SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2
                             ทฤษฎีและวรรณกรรมทีเ่ กียวข้ อง
                                                    ่



       การศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องในบทนี้ ผวิจยได้ศึกษามาจากเอกสาร แนวคิด
                                   ั                  ู้ ั
ทฤษฎี และงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
                ั
       2.1 การจําแนกประเภทของการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม
       2.2 วิธีการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม
       2.3 ระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม

2.1 การจําแนกประเภทของการกรองเว็บทีไม่ เหมาะสม
                                             ่
     การกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ได้แก่
     2.1.1 ระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมที่เครื่ อง Client
               เป็ นวิธีการทํางานร่ วมกับการทํางานของโปรแกรม Browser โดยการสร้างระบบ
             ั
Rating ให้กบเว็บเพื่อระบุประเภทของเนื้อหาภายในเว็บและแยกเป็ นประเภทเก็บไว้ และกําหนด
                                         ั ้
ระดับความสามารถในการใช้งานให้กบผูใช้ เพื่อควบคุมขอบเขตการใช้งาน จะมีองค์กรกลาง
                                                                                    ั ้
ในการรวบรวมรายชื่อเว็บไซต์และกําหนด Rating เพื่อใช้เป็ นฐานข้อมูลกลางให้กบผูใช้ ปั จจุบน     ั
มีหน่วยงานชื่อ Recreational Software Advisory Council’s Internet rating system
(RSACi) สร้างระบบ Rating ขึ้นมาใช้งานร่ วมกับ Internet Explorer ซึ่ งเป็ น Browser ที่ติด
มากับ Windows สามารถกําหนดระดับความสามารถในการใช้งานของผูใช้ได้         ้
     2.1.2 สร้างระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมที่ Gateway
               Gateway เป็ นเส้นทางที่ใช้ติดต่อกับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งที่เป็ น Router ,
                                                                 ่
Firewall และ Proxy Cache Server จะมี Software ทํางานอยูบน Hardware ที่ทาหน้าที่เป็ น      ํ
                                                                          ่
Gateway เหล่านี้ เพื่อกรองเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม ทําให้ Client ที่อยูภายใต้ Gateway ไม่
สามารถเข้าชมเว็บไซต์เหล่านี้ได้
                                                                                        ่
               การสร้างระบบการกรองเว็บไม่เหมาะสมที่เครื่ อง Client มีความยืดหยุนต่อการใช้
งานเพราะผูใช้สามารถกําหนดระดับความสามารถของตนเองได้ ตามความต้องการของแต่ละ
           ้
5



Client    ซึ่ งจะทําให้เกิดความหลากหลายต่อการใช้งาน ส่ วนการสร้างระบบการกรองเว็บไม่
เหมาะสมที่ Gateway จะเป็ นการกําหนดให้กบระบบภายในทั้งระบบ จะมีผลต่อ Client ที่อยู่
                                          ั
                             ่
ภายในทั้งหมดไม่มีความยืดหยุน แต่สะดวกต่อการจัดการเพราะทําครั้งเดียว แห่ งเดียว แต่มีผลกับ
ระบบทั้งหมด

