SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 27
บทที่ 1
                                                 บทนํา

1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา
             เทคโนโลยีเพือการศึกษามีความสําคัญต่อการจัดการศึกษาในสังคมยุคสารสนเทศเป็ นอย่าง
                          ่
มาก
วิถีทางของการเรี ยนรู ้และการจัดการเรี ยนการสอนในยุคสารสนเทศจะเป็ นการเรี ยนรู ้ที่ประกอบด้ว
ยคอมพิวเตอร์             ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์             ผนวกกับระบบการสื่ อสารทางไกลมากขึ้น
เรี ยกเป็ นระบบการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื ออินเทอร์เน็ต (Internet Network)
             โลกในปัจจุบนได้กาวเข้าสู่ยคโลกาภิวฒน์อย่างรวดเร็ วด้วยอิทธิพลของความเจริ ญ
                            ั ้         ุ           ั
ก้าวหน้าทางวิทยาการด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม                                                    คอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีเครื อข่ายโยงใยทัวโลก        ่
รวมกันเป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่าอินเทอร์เน็ต
ทําให้สงคมเปลี่ยนไปเป็ นสังคมสารสนเทศ โลกจะถูกหลอมรวมกันเป็ นหนึ่งเดียวแบบไร้พรมแดน
           ั
กิจกรรมทุกสิ่ งจะถูกเชื่อมโยงเข้าถึงกัน
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นด้านการศึกษาก็คือก่อให้เกิดกระแสข่าวสารข้อมูล                                  ความรู ้
การแสวงหาความรู ้               การกระจายข่าวสารข้อมูลทําให้การเรี ยนรู ้มีความสะดวก                    ง่าย
และรวดเร็ วในหลายรู ปแบบ                        การเรี ยนรู ้แบบเคลื่อนที่        (mobile         learning)
เป็ นการจัดการเรี ยนการสอน
หรื อการเรี ยนรู ้ดวยตนเองผ่านคอร์สแวร์ที่นาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านเทคโน
                    ้                            ํ
โลยีเครื อข่ายแบบไร้สาย                   (wireless             telecommunication                 network)
และเทคโนโลยีเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต                               ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกที่และทุกเวลา
โดยผ่านสัญญาณแบบไร้สายที่มีบริ การตามจุดต่างๆของมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย
(Access                                                                                              Point)
ผูเ้ รี ยนและผูสอนใช้อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้ที่มีความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่าย
                ้
คอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (Wireless LAN) ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer,
PDA/PAD               Phone,     Tablet         PC,       Cell            Phones      /Cellular      Phone
ในการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อการเข้าถึงข้อมูลเพื่อการเรี ยนรู ้ดวยผูเ้ รี ยนเอง
                                                                                           ้
                  ่
ในช่วง 5 ปี ที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพท์มือถือ PDA และ Laptop computer ได้มีการเติบโตอย่างรวดเร็ ว
2

            สําหรับพัฒนาการของ                                                            m-Learning
ถือเป็ นพัฒนาการนวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่เริ่ มต้นมาจากนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล
หรื อ d-Learning (Distance Learning) และการจัดการเรี ยนการสอนแบบ e-Learning (Electronic
Learning)
            m-Learning คือแนวทางใหม่ในการจัดเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายแบบไร้สาย (Wireless
Network) เพราะ m-Learning เป็ นสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นแนวทางใหม่ของ e-Learning
                ่
ซึ่งกล่าวไว้วาเป็ น “the right information to the right person on the right time in the right context”
เพราะแนวโน้มการจัดการศึกษาในยุคหน้าจะเป็ นยุคของการเรี ยนรู ้รายบุคคลและเป็ นการศึกษาแบ
บไม่มี                                                                                         ชั้นเรี ยน
ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระอย่างเต็มที่ในการเลือกศึกษาตามความถนัดและความพร้อมของตนเอง
                  ่ ั
โดยไม่ข้ ึนอยูกบเวลาและสถานที่                          อย่างไรก็ตาม                      m-Learning
                                        ่
ยังคงต้องการเทคโนโลยีระดับสู งไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายที่มีแถบกว้างของความถี่สูง
มากพอที่จะสนับสนุนการส่งผ่านสัญญาณเสี ยง                       ภาพเคลื่อนไหว              และวีดิทศน์  ั
ที่มีคุณภาพดีเทียบเคียงหรื อดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์                  รวมทั้งมีเทคโนโลยีที่ทนสมัยอื่นๆ
                                                                                           ั
         ่
ไม่วาจะเป็ นการบีบอัดข้อมูล                              (data                           compression)
เพื่อลดขนาดของข้อมูลลงให้สะดวกในการถ่ายโอนระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันในระบบการเรี ยนรู ้ร่วมกั
น                          (collaborative                       learning                       system)
รวมทั้งมีความจุขอมูลที่มีปริ มาณมากเพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น
                      ้
จากความเจริ ญก้าวหน้าและพัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทลและเครื อข่ายไร้สายของระบบโทรคม
                                                             ั
นาคมของโลก
คาดหมายกันว่าความต้องการใช้งานของโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์แบบพกพาจะมีอตราเพิ่ม            ั
ขึ้นเรื่ อยๆ และมียอดการใช้สูงกว่า 1,500 ล้านเครื่ องในอีก 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2556) (FERL. 2005)
บทเรี ยน                                                                                  m-Learning
ที่ใช้โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็ นอีกช่องทางในการส่ งผ่านองค์ความรู ้
และจะเป็ นนวัตกรรมที่มีบทบาทต่อการเรี ยนรู ้มากยิงขึ้น่

1.2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
         1.2.1 เพื่อศึกษาข้อดี - ข้อเสี ยของ Mobile learning
          1.2.2         เพื่อนําเสนอสื่ อการเรี ยนรู ้    วิชา            ระบบฐานข้อมูลรู ปแบบใหม่
ซึ่งผูเ้ รี ยนจะสามารถเข้าถึงวิชาดังกล่าวโดยใช้เทคโนโลยีไร้สาย
3

     1.2.3 เพื่อศึกษาและนํามาเปรี ยบเทียบปัญหาทางด้านเทคนิคของการพัฒนา Application
                                       ั ่
ใช้งานผ่านทางโทรศัพท์มือถือว่าที่ใช้กนอยูในปัจจุบนมีปัญหาใดบ้าง
                                                    ั
และแนวทางในการพัฒนาให้ดีข้ ึนสามารถทําได้อย่างไรบ้าง
     1.2.4 เพื่อศึกษาข้อดี - ข้อเสี ย และข้อจํากัดของโทรศัพท์มือถือ

1.3 ขอบเขตของการศึกษา
         1.3.1 ศึกษาข้อดี – ข้อเสี ยของ Mobile learning และข้อจํากัดทางด้านเทคนิคที่มีในปัจจุบน       ั
          1.3.2                                                                          ่
                                                                            บทเรี ยนที่ผานการศึกษาเนื้อหา
และนํามาสรุ ปแล้วสังเคราะห์ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้เปลี่ยนเป็ นภาพเคลื่อนไหวและเสี ยง
ในรู ปแบบ Multimedia โดยบทเรี ยนเน้นการเรี ยนรู ้ที่กระตุนให้ผเู ้ รี ยนเกิดมโนทัศน์ในการเรี ยน
                                                                        ้
ทําให้สามารถเข้าใจในบทเรี ยนได้ง่าย
         1.3.3 พัฒนาระบบโดยใช้ Flash CS4
1.4 ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
                    ี่
          1.4.1                                            ผูเ้ รี ยนสามารถมีปฏิสมพันธ์ร่วมกันได้โดยตรง
                                                                                  ั
รวมทั้งการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงร่ วมกัน
                ่ ่
แทนที่จะนังอยูหน้าจอภาพเหมือนการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
          1.4.2 การศึกษาบทเรี ยน m-Learning ผ่านคอมพิวเตอร์แบบพกพาเกิดขึ้นได้ง่ายตลอดเวลา
ผูเ้ รี ยนสามารถลงทะเบียน ศึกษาบทเรี ยน วิเคราะห์ปัญหาร่ วมกับเพื่อนร่ วมชั้นเรี ยนทําแบบฝึ กหัด
และทําการทดสอบได้ขณะที่ตวเองมีความพร้อมในขณะที่การใช้คอมพิวเตอร์ตองกระทําเป็ นเวลา
                                   ั                                                   ้
          1.4.3              ช่วยกระตุนและเรี ยกร้องความสนใจ โดยเฉพาะผูเ้ รี ยนไม่ชอบการเรี ยน
                                      ้
การเรี ยนรู ้ดวยบทเรี ยน
                 ้                                                                           m-Learning
ผ่านโทรศัพท์มือถือซึ่งเป็ นเครื่ องส่ วนตัวจะช่วยเรี ยกร้องความสนใจให้ติดตามเนื้อหาบทเรี ยนได้มา
กกว่าการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ เหมือนกับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์
          1.4.4         เพิมสะดวกต่อการนําพาพก เมื่อเปรี ยบเทียบกับคอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุค
                           ่                                                                            ๊
หรื อเปรี ยบเทียบกับหนังสื อแบบเดิม ในปริ มาณของข้อมูลที่เทียบเคียงกัน
          1.4.5                           การเรี ยนรู ้แบบร่ วมกัน         (collaborative       learning)
ที่อาศัยผูเ้ รี ยนหลายคนปฏิสมพันธ์กบบทเรี ยนในเวลาเดียวกันกระทําได้ง่ายกว่าการใช้ไมโครคอมพิ
                                ั       ั
วเตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์แบบพกพาใช้เครื อข่ายไร้สายเป็ นช่องทางในการส่ งผ่านองค์ความรู ้
การแบ่งปั นทรัพยากรและการกระจายองค์ความรู ้เกิดขึ้นได้ง่ายกว่า
4

      1.4.6                                             ่
                      ใช้ในสถานที่ใดในเวลาใด ๆ ก็ได้ไม่วาจะเป็ นบ้านพัก สถานที่ทางาน
                                                                                 ํ
หรื อในระหว่างการประกอบภารกิจการงานหรื อการประชุม
เนื่องจากการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะไม่เป็ นการรบกวนผูใด จัดว่าเป็ นการใช้งานแบบ work-
                                                     ้
based learning ที่แท้จริ ง

1.5 การวางแผนโครงการ
        การพัฒนา Multimedia online บนเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พกพา Pocket PC วิชา
                        ํ
ระบบฐานข้อมูล นั้นได้กาหนดการวางแผนโครงการโดยมีการเริ่ มตั้งแต่เดือน มกราคม 2553 -
สิ งหาคม 2553 ซึ่งสามารถแสดงระยะเวลาดําเนินงานได้ดงต่อไปนี้
                                                  ั




    ตาราง 1.1 แสดงระยะเวลาดําเนินงาน

          กิจกรรม /ระยะเวลา      ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
1. ศึกษาข้อมูลรู ปแบบ M-learning
2. ศึกษาความสามารถของโปรแกรม
3 .สรุ ปเนื้อหาวิชาฐานข้อมูล
4. ออกแบบระบบงาน
5. ออกแบบ จัดทําเนื้อหา
6. พัฒนาระบบงาน
7. ทดสอบการนําไปใช้จริ ง
8. แก้ไขและพัฒนาระบบงาน
9. สรุ ปผล และจัดทําเอกสาร
10.การนําเสนอระบบงาน
บทที่ 2
                                 หลักการและทฤษฎีทเี่ กียวข้ อง
                                                       ่

                    หลักการและทฤษฎีองค์ความรู ้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีดงนี้
                                                                      ั

2.1 หลักการและทฤษฎี
             เทคโนโลยีเพือการศึกษามีความสําคัญต่อการจัดการศึกษาในสังคมยุคสารสนเทศเป็ นอย่าง
                          ่
         2.1.1 การเรียนรู้ แบบ m-Learning
                 1. แนวความคิดเกียวกับการเรียนรู้แบบ m-Learning
                                 ่
                    ในขณะที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้เข้า
มาเป็ นส่ ว นหนึ่ งในทางการศึ ก ษาและกํา ลัง มี ค วามสํ า คัญ มากขึ้ น ซึ่ งการใช้ท้ ัง เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตทําให้การเรี ยนรู ้มีความสะดวกสบายมากขึ้น
มีเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้ได้ง่ายขึ้นด้วย ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ จึงเป็ นโอกาสที่ดีที่จะทํา
ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมและสามารถเข้าถึงแหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงการ่
                                                   ํ
ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตอินเทอร์ เน็ตไร้สายที่กาลังขยายขอบเขตการให้บริ การที่ครอบคลุมพื้นที่
ต่างๆ มากขึ้นซึ่ งอุปกรณ์ ที่มีคุณสมบัติสามารถเคลื่อนที่ได้และสามารถนํามาใช้ในการเรี ยนการ
สอนนั้น เช่นโทรศัพท์มือถือ และ เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล (Personal Digital Assistant
                                                                         ั
หรื อ PDA)
                     m-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของการเรี ยนรู ้แบบอิเล็กทรอนิ กส์ และเป็ นส่ วนหนึ่ ง
ของการเรี ยนทางไกล ซึ่งไม่ได้เป็ นเพียงแค่มีเทคโนโลยีเครื อข่ายไร้สายหรื ออินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่
คําจํากัดความของการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning ยังรวมถึงความสามารถที่จะเรี ยนรู ้ได้ทุกแห่ งในทุก
เวลา โดยปราศจากการกีดกั้นทางกายภาพอย่างถาวรกับเครื อข่ายแบบสายเคเบิล ซึ่งหมายถึงการนํา
อุ ปกรณ์ เคลื่ อนที่ และคอมพิ วเตอร์ แบบพกพามาใช้ เช่ น เครื่ องช่ วยงานส่ วนบุ คคลแบบดิ จิทล       ั
โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เป็ นต้น ที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ได้ เพื่อนําเสนอ
และให้บริ การข้อมูลทางการศึกษาและเพื่อใช้ในกระบวนการเรี ยนการสอนระหว่างนักเรี ยนและครู
6




