรยระวาง หาดทรายกว้างกลางน้ำเริ่มคร่ำครวญน้ำย่อมทำประกายเมื่อถูกแดดเผา ความร้อนจะทำให้ทรายเกิดระยิบระยับดุจโปรยด้วยกากเพชรมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบความระยิบระยับของวงน้ำเหมือนกากเพชร โดยใช้คำเปรียบว่า ราวและมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน โดยใช้กริยา คร่ำครวญ ซึ่งเป็นกริยาของคนไปเปรียบกริยาของกรวดที่ไหลไปตามน้ำ๒๓.ไม่ไยดีปรีดาประสาโลก ไม่ทุกข์โศกเสียใจหรือไห้หวน มีสุขอยู่ทุกยามตามที่ควร ไม่ปั่นป่วนไปตามความเร่าร้อนเมื่อมีสิ่งใดมากระทบตามวิถีทางแห่งโลก มนุษย์ก็ไม่ทุกข์ โศกเสียใจหรือร่ำไห้ ทำใจให้เป็นสุข ไม่เร่าร้อนไปตามความรู้สึกหรืออารมณ์ที่มากระทบมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน กำหนดให้กรวดทำกริยา ไยดีปรีดา ทุกข์โศก ไห้หวน มีความสุข ปั่นป่วน เช่นเดียวกับคนหรือสัตว์๒๔.รู้จักเพียงพอที่จักรับ ความเกิดดับธรรมดาอุทาหรณ์ พร้อมความรู้สึกตามวิสัยไปทุกตอน เหมือนก้อนกรวดทรายย่อมคล้ายกันรู้จักความพอดีที่จะรับอารมณ์ รู้เท่าทันธรรมดาโลก เช่น ความเกิด ความดับ ต้องรู้ทันไปทุกตอน กล่าวคือต้องทำตัวประดุจก้อนกรวดทราย ไม่หวั่นไหว รับสิ่งที่มากระทบอารมณ์ด้วยจิตใจที่สงบและเยือกเย็นมีการใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมา เปรียบคนเราที่เข้าใจธรรมดาโลกเหมือนก้อนกรวดทราย<br />แนวคิดเรื่องวารีดุริยางค์ ให้แนวคิดสำคัญ ดังนี้<br />ธรรมชาติมีความสวยงามและรื่นรมย์<br />ธรรมชาติเป็นที่พักพิงให้ความสงบทั้งกายและใจ<br />ธรรมชาติเป็นอนุสติเตือนให้เกิดความคิดในทางสร้างสรรค์<br />ค่านิยมเรืองวารีดุริยางค์ แสดงให้เห็นค่านิยมบางประการ ดังนี้<br />ความงามของธรรมชาติมีคุณค่าเหนือความงามที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น<br />นอกเหนือจากประโยชน์ของตนเองแล้วมนุษย์ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของผู้อื่นด้วย<br />คนเราควรทำใจให้สงบ ไม่คิดฟุ้งซ่าน เพื่อความสุขสงบอย่างแท้จริง<br />จิตใจ มีความสำคัญมากกว่าร่างกาย กายจะเป็นสุขได้ก็ต่อเมื่อใจเป็นสุขแล้ว<br />ใจความสำคัญ<br />ธรรมชาติแวดล้อมตัวเรามีความงดงาม เราควรใช้ธรรมชาติเป็นที่พักผ่อนอันรื่นรมย์ สงบจิตใจอันว้าวุ่นสับสน นำธรรมชาติมาเป็นเครื่องเตือนสติ ทำตนให้เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ให้กายเปรียบเหมือนต้นไม้ยืนต้นสงบมั่นคง ผลิดอกประดับโลกให้สวยงาม มีร่มเงาเป็นที่พักพิง ทำใจประดุจสายน้ำที่ไหลไปตามทิศทาต่าง ๆ ได้อย่างอิสรเสรี ให้ความฉ่ำชื่นแก่ชีวิตทั้งหลาย หรือ ให้เหมือนก้อนกรวดทรายที่ไม่หวั่นไหว รับความกระทบกระเทือนทั้งปวงอย่างสงบนิ่งด้วยความรู้เท่าทันธรรมดาโลก<br />