2.2 วิธีปองกันเว็บทีไม่ เหมาะสมทีมีอยู่ในปัจจุบัน
             ้              ่            ่
       วิธีป้องกันของระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมทั้งแบบสร้างที่เครื่ อง Client หรื อสร้างที่
Gateway จะมีวธีป้องกันอยู่ 3 วิธี ด้วยกัน (Rongbo, Reihaneh and Willy 2003 : 325 – 326)
                   ิ
      2.2.1 Blacklists and Whitelists
                                                                                              ั
               วิธีน้ ีเป็ นการสร้างรายชื่อเว็บไซต์ที่ไม่อนุญาตการใช้งานและอนุญาตการใช้งานให้กบ
ระบบ Blacklists จะเป็ นรายชื่อเว็บไซต์ที่ไม่อนุญาตให้ใช้และ Whitelists จะเป็ นรายชื่อ
เว็บไซต์ที่อนุญาตอนุญาตให้ใช้งานได้ (Oskar 2003 : 23-26) โดยรายชื่อเหล่านี้จะต้องทําการ
ปรับปรุ งอยู่ตลอดเวลา เนื่ องจากเว็บไซต์ที่เกิดใหม่อยู่เสมอ และเป็ นภาระของบุคลากรที่จะต้อง
คอยปรับปรุ ง Blacklistsและ Whitelists อยูตลอดเวลาเช่นกัน อีกทั้งหากระบบที่อยูเ่ หนื อขึ้น
                                                    ่
                                            ่
ไปมีการกรองเว็บไซต์ไม่เหมาะสมอยูแล้วบางส่ วน ก็จะทําให้มีการทํางานซํ้าซ้อน เป็ นการเพิ่ม
           ั
ภาระให้กบระบบมากขึ้น
       2.2.2 Keyboard Blocking
               วิธีน้ ีเป็ นการใช้กลุ่มของข้อความต้องห้าม มาเป็ นเครื่ องมือในการสร้างกฎเกณฑ์ใน
การอนุญาต หรื อไม่อนุญาตให้ใช้ (Oskar 2003 : 23-26) โดยจะใช้กลุ่มของข้อความต้องห้ามเป็ น
ข้อมูล สําหรับเปรี ยบเทียบกับชื่อเว็บไซต์ ถ้ามีขอความที่ตรงกับกลุ่มของข้อความต้องห้าม
                                                             ้
อาจจะตรงกันบางส่ วนหรื อตรงกันทั้งหมด ก็จะไม่อนุญาตให้ใช้งานในเว็บไซต์ดงกล่าว แต่ถาไม่
                                                                                 ั          ้
ตรงกับกลุ่มของข้อความต้องห้าม ก็จะอนุญาตให้ใช้งานเว็บไซต์น้ นได้ วิธีการนี้ถาผูสร้างเว็บไซต์
                                                                       ั           ้ ้
ไม่เหมาะสมอาศัยการตั้งชื่อแบบสะกดผิด อาจหลีกเลี่ยงวิธีการกรองแบบนี้ ได้ และการเลือก
กลุ่มของข้อความที่จะนํามาใช้สร้างกฎเกณฑ์ในการอนุญาตหรื อไม่อนุญาต ก็จะเป็ นการยากที่จะ
เลือกให้ได้ครอบคลุม เพราะคําบางคําอาจมีความหมายทั้งสองด้าน
       2.2.3 Rating System
               วิธีน้ ีเป็ นการกําหนด Rating ให้กบเว็บไซต์ต่างๆ โดยผูดูแลเว็บจะพิจารณากําหนด
                                                      ั                  ้
Rating ของเว็บไซต์ของตน และนําชื่อเว็บไซต์ของตนไปลงทะเบียนการจัด Rating ของเว็บไซต์
ของตน และนําชื่ อเว็บไซต์ของตนไปลงทะเบียนการจัด Rating ไว้กบองค์กรกลางที่รับจดั
ทะเบียน เช่น The Recreational Software Advisory Council ratingservice for Internet
6



(RSACi) และ Internet Content Rating Association (ICRA) องค์กรกลางเหล่านี้ จะเป็ น
ศูนย์กลาง     ในการรวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ และจัด Rating ตามที่ได้ลงทะเบียนเอาไว้
การใช้งานจะทํางานผ่านระบบ Browser หรื อ Application ที่ทางานร่ วมกับ Browser (พิรงรอง
                                                        ํ
รามสู ตรณะนันทน์และนิธิมา คณานิธินนท์ 2547 : 33-35)
                                   ั