                รูปที่ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง d-Learning, e-Learning และ m-Learning

                  จากรู ปที่ 2.1 เป็ นพัฒนาการของ M-Learning เป็ นพัฒนาการนวัตกรรมการเรี ยน
การสอนมาจากนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล หรื อ D-Learning (Distance Learning) และ
การจัดการเรี ยนการสอนแบบ E-Learning (Electronic Learning) ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่าง M-
Learning และ E-Learning แสดงให้เห็นว่า M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของ E-Learning ซึ่งเป็ นอีก
ทางเลือกหนึ่ งของสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ที่ใช้สนับสนุ นการเรี ยนการสอนทางไกลนับว่าเป็ นแนวทาง
ใหม่ต่อการจัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องตามเป้ าหมายตามแนวทางใหม่น้ ี ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระอย่าง
เต็มที่ในการศึกษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือ หรื อ คอมพิวเตอร์แบบพกพา ณ สถานที่
ใดและในเวลาใดๆ ก็ได้ แทนที่จะต้องนั่งศึกษาบทเรี ยนผ่าน จอภาพของไมโครคอมพิวเตอร์ ใน
สถานศึกษาสถานประกอบการ หรื อบ้านพัก ซึ่ งผูเ้ รี ยนบางคนอาจ ประสบปั ญหาเกี่ ยวกับสภาพ
ความพร้ อมทางการเรี ยน เช่ น ปั ญหาส่ วนบุคคล ต้องเดิ นทางไกล ติดภารกิ จหน้าที่ประจํา และ
ปั ญหาอื่นๆ ในขณะที่การเรี ยนรู ้ดวย M-Learning สามารถกระทําได้ ตลอดเวลา แม้ระหว่างการ
                                      ้
ประกอบภารกิจหน้าที่ประจําวันก็ตาม
                  จากความสัมพันธ์ดงกล่าวการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning จึงเป็ นการใช้เทคโนโลยี
                                        ั
สารสนเทศและการสื่ อสารซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย ที่
สามารถเคลื่อนที่ จับถื อ และพกพาไปในที่ต่างๆ ได้ เช่ น เครื่ องช่ วยงานส่ วนบุคคลแบบ ดิ จิทล         ั
โทรศัพท์มือถือและเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบแบบเขียน (Tablet PC) เป็ นต้น มาใช้ในการเรี ยนการ
สอน ณ สถานที่ใดและในเวลาใดๆ ก็ได้ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning การใช้คาสั่ง การ         ํ
พูดคุยสื่ อสาร ผ่านเครื่ องมือดิจิทลส่ วนบุคคล เพื่อการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning นั้นทําให้เกิดเป็ นการ
                                   ั
ร่ วมมือทางการเรี ยนรู ้มากยิงขึ้น (Collaborative Learning) เนื่องจากการเรี ยนการสอนแบบเดิมนั้น
                              ่
7

จะเป็ นการสอนที่ยึดครู ผสอนเป็ นสําคัญ แต่เมื่อเปลี่ยนการเรี ยนการสอนมาเป็ นแบบ M-Learning
                              ู้
การจัดการเรี ยนรู ้ก็เปลี่ยนแปลงไป โดยการจัดการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning จะต้องคํานึงถึงสิ่ งต่างๆ
ดังต่อไปนี้
                    1. การติดต่อ (Connectedness)
                    2. การสื่ อสาร (Communication)
                    3. ความสร้างสรรค์การสอน (Creative Expression)
                    4. มีความร่ วมมือกันในการเรี ยน (Collaboration)
                    5. ต้องคํานึงถึงธรรมชาติการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนแต่ละคน (Cultural Awareness)
                    6. ต้องมีการทําให้เกิดการแข่งขันเพื่อให้เกิดความหลากหลายของการเรี ยน
(Competitiveness)
                   การเรี ยนการสอนแบบ m-Learning ได้มีขอบข่ายของการเรี ยนรู ้ ดังนี้
                    1. ข้อมูลคําอธิ บายต่างๆ เกี่ยวกับบทเรี ยน (Context Data) ได้แก่ คําอธิ บาย
บทเรี ยน คู่มือการใช้งาน การช่ วยเหลือ และข้อมูลที่จาเป็ นอื่นๆ เพื่อสนับสนุ นและอํานวยความ
                                                           ํ
               ั
สะดวกให้กบผูเ้ รี ยนในระหว่างการเรี ยนรู ้
                    2. เครื่ องมือสนับสนุนที่ชาญฉลาด (Intelligent Support Engine) ได้แก่ เทคโนโลยี
เครื อข่ายไร้สาย รวมถึงซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่บริ หารและจัดการบทเรี ยน (mLMS) เริ่ มตั้งแต่การ
                                          ํ
ลงทะเบียน นําเสนอ จัดการ ติดต่อสื่ อสาร ติดตามผลและประเมินผล รวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่าง
ๆ เพื่อใช้สนับสนุ นการเรี ยนการสอนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์ แบบพกพา
ส่ วนนี้ จะทํางานสัมพันธ์กบ Task Model และ User Model ที่ได้มีการออกแบบไว้ก่อนเกี่ยวกับ
                                 ั
รู ปแบบการดําเนินการเกี่ยวกับภารกิจหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จะนําเสนอให้กบผูเ้ รี ยน
                                                                                   ั
                    3. หน่วยเก็บเนื้ อหาบทเรี ยน (Content Repository) ได้แก่ ส่ วนของเนื้อหาบทเรี ยน
รวมทั้งแบบฝึ กหัดแบบทดสอบ และส่ วนข้อมูลต่างๆ ที่เป็ นองค์ความรู ้เพื่อถ่ายทอดไปยังผูเ้ รี ยน
                    4. ส่ วนของการติดต่อกับผูเ้ รี ยน (Interface) ได้แก่ ส่ วนของการปฏิสัมพันธ์กบ  ั
ผูเ้ รี ยนผ่านแป้ นพิมพ์และจอภาพของเครื่ อง

            2. ความหมายของการเรียนรู้แบบ m-Learning
                   M-Learning เกิดจากคําศัพท์ 2 คํามีความหมายในตัวเอง ได้แก่ m มาจาก Mobile
ซึ่งหมายถึงเครื่ องมือสื่ อสารที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการที่สามารถนําพกติดตัวไปไหน
มาไหนได้สะดวก เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แบบพกพาที่เรี ยกว่า PDA (Personal Digital
Assistant) คอมพิวเตอร์ แบบเขียน (Tablet PC) รวมถึงคอมพิวเตอร์ แบบโน้ตบุ๊ค (Notebook PC)
8

ส่ วน Learning มีความหมายครอบคลุมทั้งการเรี ยน (Learning) และการสอน (Teaching)
                  M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของการเรี ยนรู ้แบบอิเล็กทรอนิ กส์ ที่มีการนําอุปกรณ์
เคลื่อนที่เข้ามาใช้ ได้แก่ เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลและโทรศัพท์มือถือ โดยทัวไปแล้ว
                                                                   ั                        ่
อุปกรณ์สาหรับการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning จะมีขนาดเล็ก ซึ่งจะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจําวัน
           ํ
ของเรา แต่สามารถนํามาใช้ในการเรี ยนการสอนได้ ซึ่งเครื่ องมือขนาดเล็กนั้นจะสามารถนํามาใช้ใน
การเข้าถึงเนื้อหา สามารถใช้สื่อสารกับคนอื่นได้ และสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ตลอดจนการ
ส่ งข้อมูลในแบบมัลติมีเดียได้
                  Mobile Learning เป็ นผลความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ ยวของกับการใช้
อุปกรณ์มือถือ เพื่อเข้าสู่ แหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนสามารถเข้าสู่ สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ ที่
หลากหลายได้ อุปกรณ์มือถือเป็ นอุปกรณ์ที่สามารถเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ ทําให้เกิดความ
เป็ นอิสระในเรื่ องของเวลาและสถานที่ โดยใช้เทคโนโลยีเครื อข่าย โทรศัพท์ไร้ สาย (Wireless
Telecommunication Network) ที่สามารถต่อเชื่อมจากเครื อข่ายแม่ข่าย (Network Server) ผ่านจุดต่อ
แบบไร้สาย (Wireless Access Point) แบบเวลาจริ ง (Real Time) อีกทั้งยังสามารถปฏิสัมพันธ์กบ               ั
โทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพาเครื่ องอื่นโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทล           ั

             3. E-Learning กับ M-Learning
                 E-Learning หมายถึง การเรี ยนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้ อหาผ่านทาง
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ไม่ว่าจะเป็ น คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต
หรื อ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรื อสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่ งเนื้อหาสารสนเทศ อาจอยูใน      ่
รู ปแบบการเรี ยนที่เราคุนเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted
                           ้
Instruction) การสอนบนเว็บ (Web Based Instruction) การเรี ยนออนไลน์ (On-line Learning) การ
เรี ยนทางไกลผ่านดาวเทียม หรื ออาจอยูในลักษณะที่ยงไม่ค่อยเป็ นที่แพร่ หลายนัก เช่น การเรี ยนจาก
                                        ่              ั
วีดิทศน์ตามอัธยาศัย (Video On-Damand) เป็ นต้น
      ั
                   ดังนั้นจะเห็นว่า M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของ E-Learning ซึ่ งเป็ นอีกทางเลือก
หนึ่งของสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สนับสนุนการเรี ยนการสอนทางไกล นับว่าเป็ นแนวทางใหม่ต่อการ
จัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องตามเป้ าหมายตามแนวทางใหม่น้ ี ผูเ้ รี ยนจะมี อิสระอย่างเต็มที่ ใน
การศึกษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพา ณ สถานที่ใดและใน
เวลาใดๆ ก็ได้ แทนที่ จะนั่งศึ กษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของไมโครคอมพิวเตอร์ ในสถานศึกษา
สถานประกอบการ หรื อบ้านพัก ซึ่ งผูเ้ รี ยนบางคนอาจประสบปั ญหาเกี่ ยวกับสภาพความพร้อม
ทางการเรี ยน เช่ น ปั ญหาส่ วนบุคคล ต้องเดิ นทางไกล ติ ดภารกิ จหน้าที่ประจํา และปั ญหาอื่ นๆ
9

ในขณะที่การเรี ยนรู ้ดวย M-Learning สามารถกระทําได้ตลอดเวลา แม้ระหว่างการประกอบภารกิจ
                      ้
หน้าที่ประจําวันก็ตาม