2.3 ระบบการปองกันเว็บทีไม่ เหมาะสมทีมีในปัจจุบัน
                     ้          ่               ่
      ปัจจุบนมีหลายหน่วยงานที่พฒนาการป้ องกันเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม ได้แก่
              ั                       ั
       2.3.1 The Internet Content Rating Association (ICRA)
                เป็ นองค์กรที่ไม่หวังผลกําไร ริ เริ่ มจาก Dr. Donald F. Roberts จากมหาวิทยาลัย
Standford สร้างระบบการป้ องกันเว็บไซต์ที่ไม่เหมะสมด้วยวิธี Rating System ใช้งานผ่าน
Browser โดยมี ICRAplus filter เป็ นเครื่ องมือในการกรองเว็บไม่เหมาะสม เพื่อป้ องกันเด็ก
และเยาวชนจากพิษภัยที่เกิดจากอินเทอร์เน็ต เดิมใช้ชื่อว่า Recreational Software Advisory
Council’s Internet rating System (RSACi) (w.w.w.rsac.org) (Family Online Safety
Institute 2006)
       2.3.2 SafeSurf Rating
                 เป็ นระบบป้ องกันเว็บไม่เหมาะสมที่สร้างด้วยวิธี Rating System ใช้งานผ่าน
Browser ที่แบ่งเนื้อหาของเว็บไซต์ออกเป็ น 12 ด้าน เป้ าหมายหลักเพื่อให้มีการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม ต่อมาได้พฒนาเพื่อสนับสนุนช่วยเหลือและให้ความเป็ นธรรมกับ
                                                  ั
ผูปกครองของเด็กและเยาวชน (SafeSurf 2006)
  ้
       2.3.3 SmartFilter
                เป็ นระบบป้ องกั น เว็ บ ไม่ เ หมาะสมที่ ส ร้ า งขึ้ นสํ า หรั บ อุ ป กรณ์ ที่ ท ํา หน้ า ที่ เ ป็ น
Firewall, Proxy หรื อ Caching มีลกษณะเป็ นสิ นค้าที่เป็ นอุปกรณ์สาหรับใช้งานโดยมี Software
                                         ั                                   ํ
บรรจุ อ ยู่ใ นตัว อุ ป กรณ์ เน้น การป้ องกัน การใช้เ ครื อ ข่ า ยไปในทางที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง (Secure
Computing Corporation 2006)
       2.3.4 Squidguard
                เป็ น Software ที่ติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อใช้งานกับ Proxy Cache Server ใช้งานควบคู่
ไปกับ SQUID สามารถจํากัดการใช้งาน อนุญาตให้ใช้งานเฉพาะเว็บไซต์ที่เหมาะสม ห้ามใช้
                                                                                        ่
งานเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม (blacklists) ห้ามใช้งานเว็บไซต์ที่มีคาต้องห้ามอยูในชื่อของเว็บไซต์
                                                                           ํ
สามารถ update Blacklist กับทางเว็บไซต์ได้ (SquidGuard 2006)
7