                  4. ระบบบริหารและจัดการบทเรียนแบบ m-Learning
                      ไม่ว่าจะเป็ นบทเรี ยน e-Learning หรื อ m-Learning ซึ่งแตกต่างกันเพียงเทคโนโลยี
ที่ ใ ช้เ ป็ นช่ อ งทางในการส่ ง ผ่า นองค์ค วามรู ้ เ ท่ า นั้น ส่ ว นสาระสํา คัญ ของบทเรี ย นก็ คื อ เนื้ อ หา
(Content)ที่นบว่าเป็ นหัวใจของการเรี ยนรู ้จะไม่มีความแตกต่างกันแต่อย่างใดเนื่ องจากเป็ นส่ วนที่
                   ั
ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ข้ ึนหลังจากศึกษาเนื้ อหาบทเรี ยน
แล้ว สาระสําคัญของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ท้ ง 2 ประเภท ยังคงยึดหลัก 4I's เช่นเดียวกัน ได้แก่
                                                 ั
                      1. Information คือ ความเป็ นสารสนเทศของเนื้อหาบทเรี ยน
                      2. Interactive คือ การมีปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับบทเรี ยน และผูเ้ รี ยนด้วยกัน
                                                   ั
                      3. Individualization คือ การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้รายบุคคล
                      4. Immediate Feedback คือการโต้ตอบโดยทันทีที่ผเู ้ รี ยนตอบสนอง
                      สําหรับการเรี ยนการสอนในลักษณะของ m-Learning ส่ วนที่ทาหน้าที่หลักในการ
                                                                                        ํ
บริ หารและจัดการรวมทั้งการนําพา (Tacking) ผูเ้ รี ยนตั้งแต่เมื่อแรกเริ่ มลงทะเบียนไปยังเป้ าหมาย
ปลายทางก็คือ LMS (Learning Management System) ซึ่งนับว่าเป็ นหัวใจของระบบการเรี ยนการ
สอนแบบ m-Learning ที่ทาหน้าที่จดการเรี ยนการสอนแทนผูสอนทั้งหมด ปั จจุบนได้มีการพัฒนา
                                  ํ       ั                             ้                 ั
ระบบ LMS ขึ้นมาเพื่อการพาณิ ชย์เป็ นจํานวนมาก เช่ น Lotus Learning Space, WebCT,
Blackboard, SAP, TopClass, Intralearn เป็ นต้น
                      ส่ วนการเรี ยนการสอนในลักษณะของ m-Learning ก็มีระบบบริ หารและจัดการ
บทเรี ยนเช่นกันเรี ยกว่า mLMS ก็คงไม่แตกต่างจาก LMS มากนัก เพียงแต่การจัดการบทเรี ยนผ่าน
โทรศัพท์มือถือ หรื อคอมพิวเตอร์ แบบพกพามีความซับซ้อนมากกว่า เนื่ องจากเป็ นการจัดการกับ
ข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายไร้สาย ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลย่อมมีความซับซ้อนและ
  ่
ยุงยากมากกว่า ปั จจุบนนี้ กล่าวไดว่าเป็ นยุคบุกเบิกของ m-Larning ซึ่ งก็ได้เริ่ มมีการพัฒนา mLMS
                            ั
ขึ้นมาเพื่อการพาณิ ชย์เช่นกัน เช่น บริ ษท WBT System แห่ งไอร์แลนด์ได้พฒนาระบบ Top Class
                                             ั                                        ั
Mobile เพื่อใช้ในการบริ หารและจัดการบทเรี ยน m-Learning นอกจากนี้ยง มี mLMS อื่นๆ เช่น
                                                                                    ั
Mobile LMS ของบริ ษท Meridian KSI เป็ นต้น
                              ั
10

           5. โครงสร้ างการทํางานของ m-Learning




                              รูปที่ 2.2 โครงสร้างของ M-Learning

จากรู ปที่ 2.2 เป็ นโครงสร้างของ M-Learning ซึ่งประกอบด้วย
                 1. ส่ วนของผูสอน ส่ วนนี้จะเป็ นส่ วนของผูสอนที่จะทําการเนื้อหาบนคอมพิวเตอร์
                              ้                             ้
แล้วทําการ Up Load ขึ้น server ซึ่ งเนื้ อหาที่ผสอนสร้างนั้นจะเป็ นส่ วนของ เนื้ อหา แบบฝึ กหัด
                                                  ู้
แบบทดสอบ ไฟล์มลติมีเดีย เป็ นต้น
                    ั
                 2. ส่ วนของผูเ้ รี ยนเข้าไปไปศึกษาเนื้ อหาโดยใช้โทรศัพท์มือถือมือถือ ซึ่ งสามารถ
เข้าได้โดยทางเว็บไซด์โดยผ่าน เว็บบราวเซอร์ ,เว็บบราวเซอร์ หรื อโหลดเนื้ อหามาศึกษาผ่าน
โปรแกรมสําเร็ จรู ป
11

             6. สถาปัตยกรรมของ m-Learning
                  รู ปแบบสถาปั ตยกรรมทัวไปของการจัดการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่
                                               ่
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ส่ วนด้วยกัน ประกอบด้วย
                  6.1 ส่ วนที่เป็ นอุปกรณ์โทรศัพท์ ในส่ วนนี้จะหมายถึง โทรศัพท์มือถือจะต้องมี
เว็บบราวเซอร์ เพื่อทําหน้าที่ในการเปิ ดแสดงผลหน้าจอภาพบนมือถือผ่านอินเทอร์ เนต จะต้องมีบ
ราวเซออร์ ที่สามารถเชื่อมโยงโปรแกรมบนมือถือแบบไร้สาย (wep:Wireless Application Protocal)
และต้องมีโปรแกรมสําหรับจัดการเรี ยนการสอนโดยเฉพาะสําหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่
                  6.2 ส่ วนที่เป็ นระบบการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mLMS : Mobile
learning Management System)หมายถึง ระบบการจัดการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดย
ในส่ วนนี้จะมีองค์ประกอบ 3 ส่ วนด้วยกันคือ
                       6.2.1 การจัดการเนื้อหาและปรับเปลี่ยนสําหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็ นส่ วน
ที่ทาหน้าที่ ในการจัดการเนื้ อหา นําเสนอเนื้ อหาผ่านหน้าจอโทรศัพท์และนําส่ งข้อมูลข่าวสาร
     ํ
สําหรับการเรี ยนการสอน
                       6.2.2 ส่ วนประกอบและการกําหนดเวลาที่ตรงกันสําหรับการเรี ยนการสอน
เป็ นส่ วนของระบบที่ทาหน้าที่จดองค์ประกอบต่างๆ เข้ามาเกี่ ยวข้องกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
                        ํ           ั
เช่น การแสดงภาพ การแสดงวีดีโอ การโหลดไฟล์เสี ยง โดยมุ่งให้จดการเรี ยนการสอนได้ตาม
                                                                        ั
เวลาจริ งผ่านตัวโทรศัพท์เคลื่อนที่
                       6.2.3            ส่ ว นสภาพแวดล้อ มและการค้น คว้า ข้อ มู ล เป็ นส่ ว นที่ จ ัด
                                      ่
สภาพแวดล้อมสําหรับการเรี ยนรู ้ผานโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้เหมาะสม โดยเน้นไปในเรื่ องของการ
จัด การสํา หรั บ โทรศัพ ท์ เช่ น การแสดงผลหน้า จอภาพ แบตเตอรี่ โ ทรศัพ ท์ เครื อ ข่ ายใช้ง าน
ช่องสัญญาณโทรศัพท์และจัดการค้นคว้าข้อมูล ช่องทางการเข้าสู่ ขอมูล เป็ นต้น
                                                                    ้
                  6.3 ส่ วนที่ เป็ นระบบการจัดการเรี ยนรู ้ แบบอิ เล็กทรอนิ กส์ (eLMS:Electronic-
learning Management System) ประกอบด้วย 4 ชั้น ดังนี้
                       6.3.1 ชั้นที่เป็ นหน้าจอภาพ เป็ นส่ วนที่แสดงผลของเนื้อหา สามารถสั่งงาน
หรื อเลือกรายการในการเรี ยนรู ้ได้โดยผูเ้ รี ยนโดยผ่านเว็บ
                       6.3.2 ชั้นของการนําเสนอ เป็ นชั้นที่ติดต่อระหว่างหน้าจอภาพของกับส่ วนที่
เป็ นโปรแกรมในการนําเสนอข้อมูลของระบบ เป็ นชั้นที่ทาหน้าที่เป็ นโปรแกรมเชื่ อมต่อระหว่าง
                                                             ํ
หน้าจอภาพกับข้อมูลเนื้อหา
                       6.3.3 ชั้นของการจัดการ เป็ นชั้นที่ทาหน้าที่ในการจัดการเนื้ อหาข้อมูล
                                                                 ํ
ต่างๆ ที่จะไปนําเสนอในชั้นหน้าจอภาพโดยในชั้นนี้ จะทําหน้าที่ในการบริ หารจัดการเนื้ อหาให้
12

เป็ นระบบจัดการติดต่อระหว่างผูใช้โปรแกรมกับข้อมูล จัดการเกี่ยวกับรายละเอียดการเข้าสู่ ระบบ
                                ้
ของผูใช้งาน รายงานประวัติการเข้าสู่ระบบของผูใช้ จัดทํารายการในรู ปของดัชนีช้ ีเข้าสู่ ขอมูลต่างๆ
        ้                                       ้                                           ้
และบริ หารจัดการรายละเอียดทัวไปของเนื้อหา
                              ่
                       6.3.4 ชั้นติดตั้งข้อมูล เป็ นชั้นที่จดทําเป็ นฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อการจัดเก็บ
                                                              ั
เนื้อหาของระบบ การจัดการเรี ยนรู ้โดยจัดเก็บในรู ปของไฟล์อิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูล
หลักๆได้แก่ การจัดเก็บฐานข้อมูลของเนื้ อหาสําหรับการเรี ยนเป็ นเรื่ องๆ หรื อการจัดเก็บเป็ นชิ้น
(Learning Object:Lo) ซึ่งสามารถเก็บเป็ นเรื่ องๆ กี่เรื่ องก็ได้ รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลสําหรับติดต่อ
กับผูเ้ รี ยนและข้อมูลโดยรวมของระบบ

              7. อุปกรณ์ ทใช้ ในการเรียนการสอนแบบ m-Learning
                          ี่
                 การจัดการเรี ยนการสอนแบบ m-Learning นั้น ผูเ้ รี ยนต้องใช้อุปกรณ์แบบติดตาม
ตัวหรื อเคลื่อนไปได้โดยสะดวก (mobile devices) ซึ่งอุปกรณ์แต่ละประเภทมีความสามารถ มีขนาด
และราคาที่แตกต่างกันไป อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สามารถนํามาใช้เป็ นเครื่ องมือสําหรับการเรี ยนการ
สอนแบบ m-Learning ได้ มีดงนี้   ั
                 7.1 Notebook computers เป็ นคอมพิวเตอร์ ขนาดพกพาได้ มีความสามารถ
เทียบเท่าหรื อเหนื อกว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ทวไป (Desktop of Personal Computer) ปั จจุบนมีขนาด
                                            ั่                                        ั
เล็กและสามารถพกพาได้โดยสะดวกแต่ราคายังค่อนข้างสูง




                                  รูปที่ 2.3 Notebook computers
13

                7.2 Tablet PC เป็ นคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา มีความสามารถเหมือนกัน PC บาง
                                                                                 ่
ชนิดไม่มีแป้ นพิมพ์แต่ใช้ซอฟต์แวร์ประเภทรู ้จาลายมือในการรับข้อมูลยังมีราคาแพงอยูมาก
                                             ํ




                                    รูปที่ 2.4 Tablet PC

               7.3 Personal Digital Assistant (PDA) เป็ นอุปกรณ์พกพา เสมือนเป็ นผูช่วยดิจิตอล
                                                                                  ้
ส่ วนตัว หน่ วยประมวลผลมีความสามารถสู ง จอภาพแสดงผลได้ถึง 65000 สี ข้ ึนไป สามารถ
ประมวลผลไฟล์ประเภทมัลติมีเดียได้ทุกประเภท ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการมักใช้ Palm หรื อ
                                                                    ั
Microsoft Pocket PC มีซอฟต์แวร์ให้เลือกติดตั้งได้หลากหลาย




                         รู ปที่ 2.5 Personal Digital Assistant (PDA)

                  7.4 Cellular phones เป็ นอุปกรณ์ประเภทโทรศัพท์มือถือทัวไป เน้นการใช้ขอมูล
                                                                        ่              ้
ประเภทเสี ยงและการรับส่ งข้อความ (SMS) มีขอจํากัด คือ มีหน่ วยความจําน้อย อัตราการโอนถ่าย
                                               ้
ข้อมูลตํ่า ในรุ่ นที่มีความสามารถ สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่าน WAP (Wireless Application
Protocol) หรื อ GPRS (General Packet Radio Service)




                                 รูปที่ 2.6 Cellular phones
14

             7.5 Smart Phones เป็ นอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ความสามารถสูง รวมความสามารถ
ของ PDA และ Cellular phones เข้าด้วยกัน อาจมีขนาดเล็กกว่า PDA และใหญ่กว่า Cellular phones
ใช้ระบบปฏิบติการ คือ Symbian หรื อ Windows Mobile มีโปรแกรมประเภท Internet Browser ใช้
              ั
เป็ นอุปกรณ์ Multimedia สําหรับการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ




                                        รูปที่ 2.7 Smart Phones

จากตัว อย่า งอุ ป กรณ์ ข า งต้น คุ ณ สมบัติ ข องอุ ป กรณ์ ที่ สํา คัญ คื อ สามารถเชื่ อ มต่ อ เข้า กับ ระบบ
                         ้
เครื อ ข่ า ยโดยใช้เ ทคโนโลยี ไ ร้ ส ายแบบใดแบบหนึ่ ง มี ค วามสามารถในการเข้า ถึ ง เครื อ ข่ า ย
อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์แต่ละประเภทมีขนาด นํ้าหนัก ความสามารถ และราคาแตกต่างกันไป