        2.3.5 Internet Access Content Management
                  เป็ นอุปกรณ์บริ หารจัดการการใช้อินเทอร์เน็ตภายในองค์กร สามารถป้ องกันการเข้า
ไปดูเว็บไซต์ไม่เหมะสมได้ 60 ประเภท และป้ องกันการดาวน์โหลดไฟล์หนังหรื อเพลงต่างๆ ที่
ทําให้ระบบเครื อข่ายทํางานช้าลง และสามารถตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตของบุคลากรได้แบบ
Real – Time (บุญสู งเทคโนโลยี 2549)
        2.3.6 DataReactor iMimic Networking Inc.
                  เป็ นระบบที่ทางานบน FreeBSD, Linux และ Solaris ทํางานร่ วมกับระบบ
                                   ํ
Caching ช่วยในการลดภาระงานของ Server และลดปริ มาณ Traffic ในระบบ (iMimic
Networking 2006)
        2.3.7 SITA URL filtering
                เป็ นระบบ Web Filtering ติดตั้งพร้อมกับอุปกรณ์ firewall ใช้งานใน
หน่วยงานที่มีความต้องการบังคับ ให้การใช้งานทรัพยากรเครื อข่ายที่มีการใช้งานร่ วมกันใช้ได้
                                                  ั
อย่างคุมค่า โดยกฎเกณฑ์การใช้งานให้กบพนักงานได้เหมาะสมกับงาน สามารถ update URL
         ้
list ให้ทุกวัน ลักษณะการทํางานเป็ นแบบควบคุมการใช้งานจาก Blacklists (SITA 2005)
           2.3.8 WEB Filtering for WinProxy
                 เป็ นระบบที่ทางานกับ WinProxy
                                 ํ                                     ซึ่ งเป็ นโปรแกรมประเภท Caching
Server ทํางานบน Windows 98, NT, 2000, ME, XP มีการ update รายชื่อเว็บไซต์ไม่
เหมาะสมอย่างต่อเนื่ อง เพื่อป้ องกันผูใช้ที่ดีออกจากสิ่ งที่ไม่ดีในระบบเครื อข่าย ลักษณะการ
                                                ้
ทํางานเป็ นแบบควบคุมการใช้งานจาก Blacklists (Blue Coat Systems 2006)
        2.3.9 SonicWALL Content Filtering Service (CFS)
                เป็ นระบบที่ ที่ มุ่ ง หวัง ให้ก ารใช้ง านเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นไปเพื่ อ องค์ก รและ
การศึกษาโดยการควบคุมการใช้งานผ่านระบบ Blacklists โดยมีการ update รายชื่อให้
อัตโนมัติ (SonicWALL 2006)
        2.3.10 FORTIGUARD WEB Filtering
                 เป็ นระบบที่ประกอบด้วย FortiGuard Rating                         Server เก็บรายชื่อเว็บไซต์
ต่างๆไว้พร้อมการกําหนด Rating ในแต่ละเว็บไซต์ และ FortiGuard Antivirus Firewall
เป็ นส่ วนที่ควบคุมการใช้งานเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตขององค์กร (FORTINET 2006)
                    นอกจากนี้ยงมีเครื่ องมือที่ใช้ในการป้ องกันเว็บไม่เหมาะสมอีกหลายตัวด้วยกัน
                              ั
เช่น BizGuard, Cyber Patrol www.cyberpatrol.com, CYBER sitter www.cybersitter.com,
Cyber Snoop, Internet Watcher 2000, Net Nanny www.netnanny.com, Norton Internet
8



Security, Optenet, SurfMonkey, X-Stop   โดยทั้งหมดมุ่งเน้นไปทางด้านธุรกิจ มีค่าใช้จ่ายใน
การใช้งานทั้งสิ้ น

Más contenido relacionado

Destacado

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
Gerlen dohio
Gerlen dohioGerlen dohio
Gerlen dohiojiguurten
 
Wlc 3 диеты
Wlc 3 диетыWlc 3 диеты
Wlc 3 диетыuximuk
 
Go ahead_科美分組報告
Go ahead_科美分組報告Go ahead_科美分組報告
Go ahead_科美分組報告cindy783
 
Informativa representativa
Informativa representativaInformativa representativa
Informativa representativaaasafaellgren
 
Presentacion relleno sanitario olavarria
Presentacion relleno sanitario olavarriaPresentacion relleno sanitario olavarria
Presentacion relleno sanitario olavarriaClément Cailly
 
Social media syneton
Social media synetonSocial media syneton
Social media synetonSyneton
 
Сухие грибы Лесные угодья
Сухие грибы Лесные угодьяСухие грибы Лесные угодья
Сухие грибы Лесные угодьяC-Project
 
Dund hut in angi mongol hool lekts 8
Dund hut in angi  mongol hool lekts 8 Dund hut in angi  mongol hool lekts 8
Dund hut in angi mongol hool lekts 8 Lha Bolorerdene
 
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥ
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥΟ ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥ
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥtasos30fullou
 

Destacado (16)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Lecture 4
Lecture   4Lecture   4
Lecture 4
 
Konverting
KonvertingKonverting
Konverting
 
Gerlen dohio
Gerlen dohioGerlen dohio
Gerlen dohio
 
Salient poles
Salient polesSalient poles
Salient poles
 
Wlc 3 диеты
Wlc 3 диетыWlc 3 диеты
Wlc 3 диеты
 
1
11
1
 
Go ahead_科美分組報告
Go ahead_科美分組報告Go ahead_科美分組報告
Go ahead_科美分組報告
 
Hiina
HiinaHiina
Hiina
 
Informativa representativa
Informativa representativaInformativa representativa
Informativa representativa
 
Presentacion relleno sanitario olavarria
Presentacion relleno sanitario olavarriaPresentacion relleno sanitario olavarria
Presentacion relleno sanitario olavarria
 
Social media syneton
Social media synetonSocial media syneton
Social media syneton
 
Сухие грибы Лесные угодья
Сухие грибы Лесные угодьяСухие грибы Лесные угодья
Сухие грибы Лесные угодья
 
Dund hut in angi mongol hool lekts 8
Dund hut in angi  mongol hool lekts 8 Dund hut in angi  mongol hool lekts 8
Dund hut in angi mongol hool lekts 8
 
Riza_hotel_architecture
Riza_hotel_architectureRiza_hotel_architecture
Riza_hotel_architecture
 
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥ
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥΟ ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥ
Ο ΚΑΘΕΝΑΣ ΚΟΥΒΑΛΑ ΤΟ ΣΤΑΥΡΟ ΤΟΥ
 

Similar a ตัวอย่างบทที่2โปรแกรม filter บน linux

ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linuxrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linuxrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linuxrubtumproject.com
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eSchool
 
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...Chaisuriya
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3teerarat55
 
ระบบชุมชนออนไลน์ 501
ระบบชุมชนออนไลน์ 501ระบบชุมชนออนไลน์ 501
ระบบชุมชนออนไลน์ 501Nextzy Technologies Co.,ltd
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3shopper38
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3teerarat55
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บ
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บเครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บ
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บChaisuriya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 

Similar a ตัวอย่างบทที่2โปรแกรม filter บน linux (20)

ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่3โปรแกรม filter บน linux
 
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทคัดย่อโปรแกรม filter บน linux
 
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linuxตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linux
ตัวอย่างบทที่1โปรแกรม filter บน linux
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of e
 
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...
คุณสมบัติของข้อมูลกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย...
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ระบบชุมชนออนไลน์ 501
ระบบชุมชนออนไลน์ 501ระบบชุมชนออนไลน์ 501
ระบบชุมชนออนไลน์ 501
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บ
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บเครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บ
เครื่องมือและเทคนิคการวิเคระห์ในกลุ่มซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมูลกิจกรรมแม่ข่ายเว็บ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 