             8. เทคโนโลยีทใช้ ใน M-Learning : SMS,WAP และเครือข่ ายดิจิทล
                           ี่                                                   ั
                เทคโนโลยีเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายที่แพร่ หลายทัวโลกก็คือ GSM (global system
                                                                     ่
for mobile communication) ซึ่ งออกแบบขึ้นมาในครั้งแรกเพื่อใช้ในการรับส่ งสัญญาณเสี ยงเป็ น
หลัก แต่ต่อมาได้มีการพัฒนาให้มีการรับส่ งข้อความในลักษณะของ SMS (short message
service) เช่น โทรสาร จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และข้อความสั้นๆ ด้วยความเร็ วในการส่ งสัญญาณ
160 ตัวอักษรต่อวินาที หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาโพรโตคอลไร้สาย (wireless protocol) ขึ้นมาเพื่อ
รองรับการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เนต เรี ยกว่า WAP (wireless
application protocol) ทําให้เกิดการตื่นตัวอย่างมากในการท่องอินเทอร์เนตโดยใช้เว็บบราวเซอร์
ผ่านโทรศัพท์มือถือ หรื อคอมพิวเตอร์พกพา แต่ส่วนใหญ่ยงเป็ นการนําเสนอด้วยข้อความเป็ นหลัก
                                                            ั
(text-based)การนําเสนอภาพ ภาพเคลื่อนไหว และวีดีทศน์ผ่าน WAP ยังคงเป็ นเรื่ องที่ยากต่อ
                                                          ั
โพรโตคอลดังกล่าว
                                                                ้
                 พัฒนาการของเครื อข่ายโทรศัพท์ดิจิทลได้กาวหน้าอย่างต่อเนื่ อง ส่ งผลให้การ
                                                        ั
รั บ ส่ ง ภาพ ภาพเคลื่ อ นไหว และวี ดี ท ัศ น์ เป็ นเรื่ องที่ ง่ า ยขึ้ น เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ ได้ แ ก่
GPRS,HSCSD และ Bluetooth
15

                  8.1 GPRS ( General Packet Radio Service ) เป็ นเทคโนโลยีดิจิทลความเร็ วสู งใน
                                                                                 ั
การรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ระบบ GSM ด้วยความเร็ วสู งถึง 171.2 kbps ซึ่ งความเร็ ว
ขนาดนี้ เป็ นความเร็ วที่สูงกว่าการรับส่ งข้อมูลธรรมดาถึง 3 เท่า และสู งกว่าความเร็ วในการรับส่ ง
ข้อมูลแบบ GSM ประมาณ 10 เท่า ทําให้การรับส่ งข้อมูลไม่ว่าจะเป็ นข้อความภาพและเสี ยง ผ่าน
เครื อข่ายโทรศัพท์แบบไร้สายมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น รวมทั้งการใช้โปรแกรมต่างๆ ผ่านอินเทอร์
เนตบราวเซอร์ ปั จ จุ บ ัน มี ก ารพัฒ นาโปรแกรมประยุก ต์ต่ า งๆ ขึ้ น มาเป็ นจํา นวนมากเพื่ อ บน
โทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพาผ่านเทคโนโลยี GPRS ซึ่งมีค่าใช้จ่ายตํ่ากว่าระบบ SMS
และการรับส่ งข้อมูลแบบ CSD (circuit switch data) ซึ่งเป็ นโพรโตคอลในการรับส่ งข้อมูลแบบ
ดั้งเดิมซึ่งมีขอจํากัดทั้งด้านขนาดข้อมูลและความเร็ ว
               ้
                   8.2 HSCSD (high speed circuit switch data ) เป็ นเทคโนโลยีดิจิทลความเร็ วสู ง
                                                                                     ั
ในการรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ระบบ GSM อีกรู ปแบบหนึ่ งซึงแตกต่างจาก ระบบ GPRS
ด้วยความเร็ วที่สูงประมาณ 57.6 kbps ซึ่งตํ่ากว่าระบบ GPRS แต่ก็มีขอดีในการรับส่ งสัญญาณภาพ
                                                                     ้
และวีดีทศน์ที่ให้มีประสิ ทธิ ภาพดีกว่าระบบ GPRS เนื่ องจากมีระบบการประกันคุณภาพของการ
            ั
จัดการสัญญาณภาพแบบ switched circuit ที่มีความเสถียรมากกว่าการส่ งข้อมูลแบบ Packetของ
ระบบ GPRS อย่างไรก็ตามปั จจุบนนี้ เทคโนโลยี HSCSD ยังไม่เป็ นที่แพร่ หลายมากนักในประเทศ
                                   ั
ต่างๆ
                   8.3 Bluetooth เป็ นเทคโนโลยีไร้สายในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ 2 ชุดเข้าด้วยกันใน
ระยะทางสั้นๆ ไม่เกิน 10 เมตร ด้วยความเร็ วสู งสุ ด 1 Mbps เช่น การต่อเชื่อมโทรศัพท์มือถือเข้า
กับไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ปัญหาของระบบ Bluetooth ก็คือ ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่
ยังไม่ดีพอและมีขอจํากัดทางด้านระยะทางในการติดต่อสื่ อสาร เทคโนโลยีดิจิทลเหล่านี้ในปั จจุบน
                    ้                                                         ั               ั
กําลังมีการตื่นตัวอย่างมาก มีการวิจยอย่างต่อเนื่ องเพื่อพัฒนาให้โทรศัพท์มือถือแลคอมพิวเตอร์
                                       ั
แบบพกพาทํางานคล้ายกับไมโครคอมพิวเตอร์ มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นการใช้เว็บบราวเซอร์ การใช้
โปรแกรมประยุกต์ (application software) การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การรับส่ งไฟล์ขอมูล (file
                                                                                       ้
transfer) การรับส่ งไฟล์เสี ยงและไฟล์ภาพ รวมทั้งการใช้งานทางด้านมัลติมีเดี ยในลักษณะของ
MMS(multimedia messaging) การนําเสนอเนื้ อหาบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือแบบ ไร้
สายในลักษณะของ M-Learning จึงเกิดขึ้น นับว่าเป็ นการพัฒนาการของการสอนแบบ E-Learning
อีกขั้นหนึ่ ง โดยเป็ นที่คาดหมายกันไว้ว่าในยุคที่ 4 (4th generation) ในราวปี ค.ศ. 2010 เมื่อ
เทคโนโลยีเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือไร้สายสามารถรับส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ ว 100 Mbps จะเป็ น
                                                                   ้
ยุคทองของการเรี ยนการสอนแบบ M-Learning ผูเ้ รี ยนสามารถต่อเชื่อมเครื่ องมือสื่ อสารของตนเอง
เข้ากับเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายเพื่อลงทะเบียนเรี ยน ศึกษาบทเรี ยน ทําแบบฝึ กหัด และข้อสอบเพื่อ
16

วัดและประเมินผล รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์กบผูเ้ รี ยนคนอื่นๆหรื อผูสอนได้ในเวลากัน แม้ว่าจะอยู่
                                               ั                  ้
ห่างกันคนละภูมิภาคก็ตาม
                   8.4 3G (สามจี หรื อ ทรี จี) เป็ นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและ
กําลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International
Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication
Union อัตราความเร็ วในการส่ งข้อมูล (Transmission Rate)มากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุก
สภาวะ ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ และสู งถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะ
เคลื่อนที่
                   8.5 HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) เป็ นเทคโนโลยีสื่อสารไร้
สายที่ นับเป็ นวิวฒนาการขั้นถัดมาจากเครื อข่าย W-CDMA ซึ่ งมีชื่อเรี ยกสถานี ฐานนี้ ว่า Node B
                    ั
ด้วยการนําเทคโนโลยีการมอดเลตสัญญาณ และการเข้ารหัสข้อมูลแบบใหม่ เพื่อช่วยทําให้อตราเร็ ว   ั
ในการส่ งข้อมูลจาก Node B มายังเครื่ องลูกข่ายสื่ อสารไร้สาย เพิ่มขึ้นเป็ น 14 เมกะบิตต่อวินาที
ในขณะที่การสงข้อมูลกลับจากอุปกรณ์สื่อสารไร้สายไปยัง Node B ยังคงใช้อตราเร็ ว 384 กิโลบิต
                                                                             ั
ต่อวินาที ซึ่งว่าเพียงพอและสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้บริ การสื่ อสารข้อมูลแบบบรอดแบนด์ที่
ผูใช้งานส่ วนใหญ่มีการดาวน์โหลดข้อมูลจากเครื อข่ายมากกวาการส่ งข้อมูลย้อนกลับไป อย่างไรก็
  ้
ตาม ภายใน พ.ศ. 2550 เครื อข่าย W-CDMA ที่มีการเปิ ดใช้เทคโนโลยี HSDPA นี้ ก็จะมีการพัฒนา
ต่อไปเป็ นเครื อข่ายแบบ HSUPA (High Speed Uplink Packet Access) ซึ่ งมีผลทําให้อตราเร็ วใน
                                                                                       ั
การรับและส่ งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์สื่อสารไร้สายและ Node B มีค่า 14 กิโลบิตต่อวินาทีเท่ากัน

             9. ข้ อดีและข้ อเสี ยของการเรียนรู้แบบ m-Learning
                   การเรี ยนรู ้แบบ m-Learning นั้นเป็ นการใช้เทคโนโลยีที่สามารถเคลื่อนที่ได้ และมี
ขนาดเล็ก ซึ่ งนํามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาในด้านการบริ หารจัดการ การจัดระบบระเบียบการ
เรี ยนการสอน เป็ นอุปกรณ์ การสอนสําหรั บผูสอนและยังเป็ นอุปกรณ์ที่สนับสนุ นการเรี ยนการ
                                                   ้
สอนสําหรับผูเ้ รี ยนได้อีกด้วย โดยมีจุดแข็งและจุดอ่อนดังต่อไปนี้
                   9.1 จุดแข็งของการเรียนรู้แบบ m-Learning
                                                        ั ้
                       ผูเ้ รี ยนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กบผูอื่นได้มากขึ้น เพราะผูเ้ รี ยนสามารถพกพา
อุปกรณ์เคลื่อนที่ อย่างเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลไปยังที่ต่างๆ ได้ และสามารถสื่ อสาร
                                                             ั
ระหว่างกันโดยคณะผูจดทําสื่ อการศึกษาของหน่ วยงานพัฒนาและฝึ กอบรมของมหาวิทยาลัยเคม
                          ้ั
                                           ่
บริ ดจ์ ได้ กล่าวถึงข้อดีของการเรี ยนรู ้ผานอุปกรณ์แบบไร้สาย หรื อ m-Learning ว่ามีลกษณะของ
                                                                                         ั
                                                                                               ั ้
ความเป็ นส่ วนตัวสู ง ดังนั้นวิธีน้ ีจะสามารถช่วยเหลือและส่ งเสริ มทักษะการอ่านและเขียน ให้กบผูที่
17

ไม่สามารถอยู่ร่วมกับสังคมและเรี ยนรู ้ตามระบบการศึกษาปกติได้ ไม่ใช่ว่า m-Learning จะมี
ประโยชน์เฉพาะกับคนที่มีปัญหาเรื่ องการเข้าสังคมเท่านั้น คนปกติอย่างเราๆ ก็สามารถเรี ยนรู ้ผาน            ่
                                                                           ่
m-Learning ได้เช่นกัน โดยเฉพาะคนที่ตองเดินทางบ่อยๆ อยูไม่เป็ นหลักแหล่ง หาที่ใช้อินเทอร์เน็ต
                                               ้
ลําบาก จึงสะดวกและเหมาะสมที่จะใช้อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ
                         9.1.1. มีความเป็ นส่ วนตัว และอิสระที่จะเลือกเรี ยนรู ้ และรับรู ้
                         9.1.2. ไม่มีขอจํากัดด้านเวลา สถานที่ เพิ่มความเป็ นไปได้ในการเรี ยนรู ้
                                          ้
                         9.1.3. มีแรงจูงใจต่อการเรี ยนรู ้มากขึ้น
                         9.1.4. ส่ งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้จริ ง
                        9.1.5. ส่ งเสริ มให้มีการสื่ อสารกับเพื่อนและผูสอนมากขึ้น ด้วยเทคโนโลยี
                                                                                 ้
ของเอ็มเลิร์นนิ่ ง ทําให้เปลี่ยนสภาพการเรี ยนจากที่ยึดผูสอนเป็ นศูนย์กลาง ไปสู่ การมีปฏิสัมพันธ์
                                                                     ้
โดยตรงกับผูเ้ รี ยน
                        9.1.6. สามารถรับข้อมูลที่ไม่มีการระบุชื่อได้ ซึ่งทําให้ผเู ้ รี ยนที่ไม่มนใจกล้า
                                                                                                   ั่
แสดงออกมากขึ้น
                        9.1.7. สามารถส่ งข้อมูลไปยังผูสอนได้ อีกทั้งส่ งกระจายซอฟต์แวร์ไปยัง
                                                                       ้
ผูเ้ รี ยนทุกคนได้ ทําให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีซอฟต์แวร์รุ่นเดียวกันเร็ วกว่าการโทรศัพท์ หรื ออีเมล์
                        9.1.8. ลดความเหลื่อมลํ้าทางดิจิตล เนื่ องจากราคาเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ
                                                                         ั
พกพา เครื่ อง PDA หรื อโทรศัพท์มือถือที่ใช้สาหรับเอ็มเลิร์นนิ่งนั้นถูกกว่าคอมพิวเตอร์แบบ ใหม่ๆ
                                                    ํ
                        9.1.9. สะดวกสบายและมีประสิ ทธิ ภาพทั้งในสภาพแวดล้อมทางการเรี ยน
และการทํางาน
                        9.1.10.          ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความกระตือรื อร้นทางการเรี ยนและมีความ
รับผิดชอบต่อการ เรี ยนด้วยตนเอง เนื่ องจากผูเ้ รี ยนที่เป็ นวัยรุ่ นมีแนวโน้มที่จะชอบและใช้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ประเภทพกพาต่างๆ
                   9.2 จุดอ่ อนของการเรียนรู้แบบ m-Learning
                       9.2.1.           ขนาด ของความจุ Memory และขนาดหน้าจอที่จากัดอาจจะเป็ น ํ
อุปสรรคสําหรั บการอ่านข้อมูล แป้ นกดตัวอักษรไม่สะดวกรวดเร็ วเท่ากับคียบอร์ ดคอมพิวเตอร์  ์
แบบตั้งโต๊ะ อีกทั้งเครื่ องยังขาดมาตรฐาน ที่ตองคํานึ งถึงเมื่อออกแบบสื่ อ เช่น ขนาดหน้าจอ แบบ
                                                      ้
ของหน้าจอ ที่บางรุ่ นเป็ นแนวตั้ง บางรุ่ นเป็ นแนวนอน
                        9.2.2. การเชื่อมต่อกับเครื อข่าย ยังมีราคาที่ค่อนข้างแพง และคุณภาพอาจจะ
ยังไม่น่าพอใจนัก
                        9.2.3.            ซอฟต์ แ วร์ ที่ มี อ ยู่ ใ นท้อ งตลาดทั่ว ไป ไม่ ส ามารถใช้ไ ด้กับ
18