Más de rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 

Más de rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 

ตัวอย่างบทที่2โปรแกรม filter บน linux

  • 1. บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจยที่เกี่ยวข้องในบทนี้ ผวิจยได้ศึกษามาจากเอกสาร แนวคิด ั ู้ ั ทฤษฎี และงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ั 2.1 การจําแนกประเภทของการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม 2.2 วิธีการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม 2.3 ระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสม 2.1 การจําแนกประเภทของการกรองเว็บทีไม่ เหมาะสม ่ การกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1.1 ระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมที่เครื่ อง Client เป็ นวิธีการทํางานร่ วมกับการทํางานของโปรแกรม Browser โดยการสร้างระบบ ั Rating ให้กบเว็บเพื่อระบุประเภทของเนื้อหาภายในเว็บและแยกเป็ นประเภทเก็บไว้ และกําหนด ั ้ ระดับความสามารถในการใช้งานให้กบผูใช้ เพื่อควบคุมขอบเขตการใช้งาน จะมีองค์กรกลาง ั ้ ในการรวบรวมรายชื่อเว็บไซต์และกําหนด Rating เพื่อใช้เป็ นฐานข้อมูลกลางให้กบผูใช้ ปั จจุบน ั มีหน่วยงานชื่อ Recreational Software Advisory Council’s Internet rating system (RSACi) สร้างระบบ Rating ขึ้นมาใช้งานร่ วมกับ Internet Explorer ซึ่ งเป็ น Browser ที่ติด มากับ Windows สามารถกําหนดระดับความสามารถในการใช้งานของผูใช้ได้ ้ 2.1.2 สร้างระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมที่ Gateway Gateway เป็ นเส้นทางที่ใช้ติดต่อกับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งที่เป็ น Router , ่ Firewall และ Proxy Cache Server จะมี Software ทํางานอยูบน Hardware ที่ทาหน้าที่เป็ น ํ ่ Gateway เหล่านี้ เพื่อกรองเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม ทําให้ Client ที่อยูภายใต้ Gateway ไม่ สามารถเข้าชมเว็บไซต์เหล่านี้ได้ ่ การสร้างระบบการกรองเว็บไม่เหมาะสมที่เครื่ อง Client มีความยืดหยุนต่อการใช้ งานเพราะผูใช้สามารถกําหนดระดับความสามารถของตนเองได้ ตามความต้องการของแต่ละ ้
  • 2. 5 Client ซึ่ งจะทําให้เกิดความหลากหลายต่อการใช้งาน ส่ วนการสร้างระบบการกรองเว็บไม่ เหมาะสมที่ Gateway จะเป็ นการกําหนดให้กบระบบภายในทั้งระบบ จะมีผลต่อ Client ที่อยู่ ั ่ ภายในทั้งหมดไม่มีความยืดหยุน แต่สะดวกต่อการจัดการเพราะทําครั้งเดียว แห่ งเดียว แต่มีผลกับ ระบบทั้งหมด 2.2 วิธีปองกันเว็บทีไม่ เหมาะสมทีมีอยู่ในปัจจุบัน ้ ่ ่ วิธีป้องกันของระบบการกรองเว็บที่ไม่เหมาะสมทั้งแบบสร้างที่เครื่ อง Client หรื อสร้างที่ Gateway จะมีวธีป้องกันอยู่ 3 วิธี ด้วยกัน (Rongbo, Reihaneh and Willy 2003 : 325 – 326) ิ 2.2.1 Blacklists and Whitelists ั วิธีน้ ีเป็ นการสร้างรายชื่อเว็บไซต์ที่ไม่อนุญาตการใช้งานและอนุญาตการใช้งานให้กบ ระบบ Blacklists จะเป็ นรายชื่อเว็บไซต์ที่ไม่อนุญาตให้ใช้และ Whitelists จะเป็ นรายชื่อ เว็บไซต์ที่อนุญาตอนุญาตให้ใช้งานได้ (Oskar 2003 : 23-26) โดยรายชื่อเหล่านี้จะต้องทําการ ปรับปรุ งอยู่ตลอดเวลา เนื่ องจากเว็บไซต์ที่เกิดใหม่อยู่เสมอ และเป็ นภาระของบุคลากรที่จะต้อง คอยปรับปรุ ง Blacklistsและ Whitelists อยูตลอดเวลาเช่นกัน อีกทั้งหากระบบที่อยูเ่ หนื อขึ้น ่ ่ ไปมีการกรองเว็บไซต์ไม่เหมาะสมอยูแล้วบางส่ วน ก็จะทําให้มีการทํางานซํ้าซ้อน เป็ นการเพิ่ม ั ภาระให้กบระบบมากขึ้น 2.2.2 Keyboard Blocking วิธีน้ ีเป็ นการใช้กลุ่มของข้อความต้องห้าม มาเป็ นเครื่ องมือในการสร้างกฎเกณฑ์ใน การอนุญาต หรื อไม่อนุญาตให้ใช้ (Oskar 2003 : 23-26) โดยจะใช้กลุ่มของข้อความต้องห้ามเป็ น ข้อมูล สําหรับเปรี ยบเทียบกับชื่อเว็บไซต์ ถ้ามีขอความที่ตรงกับกลุ่มของข้อความต้องห้าม ้ อาจจะตรงกันบางส่ วนหรื อตรงกันทั้งหมด ก็จะไม่อนุญาตให้ใช้งานในเว็บไซต์ดงกล่าว แต่ถาไม่ ั ้ ตรงกับกลุ่มของข้อความต้องห้าม ก็จะอนุญาตให้ใช้งานเว็บไซต์น้ นได้ วิธีการนี้ถาผูสร้างเว็บไซต์ ั ้ ้ ไม่เหมาะสมอาศัยการตั้งชื่อแบบสะกดผิด อาจหลีกเลี่ยงวิธีการกรองแบบนี้ ได้ และการเลือก กลุ่มของข้อความที่จะนํามาใช้สร้างกฎเกณฑ์ในการอนุญาตหรื อไม่อนุญาต ก็จะเป็ นการยากที่จะ เลือกให้ได้ครอบคลุม เพราะคําบางคําอาจมีความหมายทั้งสองด้าน 2.2.3 Rating System วิธีน้ ีเป็ นการกําหนด Rating ให้กบเว็บไซต์ต่างๆ โดยผูดูแลเว็บจะพิจารณากําหนด ั ้ Rating ของเว็บไซต์ของตน และนําชื่อเว็บไซต์ของตนไปลงทะเบียนการจัด Rating ของเว็บไซต์ ของตน และนําชื่ อเว็บไซต์ของตนไปลงทะเบียนการจัด Rating ไว้กบองค์กรกลางที่รับจดั ทะเบียน เช่น The Recreational Software Advisory Council ratingservice for Internet
  • 3. 6 (RSACi) และ Internet Content Rating Association (ICRA) องค์กรกลางเหล่านี้ จะเป็ น ศูนย์กลาง ในการรวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ และจัด Rating ตามที่ได้ลงทะเบียนเอาไว้ การใช้งานจะทํางานผ่านระบบ Browser หรื อ Application ที่ทางานร่ วมกับ Browser (พิรงรอง ํ รามสู ตรณะนันทน์และนิธิมา คณานิธินนท์ 2547 : 33-35) ั 2.3 ระบบการปองกันเว็บทีไม่ เหมาะสมทีมีในปัจจุบัน ้ ่ ่ ปัจจุบนมีหลายหน่วยงานที่พฒนาการป้ องกันเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ ั ั 2.3.1 The Internet Content Rating Association (ICRA) เป็ นองค์กรที่ไม่หวังผลกําไร ริ เริ่ มจาก Dr. Donald F. Roberts จากมหาวิทยาลัย Standford สร้างระบบการป้ องกันเว็บไซต์ที่ไม่เหมะสมด้วยวิธี Rating System ใช้งานผ่าน Browser โดยมี ICRAplus filter เป็ นเครื่ องมือในการกรองเว็บไม่เหมาะสม เพื่อป้ องกันเด็ก และเยาวชนจากพิษภัยที่เกิดจากอินเทอร์เน็ต เดิมใช้ชื่อว่า Recreational Software Advisory Council’s Internet rating System (RSACi) (w.w.w.rsac.org) (Family Online Safety Institute 2006) 2.3.2 SafeSurf Rating เป็ นระบบป้ องกันเว็บไม่เหมาะสมที่สร้างด้วยวิธี Rating System ใช้งานผ่าน Browser ที่แบ่งเนื้อหาของเว็บไซต์ออกเป็ น 12 ด้าน เป้ าหมายหลักเพื่อให้มีการใช้งาน อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม ต่อมาได้พฒนาเพื่อสนับสนุนช่วยเหลือและให้ความเป็ นธรรมกับ ั ผูปกครองของเด็กและเยาวชน (SafeSurf 2006) ้ 2.3.3 SmartFilter เป็ นระบบป้ องกั น เว็ บ ไม่ เ หมาะสมที่ ส ร้ า งขึ้ นสํ า หรั บ อุ ป กรณ์ ที่ ท ํา หน้ า ที่ เ ป็ น Firewall, Proxy หรื อ Caching มีลกษณะเป็ นสิ นค้าที่เป็ นอุปกรณ์สาหรับใช้งานโดยมี Software ั ํ บรรจุ อ ยู่ใ นตัว อุ ป กรณ์ เน้น การป้ องกัน การใช้เ ครื อ ข่ า ยไปในทางที่ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง (Secure Computing Corporation 2006) 2.3.4 Squidguard เป็ น Software ที่ติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อใช้งานกับ Proxy Cache Server ใช้งานควบคู่ ไปกับ SQUID สามารถจํากัดการใช้งาน อนุญาตให้ใช้งานเฉพาะเว็บไซต์ที่เหมาะสม ห้ามใช้ ่ งานเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม (blacklists) ห้ามใช้งานเว็บไซต์ที่มีคาต้องห้ามอยูในชื่อของเว็บไซต์ ํ สามารถ update Blacklist กับทางเว็บไซต์ได้ (SquidGuard 2006)
  • 4. 7 2.3.5 Internet Access Content Management เป็ นอุปกรณ์บริ หารจัดการการใช้อินเทอร์เน็ตภายในองค์กร สามารถป้ องกันการเข้า ไปดูเว็บไซต์ไม่เหมะสมได้ 60 ประเภท และป้ องกันการดาวน์โหลดไฟล์หนังหรื อเพลงต่างๆ ที่ ทําให้ระบบเครื อข่ายทํางานช้าลง และสามารถตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตของบุคลากรได้แบบ Real – Time (บุญสู งเทคโนโลยี 2549) 2.3.6 DataReactor iMimic Networking Inc. เป็ นระบบที่ทางานบน FreeBSD, Linux และ Solaris ทํางานร่ วมกับระบบ ํ Caching ช่วยในการลดภาระงานของ Server และลดปริ มาณ Traffic ในระบบ (iMimic Networking 2006) 2.3.7 SITA URL filtering เป็ นระบบ Web Filtering ติดตั้งพร้อมกับอุปกรณ์ firewall ใช้งานใน หน่วยงานที่มีความต้องการบังคับ ให้การใช้งานทรัพยากรเครื อข่ายที่มีการใช้งานร่ วมกันใช้ได้ ั อย่างคุมค่า โดยกฎเกณฑ์การใช้งานให้กบพนักงานได้เหมาะสมกับงาน สามารถ update URL ้ list ให้ทุกวัน ลักษณะการทํางานเป็ นแบบควบคุมการใช้งานจาก Blacklists (SITA 2005) 2.3.8 WEB Filtering for WinProxy เป็ นระบบที่ทางานกับ WinProxy ํ ซึ่ งเป็ นโปรแกรมประเภท Caching Server ทํางานบน Windows 98, NT, 2000, ME, XP มีการ update รายชื่อเว็บไซต์ไม่ เหมาะสมอย่างต่อเนื่ อง เพื่อป้ องกันผูใช้ที่ดีออกจากสิ่ งที่ไม่ดีในระบบเครื อข่าย ลักษณะการ ้ ทํางานเป็ นแบบควบคุมการใช้งานจาก Blacklists (Blue Coat Systems 2006) 2.3.9 SonicWALL Content Filtering Service (CFS) เป็ นระบบที่ ที่ มุ่ ง หวัง ให้ก ารใช้ง านเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นไปเพื่ อ องค์ก รและ การศึกษาโดยการควบคุมการใช้งานผ่านระบบ Blacklists โดยมีการ update รายชื่อให้ อัตโนมัติ (SonicWALL 2006) 2.3.10 FORTIGUARD WEB Filtering เป็ นระบบที่ประกอบด้วย FortiGuard Rating Server เก็บรายชื่อเว็บไซต์ ต่างๆไว้พร้อมการกําหนด Rating ในแต่ละเว็บไซต์ และ FortiGuard Antivirus Firewall เป็ นส่ วนที่ควบคุมการใช้งานเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตขององค์กร (FORTINET 2006) นอกจากนี้ยงมีเครื่ องมือที่ใช้ในการป้ องกันเว็บไม่เหมาะสมอีกหลายตัวด้วยกัน ั เช่น BizGuard, Cyber Patrol www.cyberpatrol.com, CYBER sitter www.cybersitter.com, Cyber Snoop, Internet Watcher 2000, Net Nanny www.netnanny.com, Norton Internet
  • 5. 8 Security, Optenet, SurfMonkey, X-Stop โดยทั้งหมดมุ่งเน้นไปทางด้านธุรกิจ มีค่าใช้จ่ายใน การใช้งานทั้งสิ้ น