เครื่ องโทรศัพท์แบบพกพาได้
                        9.2.4. ราคาเครื่ องใหม่รุ่นที่ดี ยังแพงอยู่ อีกทั้งอาจจะถูกขโมยได้ง่าย
                                                                            ั
                        9.2.5. ความแข็งแรงของเครื่ องยังเทียบไม่ได้กบคอมพิวเตอร์ต้ งโต๊ะั
                        9.2.6. อัพเกรดยาก และเครื่ องบางรุ่ นก็มีศกยภาพจํากัด
                                                                      ั
                        9.2.7. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่ งผลให้ขาดมาตรฐานของ
การผลิตสื่ อเพื่อเอ็มเลิร์นนิ่ ง ตลาดของเครื่ องโทรศัพท์มือถือมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ ว พอพอกับ
เครื่ องที่สามารถตกรุ่ นอย่างรวดเร็ ว
                        9.2.8. เมื่อมีผใช้เครื อข่ายไร้สายมากขึ้น ทําให้การรับส่ งสัญญาณช้าลง
                                       ู้
                        9.2.9. ยังไม่มีมาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูล
                        นอกจากนี้ ยังพบว่าข้อจํากัดของการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning อุปกรณ์ไร้สาย
ส่ วนมากมีหน้าจอเล็ก การประมวลผลช้า หน่วยความจําที่จากัดและน้อยกว่าในเครื่ องคอมพิวเตอร์
                                                                ํ
ส่ วนบุคคล และมีค่าใช้จ่ายที่สูงมากหากเทียบกับการเรี ยนรู ้ทางไกลแบบอื่นๆ (d-Learning และ e-
Learning) ข้อจํากัดเหล่านี้ ทาให้การพัฒนาวิธีการเรี ยนรู ้โดยผ่านโทรศัพท์มือถือและเครื่ องช่วยงาน
                                ํ
ส่ วนบุคคล แบบดิ จิทลนั้นอาจเติบโตได้ช้า แต่หากมีรูปแบบและสามารถพัฒนาให้เป็ นต้นแบบ
                         ั
ขึ้นมาจริ งๆ การเรี ยนแบบนี้ จะเอื้อประโยชน์อย่างมากสําหรับผูที่ตองการความเป็ นส่ วนตัวในการ
                                                                        ้ ้
                 ่
เรี ยน เรี ยกได้วาเป็ นการขยายโอกาสการเรี ยนรู ้ให้กว้างขวางขึ้น ซึ่ งคาดคะเนว่าอีกไม่ชาการพัฒนา
                                                                                           ้
ทั้ง หลายจะสามารถผลิ ต อุ ป กรณ์ ไ ร้ ส ายที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การเรี ยนและวิ ธี ก ารเรี ยนที่ มี
ประสิ ทธิภาพได้

             10. ตัวอย่ าง m-Learning
                  วิวฒน์ มีสุวรรณ ได้ศึกษาวิจยและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่าย
                     ั                           ั
ไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลขึ้น โดยผ่านการประเมินจากผูเ้ ชี่ ยวชาญ และสร้าง
                                               ั
บทเรี ยน ผ่านเครื อข่ายไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล เรื่ องการจัดแสงสําหรับการ
                                                                    ั
ผลิตรายการโทรทัศน์การศึกษา
                  10.1 รู ปแบบการเรียนการสอน
                        บทเรี ยนผ่านเครื อข่ายไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล เรื่ อง
                                                                                          ั
การจัด แสงสํ า หรั บ การผลิ ต รายการโทรทศน์ ก ารศึ ก ษา ออกแบบเพื่ อ ให้ ผูเ้ รี ย นสามารถเข้า
ลงทะเบียนเรี ยนเนื้อหาต่างๆ ที่ตนสนใจ ทําการติดตามและประเมินผลผูเ้ รี ยนจนจบหลักสู ตร และ
การใช้เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล อํานวยความสะดวกให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากที่ใด
                                           ั
19

ก็ได้ เวลาใดก็ได้ ด้วยการติดต่อกับระบบการสื่ อสารแบบไร้สายผ่าน Wi-FiGPRs ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระ
ในการเรี ยนรู ้มากขึ้น สามารถเคลื่อนที่ หรื อพกพาอุปกรณ์ไปในที่ต่างๆ ได้อย่างสะดวก
                        ตัวอย่าง รู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ M-Learning ของ วิวฒน์ มีสุวรรณ
                                                                                 ั
มีลกษณะ ดังนี้
   ั




              รู ปที่ 2.8 หน้าต่างเมื่อเข้าใช้งาน M-Learning ของ วิวฒน์ มีสุวรรณ
                                                                     ั
                            ผ่านเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล ั

จากรู ปที่ 2.8 เป็ นการแสดงหน้าต่างเมื่อเข้าใช้งาน โดยจะต้องทําการ Login ก่อนหรื อถ้ายังไม่เป็ น
สมาชิกให้ทาการสมัครสมาชิก เมื่อ login เข้าไปแล้วจะแสดงเมนูหลักของ M-Learning ขึ้นให้
                ํ
ผูเ้ รี ยนเข้าไปศึกษา




                               รู ปที่ 2.9 เนื้อหาของ M-Learning
20


จากรู ปที่ 2.9 เป็ นการแสดงเนื้ อหาของ M-Learning       และมีคาถามท้ายเนื้อหาให้ตอบ เมื่อศึกษา
                                                              ํ
เนื้อหาเสร็ จ โดยจะเป็ นคําถามที่ให้ตอบถูกหรื อผิด




                                 รู ปที่ 2.10 แสดงแบบทดสอบ

จากรู ปที่ 2.10 เป็ นตัวอย่างแบบทดสอบ ซึ่งจะมีตวเลือก 4 ตัวเลือก เมื่อทําครบแล้ว และจะแสดง
                                               ั
รายงานคะแนนการทําแบบทดสอบ

2.2 เครื่องมือทีใช้ พฒนา
                    ่ ั
      2.2.1 Action script
              1. Action script คืออะไร
                                                                                       ั
                   ActionScript เป็ นภาษาที่ใช้เพิ่มความสามารถในการโต้ตอบกับเกมให้กบโปรแกรม
Flash          เช่ น การสร้ า งการตอบสนองตามเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ นต้น โดย ActionScript
เปรี ยบเสมือนตัวกลางสําหรับการติดต่อสื่ อสารระหว่างเกมกับผูพฒนาเกม
                                                                ้ ั
           ปั จจุบน ActionScript ได้พฒนามาถึงเวอร์ ชน 2 ที่เรี ยกว่า “ActionScript 2.0” ซึ่ งมี
                     ั                   ั                ั
ประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้นจาก ActionScript 1.0 หลายประการ เช่น สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์
ต่างๆ ได้เร็ วขึ้น ทําให้สามารถสร้างงานประเภท Interactive ได้ดีข้ ึน หรื อการรองรับรู ปแบบการ
เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) มากขึ้น โดยสามารถสร้างคลาส (Class) ขึ้นใช้งานเองได้แล้วบันทึก
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”Pitchapa Liamnopparat
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 

La actualidad más candente (20)

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 

Destacado

สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 

Destacado (14)

ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 

Similar a ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning

M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Emerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editEmerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editIsaiah Thuesayom
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2parnee
 

Similar a ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning (20)

Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Emerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editEmerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning edit
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 

Más de rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 

Más de rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning

  • 1. บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา เทคโนโลยีเพือการศึกษามีความสําคัญต่อการจัดการศึกษาในสังคมยุคสารสนเทศเป็ นอย่าง ่ มาก วิถีทางของการเรี ยนรู ้และการจัดการเรี ยนการสอนในยุคสารสนเทศจะเป็ นการเรี ยนรู ้ที่ประกอบด้ว ยคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ผนวกกับระบบการสื่ อสารทางไกลมากขึ้น เรี ยกเป็ นระบบการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื ออินเทอร์เน็ต (Internet Network) โลกในปัจจุบนได้กาวเข้าสู่ยคโลกาภิวฒน์อย่างรวดเร็ วด้วยอิทธิพลของความเจริ ญ ั ้ ุ ั ก้าวหน้าทางวิทยาการด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีเครื อข่ายโยงใยทัวโลก ่ รวมกันเป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่าอินเทอร์เน็ต ทําให้สงคมเปลี่ยนไปเป็ นสังคมสารสนเทศ โลกจะถูกหลอมรวมกันเป็ นหนึ่งเดียวแบบไร้พรมแดน ั กิจกรรมทุกสิ่ งจะถูกเชื่อมโยงเข้าถึงกัน ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นด้านการศึกษาก็คือก่อให้เกิดกระแสข่าวสารข้อมูล ความรู ้ การแสวงหาความรู ้ การกระจายข่าวสารข้อมูลทําให้การเรี ยนรู ้มีความสะดวก ง่าย และรวดเร็ วในหลายรู ปแบบ การเรี ยนรู ้แบบเคลื่อนที่ (mobile learning) เป็ นการจัดการเรี ยนการสอน หรื อการเรี ยนรู ้ดวยตนเองผ่านคอร์สแวร์ที่นาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านเทคโน ้ ํ โลยีเครื อข่ายแบบไร้สาย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยผ่านสัญญาณแบบไร้สายที่มีบริ การตามจุดต่างๆของมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย (Access Point) ผูเ้ รี ยนและผูสอนใช้อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้ที่มีความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่าย ้ คอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (Wireless LAN) ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, PDA/PAD Phone, Tablet PC, Cell Phones /Cellular Phone ในการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อการเข้าถึงข้อมูลเพื่อการเรี ยนรู ้ดวยผูเ้ รี ยนเอง ้ ่ ในช่วง 5 ปี ที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพท์มือถือ PDA และ Laptop computer ได้มีการเติบโตอย่างรวดเร็ ว
  • 2. 2 สําหรับพัฒนาการของ m-Learning ถือเป็ นพัฒนาการนวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่เริ่ มต้นมาจากนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล หรื อ d-Learning (Distance Learning) และการจัดการเรี ยนการสอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) m-Learning คือแนวทางใหม่ในการจัดเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network) เพราะ m-Learning เป็ นสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นแนวทางใหม่ของ e-Learning ่ ซึ่งกล่าวไว้วาเป็ น “the right information to the right person on the right time in the right context” เพราะแนวโน้มการจัดการศึกษาในยุคหน้าจะเป็ นยุคของการเรี ยนรู ้รายบุคคลและเป็ นการศึกษาแบ บไม่มี ชั้นเรี ยน ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระอย่างเต็มที่ในการเลือกศึกษาตามความถนัดและความพร้อมของตนเอง ่ ั โดยไม่ข้ ึนอยูกบเวลาและสถานที่ อย่างไรก็ตาม m-Learning ่ ยังคงต้องการเทคโนโลยีระดับสู งไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายที่มีแถบกว้างของความถี่สูง มากพอที่จะสนับสนุนการส่งผ่านสัญญาณเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว และวีดิทศน์ ั ที่มีคุณภาพดีเทียบเคียงหรื อดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีเทคโนโลยีที่ทนสมัยอื่นๆ ั ่ ไม่วาจะเป็ นการบีบอัดข้อมูล (data compression) เพื่อลดขนาดของข้อมูลลงให้สะดวกในการถ่ายโอนระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันในระบบการเรี ยนรู ้ร่วมกั น (collaborative learning system) รวมทั้งมีความจุขอมูลที่มีปริ มาณมากเพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น ้ จากความเจริ ญก้าวหน้าและพัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทลและเครื อข่ายไร้สายของระบบโทรคม ั นาคมของโลก คาดหมายกันว่าความต้องการใช้งานของโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์แบบพกพาจะมีอตราเพิ่ม ั ขึ้นเรื่ อยๆ และมียอดการใช้สูงกว่า 1,500 ล้านเครื่ องในอีก 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2556) (FERL. 2005) บทเรี ยน m-Learning ที่ใช้โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็ นอีกช่องทางในการส่ งผ่านองค์ความรู ้ และจะเป็ นนวัตกรรมที่มีบทบาทต่อการเรี ยนรู ้มากยิงขึ้น่ 1.2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาข้อดี - ข้อเสี ยของ Mobile learning 1.2.2 เพื่อนําเสนอสื่ อการเรี ยนรู ้ วิชา ระบบฐานข้อมูลรู ปแบบใหม่ ซึ่งผูเ้ รี ยนจะสามารถเข้าถึงวิชาดังกล่าวโดยใช้เทคโนโลยีไร้สาย
  • 3. 3 1.2.3 เพื่อศึกษาและนํามาเปรี ยบเทียบปัญหาทางด้านเทคนิคของการพัฒนา Application ั ่ ใช้งานผ่านทางโทรศัพท์มือถือว่าที่ใช้กนอยูในปัจจุบนมีปัญหาใดบ้าง ั และแนวทางในการพัฒนาให้ดีข้ ึนสามารถทําได้อย่างไรบ้าง 1.2.4 เพื่อศึกษาข้อดี - ข้อเสี ย และข้อจํากัดของโทรศัพท์มือถือ 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ศึกษาข้อดี – ข้อเสี ยของ Mobile learning และข้อจํากัดทางด้านเทคนิคที่มีในปัจจุบน ั 1.3.2 ่ บทเรี ยนที่ผานการศึกษาเนื้อหา และนํามาสรุ ปแล้วสังเคราะห์ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้เปลี่ยนเป็ นภาพเคลื่อนไหวและเสี ยง ในรู ปแบบ Multimedia โดยบทเรี ยนเน้นการเรี ยนรู ้ที่กระตุนให้ผเู ้ รี ยนเกิดมโนทัศน์ในการเรี ยน ้ ทําให้สามารถเข้าใจในบทเรี ยนได้ง่าย 1.3.3 พัฒนาระบบโดยใช้ Flash CS4 1.4 ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ 1.4.1 ผูเ้ รี ยนสามารถมีปฏิสมพันธ์ร่วมกันได้โดยตรง ั รวมทั้งการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงร่ วมกัน ่ ่ แทนที่จะนังอยูหน้าจอภาพเหมือนการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 1.4.2 การศึกษาบทเรี ยน m-Learning ผ่านคอมพิวเตอร์แบบพกพาเกิดขึ้นได้ง่ายตลอดเวลา ผูเ้ รี ยนสามารถลงทะเบียน ศึกษาบทเรี ยน วิเคราะห์ปัญหาร่ วมกับเพื่อนร่ วมชั้นเรี ยนทําแบบฝึ กหัด และทําการทดสอบได้ขณะที่ตวเองมีความพร้อมในขณะที่การใช้คอมพิวเตอร์ตองกระทําเป็ นเวลา ั ้ 1.4.3 ช่วยกระตุนและเรี ยกร้องความสนใจ โดยเฉพาะผูเ้ รี ยนไม่ชอบการเรี ยน ้ การเรี ยนรู ้ดวยบทเรี ยน ้ m-Learning ผ่านโทรศัพท์มือถือซึ่งเป็ นเครื่ องส่ วนตัวจะช่วยเรี ยกร้องความสนใจให้ติดตามเนื้อหาบทเรี ยนได้มา กกว่าการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ เหมือนกับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ 1.4.4 เพิมสะดวกต่อการนําพาพก เมื่อเปรี ยบเทียบกับคอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุค ่ ๊ หรื อเปรี ยบเทียบกับหนังสื อแบบเดิม ในปริ มาณของข้อมูลที่เทียบเคียงกัน 1.4.5 การเรี ยนรู ้แบบร่ วมกัน (collaborative learning) ที่อาศัยผูเ้ รี ยนหลายคนปฏิสมพันธ์กบบทเรี ยนในเวลาเดียวกันกระทําได้ง่ายกว่าการใช้ไมโครคอมพิ ั ั วเตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์แบบพกพาใช้เครื อข่ายไร้สายเป็ นช่องทางในการส่ งผ่านองค์ความรู ้ การแบ่งปั นทรัพยากรและการกระจายองค์ความรู ้เกิดขึ้นได้ง่ายกว่า
  • 4. 4 1.4.6 ่ ใช้ในสถานที่ใดในเวลาใด ๆ ก็ได้ไม่วาจะเป็ นบ้านพัก สถานที่ทางาน ํ หรื อในระหว่างการประกอบภารกิจการงานหรื อการประชุม เนื่องจากการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะไม่เป็ นการรบกวนผูใด จัดว่าเป็ นการใช้งานแบบ work- ้ based learning ที่แท้จริ ง 1.5 การวางแผนโครงการ การพัฒนา Multimedia online บนเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พกพา Pocket PC วิชา ํ ระบบฐานข้อมูล นั้นได้กาหนดการวางแผนโครงการโดยมีการเริ่ มตั้งแต่เดือน มกราคม 2553 - สิ งหาคม 2553 ซึ่งสามารถแสดงระยะเวลาดําเนินงานได้ดงต่อไปนี้ ั ตาราง 1.1 แสดงระยะเวลาดําเนินงาน กิจกรรม /ระยะเวลา ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ศึกษาข้อมูลรู ปแบบ M-learning 2. ศึกษาความสามารถของโปรแกรม 3 .สรุ ปเนื้อหาวิชาฐานข้อมูล 4. ออกแบบระบบงาน 5. ออกแบบ จัดทําเนื้อหา 6. พัฒนาระบบงาน 7. ทดสอบการนําไปใช้จริ ง 8. แก้ไขและพัฒนาระบบงาน 9. สรุ ปผล และจัดทําเอกสาร 10.การนําเสนอระบบงาน
  • 5. บทที่ 2 หลักการและทฤษฎีทเี่ กียวข้ อง ่ หลักการและทฤษฎีองค์ความรู ้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีดงนี้ ั 2.1 หลักการและทฤษฎี เทคโนโลยีเพือการศึกษามีความสําคัญต่อการจัดการศึกษาในสังคมยุคสารสนเทศเป็ นอย่าง ่ 2.1.1 การเรียนรู้ แบบ m-Learning 1. แนวความคิดเกียวกับการเรียนรู้แบบ m-Learning ่ ในขณะที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้เข้า มาเป็ นส่ ว นหนึ่ งในทางการศึ ก ษาและกํา ลัง มี ค วามสํ า คัญ มากขึ้ น ซึ่ งการใช้ท้ ัง เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตทําให้การเรี ยนรู ้มีความสะดวกสบายมากขึ้น มีเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถใช้ได้ง่ายขึ้นด้วย ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ จึงเป็ นโอกาสที่ดีที่จะทํา ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมและสามารถเข้าถึงแหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงการ่ ํ ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตอินเทอร์ เน็ตไร้สายที่กาลังขยายขอบเขตการให้บริ การที่ครอบคลุมพื้นที่ ต่างๆ มากขึ้นซึ่ งอุปกรณ์ ที่มีคุณสมบัติสามารถเคลื่อนที่ได้และสามารถนํามาใช้ในการเรี ยนการ สอนนั้น เช่นโทรศัพท์มือถือ และ เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล (Personal Digital Assistant ั หรื อ PDA) m-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของการเรี ยนรู ้แบบอิเล็กทรอนิ กส์ และเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการเรี ยนทางไกล ซึ่งไม่ได้เป็ นเพียงแค่มีเทคโนโลยีเครื อข่ายไร้สายหรื ออินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่ คําจํากัดความของการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning ยังรวมถึงความสามารถที่จะเรี ยนรู ้ได้ทุกแห่ งในทุก เวลา โดยปราศจากการกีดกั้นทางกายภาพอย่างถาวรกับเครื อข่ายแบบสายเคเบิล ซึ่งหมายถึงการนํา อุ ปกรณ์ เคลื่ อนที่ และคอมพิ วเตอร์ แบบพกพามาใช้ เช่ น เครื่ องช่ วยงานส่ วนบุ คคลแบบดิ จิทล ั โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เป็ นต้น ที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ได้ เพื่อนําเสนอ และให้บริ การข้อมูลทางการศึกษาและเพื่อใช้ในกระบวนการเรี ยนการสอนระหว่างนักเรี ยนและครู
  • 6. 6 รูปที่ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง d-Learning, e-Learning และ m-Learning จากรู ปที่ 2.1 เป็ นพัฒนาการของ M-Learning เป็ นพัฒนาการนวัตกรรมการเรี ยน การสอนมาจากนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล หรื อ D-Learning (Distance Learning) และ การจัดการเรี ยนการสอนแบบ E-Learning (Electronic Learning) ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่าง M- Learning และ E-Learning แสดงให้เห็นว่า M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของ E-Learning ซึ่งเป็ นอีก ทางเลือกหนึ่ งของสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ที่ใช้สนับสนุ นการเรี ยนการสอนทางไกลนับว่าเป็ นแนวทาง ใหม่ต่อการจัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องตามเป้ าหมายตามแนวทางใหม่น้ ี ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระอย่าง เต็มที่ในการศึกษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือ หรื อ คอมพิวเตอร์แบบพกพา ณ สถานที่ ใดและในเวลาใดๆ ก็ได้ แทนที่จะต้องนั่งศึกษาบทเรี ยนผ่าน จอภาพของไมโครคอมพิวเตอร์ ใน สถานศึกษาสถานประกอบการ หรื อบ้านพัก ซึ่ งผูเ้ รี ยนบางคนอาจ ประสบปั ญหาเกี่ ยวกับสภาพ ความพร้ อมทางการเรี ยน เช่ น ปั ญหาส่ วนบุคคล ต้องเดิ นทางไกล ติดภารกิ จหน้าที่ประจํา และ ปั ญหาอื่นๆ ในขณะที่การเรี ยนรู ้ดวย M-Learning สามารถกระทําได้ ตลอดเวลา แม้ระหว่างการ ้ ประกอบภารกิจหน้าที่ประจําวันก็ตาม จากความสัมพันธ์ดงกล่าวการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning จึงเป็ นการใช้เทคโนโลยี ั สารสนเทศและการสื่ อสารซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย ที่ สามารถเคลื่อนที่ จับถื อ และพกพาไปในที่ต่างๆ ได้ เช่ น เครื่ องช่ วยงานส่ วนบุคคลแบบ ดิ จิทล ั โทรศัพท์มือถือและเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบแบบเขียน (Tablet PC) เป็ นต้น มาใช้ในการเรี ยนการ สอน ณ สถานที่ใดและในเวลาใดๆ ก็ได้ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning การใช้คาสั่ง การ ํ พูดคุยสื่ อสาร ผ่านเครื่ องมือดิจิทลส่ วนบุคคล เพื่อการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning นั้นทําให้เกิดเป็ นการ ั ร่ วมมือทางการเรี ยนรู ้มากยิงขึ้น (Collaborative Learning) เนื่องจากการเรี ยนการสอนแบบเดิมนั้น ่
  • 7. 7 จะเป็ นการสอนที่ยึดครู ผสอนเป็ นสําคัญ แต่เมื่อเปลี่ยนการเรี ยนการสอนมาเป็ นแบบ M-Learning ู้ การจัดการเรี ยนรู ้ก็เปลี่ยนแปลงไป โดยการจัดการเรี ยนรู ้แบบ M-Learning จะต้องคํานึงถึงสิ่ งต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การติดต่อ (Connectedness) 2. การสื่ อสาร (Communication) 3. ความสร้างสรรค์การสอน (Creative Expression) 4. มีความร่ วมมือกันในการเรี ยน (Collaboration) 5. ต้องคํานึงถึงธรรมชาติการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนแต่ละคน (Cultural Awareness) 6. ต้องมีการทําให้เกิดการแข่งขันเพื่อให้เกิดความหลากหลายของการเรี ยน (Competitiveness) การเรี ยนการสอนแบบ m-Learning ได้มีขอบข่ายของการเรี ยนรู ้ ดังนี้ 1. ข้อมูลคําอธิ บายต่างๆ เกี่ยวกับบทเรี ยน (Context Data) ได้แก่ คําอธิ บาย บทเรี ยน คู่มือการใช้งาน การช่ วยเหลือ และข้อมูลที่จาเป็ นอื่นๆ เพื่อสนับสนุ นและอํานวยความ ํ ั สะดวกให้กบผูเ้ รี ยนในระหว่างการเรี ยนรู ้ 2. เครื่ องมือสนับสนุนที่ชาญฉลาด (Intelligent Support Engine) ได้แก่ เทคโนโลยี เครื อข่ายไร้สาย รวมถึงซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่บริ หารและจัดการบทเรี ยน (mLMS) เริ่ มตั้งแต่การ ํ ลงทะเบียน นําเสนอ จัดการ ติดต่อสื่ อสาร ติดตามผลและประเมินผล รวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ เพื่อใช้สนับสนุ นการเรี ยนการสอนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์ แบบพกพา ส่ วนนี้ จะทํางานสัมพันธ์กบ Task Model และ User Model ที่ได้มีการออกแบบไว้ก่อนเกี่ยวกับ ั รู ปแบบการดําเนินการเกี่ยวกับภารกิจหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จะนําเสนอให้กบผูเ้ รี ยน ั 3. หน่วยเก็บเนื้ อหาบทเรี ยน (Content Repository) ได้แก่ ส่ วนของเนื้อหาบทเรี ยน รวมทั้งแบบฝึ กหัดแบบทดสอบ และส่ วนข้อมูลต่างๆ ที่เป็ นองค์ความรู ้เพื่อถ่ายทอดไปยังผูเ้ รี ยน 4. ส่ วนของการติดต่อกับผูเ้ รี ยน (Interface) ได้แก่ ส่ วนของการปฏิสัมพันธ์กบ ั ผูเ้ รี ยนผ่านแป้ นพิมพ์และจอภาพของเครื่ อง 2. ความหมายของการเรียนรู้แบบ m-Learning M-Learning เกิดจากคําศัพท์ 2 คํามีความหมายในตัวเอง ได้แก่ m มาจาก Mobile ซึ่งหมายถึงเครื่ องมือสื่ อสารที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการที่สามารถนําพกติดตัวไปไหน มาไหนได้สะดวก เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แบบพกพาที่เรี ยกว่า PDA (Personal Digital Assistant) คอมพิวเตอร์ แบบเขียน (Tablet PC) รวมถึงคอมพิวเตอร์ แบบโน้ตบุ๊ค (Notebook PC)
  • 8. 8 ส่ วน Learning มีความหมายครอบคลุมทั้งการเรี ยน (Learning) และการสอน (Teaching) M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของการเรี ยนรู ้แบบอิเล็กทรอนิ กส์ ที่มีการนําอุปกรณ์ เคลื่อนที่เข้ามาใช้ ได้แก่ เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลและโทรศัพท์มือถือ โดยทัวไปแล้ว ั ่ อุปกรณ์สาหรับการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning จะมีขนาดเล็ก ซึ่งจะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ํ ของเรา แต่สามารถนํามาใช้ในการเรี ยนการสอนได้ ซึ่งเครื่ องมือขนาดเล็กนั้นจะสามารถนํามาใช้ใน การเข้าถึงเนื้อหา สามารถใช้สื่อสารกับคนอื่นได้ และสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ตลอดจนการ ส่ งข้อมูลในแบบมัลติมีเดียได้ Mobile Learning เป็ นผลความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ ยวของกับการใช้ อุปกรณ์มือถือ เพื่อเข้าสู่ แหล่งทรัพยากรการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนสามารถเข้าสู่ สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ ที่ หลากหลายได้ อุปกรณ์มือถือเป็ นอุปกรณ์ที่สามารถเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ ทําให้เกิดความ เป็ นอิสระในเรื่ องของเวลาและสถานที่ โดยใช้เทคโนโลยีเครื อข่าย โทรศัพท์ไร้ สาย (Wireless Telecommunication Network) ที่สามารถต่อเชื่อมจากเครื อข่ายแม่ข่าย (Network Server) ผ่านจุดต่อ แบบไร้สาย (Wireless Access Point) แบบเวลาจริ ง (Real Time) อีกทั้งยังสามารถปฏิสัมพันธ์กบ ั โทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพาเครื่ องอื่นโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทล ั 3. E-Learning กับ M-Learning E-Learning หมายถึง การเรี ยนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้ อหาผ่านทาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ไม่ว่าจะเป็ น คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรื อ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรื อสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่ งเนื้อหาสารสนเทศ อาจอยูใน ่ รู ปแบบการเรี ยนที่เราคุนเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted ้ Instruction) การสอนบนเว็บ (Web Based Instruction) การเรี ยนออนไลน์ (On-line Learning) การ เรี ยนทางไกลผ่านดาวเทียม หรื ออาจอยูในลักษณะที่ยงไม่ค่อยเป็ นที่แพร่ หลายนัก เช่น การเรี ยนจาก ่ ั วีดิทศน์ตามอัธยาศัย (Video On-Damand) เป็ นต้น ั ดังนั้นจะเห็นว่า M-Learning เป็ นส่ วนหนึ่ งของ E-Learning ซึ่ งเป็ นอีกทางเลือก หนึ่งของสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สนับสนุนการเรี ยนการสอนทางไกล นับว่าเป็ นแนวทางใหม่ต่อการ จัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องตามเป้ าหมายตามแนวทางใหม่น้ ี ผูเ้ รี ยนจะมี อิสระอย่างเต็มที่ ใน การศึกษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพา ณ สถานที่ใดและใน เวลาใดๆ ก็ได้ แทนที่ จะนั่งศึ กษาบทเรี ยนผ่านจอภาพของไมโครคอมพิวเตอร์ ในสถานศึกษา สถานประกอบการ หรื อบ้านพัก ซึ่ งผูเ้ รี ยนบางคนอาจประสบปั ญหาเกี่ ยวกับสภาพความพร้อม ทางการเรี ยน เช่ น ปั ญหาส่ วนบุคคล ต้องเดิ นทางไกล ติ ดภารกิ จหน้าที่ประจํา และปั ญหาอื่ นๆ
  • 9. 9 ในขณะที่การเรี ยนรู ้ดวย M-Learning สามารถกระทําได้ตลอดเวลา แม้ระหว่างการประกอบภารกิจ ้ หน้าที่ประจําวันก็ตาม 4. ระบบบริหารและจัดการบทเรียนแบบ m-Learning ไม่ว่าจะเป็ นบทเรี ยน e-Learning หรื อ m-Learning ซึ่งแตกต่างกันเพียงเทคโนโลยี ที่ ใ ช้เ ป็ นช่ อ งทางในการส่ ง ผ่า นองค์ค วามรู ้ เ ท่ า นั้น ส่ ว นสาระสํา คัญ ของบทเรี ย นก็ คื อ เนื้ อ หา (Content)ที่นบว่าเป็ นหัวใจของการเรี ยนรู ้จะไม่มีความแตกต่างกันแต่อย่างใดเนื่ องจากเป็ นส่ วนที่ ั ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ข้ ึนหลังจากศึกษาเนื้ อหาบทเรี ยน แล้ว สาระสําคัญของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ท้ ง 2 ประเภท ยังคงยึดหลัก 4I's เช่นเดียวกัน ได้แก่ ั 1. Information คือ ความเป็ นสารสนเทศของเนื้อหาบทเรี ยน 2. Interactive คือ การมีปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับบทเรี ยน และผูเ้ รี ยนด้วยกัน ั 3. Individualization คือ การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้รายบุคคล 4. Immediate Feedback คือการโต้ตอบโดยทันทีที่ผเู ้ รี ยนตอบสนอง สําหรับการเรี ยนการสอนในลักษณะของ m-Learning ส่ วนที่ทาหน้าที่หลักในการ ํ บริ หารและจัดการรวมทั้งการนําพา (Tacking) ผูเ้ รี ยนตั้งแต่เมื่อแรกเริ่ มลงทะเบียนไปยังเป้ าหมาย ปลายทางก็คือ LMS (Learning Management System) ซึ่งนับว่าเป็ นหัวใจของระบบการเรี ยนการ สอนแบบ m-Learning ที่ทาหน้าที่จดการเรี ยนการสอนแทนผูสอนทั้งหมด ปั จจุบนได้มีการพัฒนา ํ ั ้ ั ระบบ LMS ขึ้นมาเพื่อการพาณิ ชย์เป็ นจํานวนมาก เช่ น Lotus Learning Space, WebCT, Blackboard, SAP, TopClass, Intralearn เป็ นต้น ส่ วนการเรี ยนการสอนในลักษณะของ m-Learning ก็มีระบบบริ หารและจัดการ บทเรี ยนเช่นกันเรี ยกว่า mLMS ก็คงไม่แตกต่างจาก LMS มากนัก เพียงแต่การจัดการบทเรี ยนผ่าน โทรศัพท์มือถือ หรื อคอมพิวเตอร์ แบบพกพามีความซับซ้อนมากกว่า เนื่ องจากเป็ นการจัดการกับ ข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายไร้สาย ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลย่อมมีความซับซ้อนและ ่ ยุงยากมากกว่า ปั จจุบนนี้ กล่าวไดว่าเป็ นยุคบุกเบิกของ m-Larning ซึ่ งก็ได้เริ่ มมีการพัฒนา mLMS ั ขึ้นมาเพื่อการพาณิ ชย์เช่นกัน เช่น บริ ษท WBT System แห่ งไอร์แลนด์ได้พฒนาระบบ Top Class ั ั Mobile เพื่อใช้ในการบริ หารและจัดการบทเรี ยน m-Learning นอกจากนี้ยง มี mLMS อื่นๆ เช่น ั Mobile LMS ของบริ ษท Meridian KSI เป็ นต้น ั
  • 10. 10 5. โครงสร้ างการทํางานของ m-Learning รูปที่ 2.2 โครงสร้างของ M-Learning จากรู ปที่ 2.2 เป็ นโครงสร้างของ M-Learning ซึ่งประกอบด้วย 1. ส่ วนของผูสอน ส่ วนนี้จะเป็ นส่ วนของผูสอนที่จะทําการเนื้อหาบนคอมพิวเตอร์ ้ ้ แล้วทําการ Up Load ขึ้น server ซึ่ งเนื้ อหาที่ผสอนสร้างนั้นจะเป็ นส่ วนของ เนื้ อหา แบบฝึ กหัด ู้ แบบทดสอบ ไฟล์มลติมีเดีย เป็ นต้น ั 2. ส่ วนของผูเ้ รี ยนเข้าไปไปศึกษาเนื้ อหาโดยใช้โทรศัพท์มือถือมือถือ ซึ่ งสามารถ เข้าได้โดยทางเว็บไซด์โดยผ่าน เว็บบราวเซอร์ ,เว็บบราวเซอร์ หรื อโหลดเนื้ อหามาศึกษาผ่าน โปรแกรมสําเร็ จรู ป
  • 11. 11 6. สถาปัตยกรรมของ m-Learning รู ปแบบสถาปั ตยกรรมทัวไปของการจัดการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ่ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ส่ วนด้วยกัน ประกอบด้วย 6.1 ส่ วนที่เป็ นอุปกรณ์โทรศัพท์ ในส่ วนนี้จะหมายถึง โทรศัพท์มือถือจะต้องมี เว็บบราวเซอร์ เพื่อทําหน้าที่ในการเปิ ดแสดงผลหน้าจอภาพบนมือถือผ่านอินเทอร์ เนต จะต้องมีบ ราวเซออร์ ที่สามารถเชื่อมโยงโปรแกรมบนมือถือแบบไร้สาย (wep:Wireless Application Protocal) และต้องมีโปรแกรมสําหรับจัดการเรี ยนการสอนโดยเฉพาะสําหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 6.2 ส่ วนที่เป็ นระบบการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mLMS : Mobile learning Management System)หมายถึง ระบบการจัดการเรี ยนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดย ในส่ วนนี้จะมีองค์ประกอบ 3 ส่ วนด้วยกันคือ 6.2.1 การจัดการเนื้อหาและปรับเปลี่ยนสําหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็ นส่ วน ที่ทาหน้าที่ ในการจัดการเนื้ อหา นําเสนอเนื้ อหาผ่านหน้าจอโทรศัพท์และนําส่ งข้อมูลข่าวสาร ํ สําหรับการเรี ยนการสอน 6.2.2 ส่ วนประกอบและการกําหนดเวลาที่ตรงกันสําหรับการเรี ยนการสอน เป็ นส่ วนของระบบที่ทาหน้าที่จดองค์ประกอบต่างๆ เข้ามาเกี่ ยวข้องกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ํ ั เช่น การแสดงภาพ การแสดงวีดีโอ การโหลดไฟล์เสี ยง โดยมุ่งให้จดการเรี ยนการสอนได้ตาม ั เวลาจริ งผ่านตัวโทรศัพท์เคลื่อนที่ 6.2.3 ส่ ว นสภาพแวดล้อ มและการค้น คว้า ข้อ มู ล เป็ นส่ ว นที่ จ ัด ่ สภาพแวดล้อมสําหรับการเรี ยนรู ้ผานโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้เหมาะสม โดยเน้นไปในเรื่ องของการ จัด การสํา หรั บ โทรศัพ ท์ เช่ น การแสดงผลหน้า จอภาพ แบตเตอรี่ โ ทรศัพ ท์ เครื อ ข่ ายใช้ง าน ช่องสัญญาณโทรศัพท์และจัดการค้นคว้าข้อมูล ช่องทางการเข้าสู่ ขอมูล เป็ นต้น ้ 6.3 ส่ วนที่ เป็ นระบบการจัดการเรี ยนรู ้ แบบอิ เล็กทรอนิ กส์ (eLMS:Electronic- learning Management System) ประกอบด้วย 4 ชั้น ดังนี้ 6.3.1 ชั้นที่เป็ นหน้าจอภาพ เป็ นส่ วนที่แสดงผลของเนื้อหา สามารถสั่งงาน หรื อเลือกรายการในการเรี ยนรู ้ได้โดยผูเ้ รี ยนโดยผ่านเว็บ 6.3.2 ชั้นของการนําเสนอ เป็ นชั้นที่ติดต่อระหว่างหน้าจอภาพของกับส่ วนที่ เป็ นโปรแกรมในการนําเสนอข้อมูลของระบบ เป็ นชั้นที่ทาหน้าที่เป็ นโปรแกรมเชื่ อมต่อระหว่าง ํ หน้าจอภาพกับข้อมูลเนื้อหา 6.3.3 ชั้นของการจัดการ เป็ นชั้นที่ทาหน้าที่ในการจัดการเนื้ อหาข้อมูล ํ ต่างๆ ที่จะไปนําเสนอในชั้นหน้าจอภาพโดยในชั้นนี้ จะทําหน้าที่ในการบริ หารจัดการเนื้ อหาให้
  • 12. 12 เป็ นระบบจัดการติดต่อระหว่างผูใช้โปรแกรมกับข้อมูล จัดการเกี่ยวกับรายละเอียดการเข้าสู่ ระบบ ้ ของผูใช้งาน รายงานประวัติการเข้าสู่ระบบของผูใช้ จัดทํารายการในรู ปของดัชนีช้ ีเข้าสู่ ขอมูลต่างๆ ้ ้ ้ และบริ หารจัดการรายละเอียดทัวไปของเนื้อหา ่ 6.3.4 ชั้นติดตั้งข้อมูล เป็ นชั้นที่จดทําเป็ นฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อการจัดเก็บ ั เนื้อหาของระบบ การจัดการเรี ยนรู ้โดยจัดเก็บในรู ปของไฟล์อิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูล หลักๆได้แก่ การจัดเก็บฐานข้อมูลของเนื้ อหาสําหรับการเรี ยนเป็ นเรื่ องๆ หรื อการจัดเก็บเป็ นชิ้น (Learning Object:Lo) ซึ่งสามารถเก็บเป็ นเรื่ องๆ กี่เรื่ องก็ได้ รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลสําหรับติดต่อ กับผูเ้ รี ยนและข้อมูลโดยรวมของระบบ 7. อุปกรณ์ ทใช้ ในการเรียนการสอนแบบ m-Learning ี่ การจัดการเรี ยนการสอนแบบ m-Learning นั้น ผูเ้ รี ยนต้องใช้อุปกรณ์แบบติดตาม ตัวหรื อเคลื่อนไปได้โดยสะดวก (mobile devices) ซึ่งอุปกรณ์แต่ละประเภทมีความสามารถ มีขนาด และราคาที่แตกต่างกันไป อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สามารถนํามาใช้เป็ นเครื่ องมือสําหรับการเรี ยนการ สอนแบบ m-Learning ได้ มีดงนี้ ั 7.1 Notebook computers เป็ นคอมพิวเตอร์ ขนาดพกพาได้ มีความสามารถ เทียบเท่าหรื อเหนื อกว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ทวไป (Desktop of Personal Computer) ปั จจุบนมีขนาด ั่ ั เล็กและสามารถพกพาได้โดยสะดวกแต่ราคายังค่อนข้างสูง รูปที่ 2.3 Notebook computers
  • 13. 13 7.2 Tablet PC เป็ นคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา มีความสามารถเหมือนกัน PC บาง ่ ชนิดไม่มีแป้ นพิมพ์แต่ใช้ซอฟต์แวร์ประเภทรู ้จาลายมือในการรับข้อมูลยังมีราคาแพงอยูมาก ํ รูปที่ 2.4 Tablet PC 7.3 Personal Digital Assistant (PDA) เป็ นอุปกรณ์พกพา เสมือนเป็ นผูช่วยดิจิตอล ้ ส่ วนตัว หน่ วยประมวลผลมีความสามารถสู ง จอภาพแสดงผลได้ถึง 65000 สี ข้ ึนไป สามารถ ประมวลผลไฟล์ประเภทมัลติมีเดียได้ทุกประเภท ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการมักใช้ Palm หรื อ ั Microsoft Pocket PC มีซอฟต์แวร์ให้เลือกติดตั้งได้หลากหลาย รู ปที่ 2.5 Personal Digital Assistant (PDA) 7.4 Cellular phones เป็ นอุปกรณ์ประเภทโทรศัพท์มือถือทัวไป เน้นการใช้ขอมูล ่ ้ ประเภทเสี ยงและการรับส่ งข้อความ (SMS) มีขอจํากัด คือ มีหน่ วยความจําน้อย อัตราการโอนถ่าย ้ ข้อมูลตํ่า ในรุ่ นที่มีความสามารถ สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่าน WAP (Wireless Application Protocol) หรื อ GPRS (General Packet Radio Service) รูปที่ 2.6 Cellular phones
  • 14. 14 7.5 Smart Phones เป็ นอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ความสามารถสูง รวมความสามารถ ของ PDA และ Cellular phones เข้าด้วยกัน อาจมีขนาดเล็กกว่า PDA และใหญ่กว่า Cellular phones ใช้ระบบปฏิบติการ คือ Symbian หรื อ Windows Mobile มีโปรแกรมประเภท Internet Browser ใช้ ั เป็ นอุปกรณ์ Multimedia สําหรับการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ รูปที่ 2.7 Smart Phones จากตัว อย่า งอุ ป กรณ์ ข า งต้น คุ ณ สมบัติ ข องอุ ป กรณ์ ที่ สํา คัญ คื อ สามารถเชื่ อ มต่ อ เข้า กับ ระบบ ้ เครื อ ข่ า ยโดยใช้เ ทคโนโลยี ไ ร้ ส ายแบบใดแบบหนึ่ ง มี ค วามสามารถในการเข้า ถึ ง เครื อ ข่ า ย อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์แต่ละประเภทมีขนาด นํ้าหนัก ความสามารถ และราคาแตกต่างกันไป 8. เทคโนโลยีทใช้ ใน M-Learning : SMS,WAP และเครือข่ ายดิจิทล ี่ ั เทคโนโลยีเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายที่แพร่ หลายทัวโลกก็คือ GSM (global system ่ for mobile communication) ซึ่ งออกแบบขึ้นมาในครั้งแรกเพื่อใช้ในการรับส่ งสัญญาณเสี ยงเป็ น หลัก แต่ต่อมาได้มีการพัฒนาให้มีการรับส่ งข้อความในลักษณะของ SMS (short message service) เช่น โทรสาร จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และข้อความสั้นๆ ด้วยความเร็ วในการส่ งสัญญาณ 160 ตัวอักษรต่อวินาที หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาโพรโตคอลไร้สาย (wireless protocol) ขึ้นมาเพื่อ รองรับการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เนต เรี ยกว่า WAP (wireless application protocol) ทําให้เกิดการตื่นตัวอย่างมากในการท่องอินเทอร์เนตโดยใช้เว็บบราวเซอร์ ผ่านโทรศัพท์มือถือ หรื อคอมพิวเตอร์พกพา แต่ส่วนใหญ่ยงเป็ นการนําเสนอด้วยข้อความเป็ นหลัก ั (text-based)การนําเสนอภาพ ภาพเคลื่อนไหว และวีดีทศน์ผ่าน WAP ยังคงเป็ นเรื่ องที่ยากต่อ ั โพรโตคอลดังกล่าว ้ พัฒนาการของเครื อข่ายโทรศัพท์ดิจิทลได้กาวหน้าอย่างต่อเนื่ อง ส่ งผลให้การ ั รั บ ส่ ง ภาพ ภาพเคลื่ อ นไหว และวี ดี ท ัศ น์ เป็ นเรื่ องที่ ง่ า ยขึ้ น เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ ได้ แ ก่ GPRS,HSCSD และ Bluetooth
  • 15. 15 8.1 GPRS ( General Packet Radio Service ) เป็ นเทคโนโลยีดิจิทลความเร็ วสู งใน ั การรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ระบบ GSM ด้วยความเร็ วสู งถึง 171.2 kbps ซึ่ งความเร็ ว ขนาดนี้ เป็ นความเร็ วที่สูงกว่าการรับส่ งข้อมูลธรรมดาถึง 3 เท่า และสู งกว่าความเร็ วในการรับส่ ง ข้อมูลแบบ GSM ประมาณ 10 เท่า ทําให้การรับส่ งข้อมูลไม่ว่าจะเป็ นข้อความภาพและเสี ยง ผ่าน เครื อข่ายโทรศัพท์แบบไร้สายมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น รวมทั้งการใช้โปรแกรมต่างๆ ผ่านอินเทอร์ เนตบราวเซอร์ ปั จ จุ บ ัน มี ก ารพัฒ นาโปรแกรมประยุก ต์ต่ า งๆ ขึ้ น มาเป็ นจํา นวนมากเพื่ อ บน โทรศัพท์มือถือหรื อคอมพิวเตอร์แบบพกพาผ่านเทคโนโลยี GPRS ซึ่งมีค่าใช้จ่ายตํ่ากว่าระบบ SMS และการรับส่ งข้อมูลแบบ CSD (circuit switch data) ซึ่งเป็ นโพรโตคอลในการรับส่ งข้อมูลแบบ ดั้งเดิมซึ่งมีขอจํากัดทั้งด้านขนาดข้อมูลและความเร็ ว ้ 8.2 HSCSD (high speed circuit switch data ) เป็ นเทคโนโลยีดิจิทลความเร็ วสู ง ั ในการรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ระบบ GSM อีกรู ปแบบหนึ่ งซึงแตกต่างจาก ระบบ GPRS ด้วยความเร็ วที่สูงประมาณ 57.6 kbps ซึ่งตํ่ากว่าระบบ GPRS แต่ก็มีขอดีในการรับส่ งสัญญาณภาพ ้ และวีดีทศน์ที่ให้มีประสิ ทธิ ภาพดีกว่าระบบ GPRS เนื่ องจากมีระบบการประกันคุณภาพของการ ั จัดการสัญญาณภาพแบบ switched circuit ที่มีความเสถียรมากกว่าการส่ งข้อมูลแบบ Packetของ ระบบ GPRS อย่างไรก็ตามปั จจุบนนี้ เทคโนโลยี HSCSD ยังไม่เป็ นที่แพร่ หลายมากนักในประเทศ ั ต่างๆ 8.3 Bluetooth เป็ นเทคโนโลยีไร้สายในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ 2 ชุดเข้าด้วยกันใน ระยะทางสั้นๆ ไม่เกิน 10 เมตร ด้วยความเร็ วสู งสุ ด 1 Mbps เช่น การต่อเชื่อมโทรศัพท์มือถือเข้า กับไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ปัญหาของระบบ Bluetooth ก็คือ ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ ยังไม่ดีพอและมีขอจํากัดทางด้านระยะทางในการติดต่อสื่ อสาร เทคโนโลยีดิจิทลเหล่านี้ในปั จจุบน ้ ั ั กําลังมีการตื่นตัวอย่างมาก มีการวิจยอย่างต่อเนื่ องเพื่อพัฒนาให้โทรศัพท์มือถือแลคอมพิวเตอร์ ั แบบพกพาทํางานคล้ายกับไมโครคอมพิวเตอร์ มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นการใช้เว็บบราวเซอร์ การใช้ โปรแกรมประยุกต์ (application software) การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การรับส่ งไฟล์ขอมูล (file ้ transfer) การรับส่ งไฟล์เสี ยงและไฟล์ภาพ รวมทั้งการใช้งานทางด้านมัลติมีเดี ยในลักษณะของ MMS(multimedia messaging) การนําเสนอเนื้ อหาบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือแบบ ไร้ สายในลักษณะของ M-Learning จึงเกิดขึ้น นับว่าเป็ นการพัฒนาการของการสอนแบบ E-Learning อีกขั้นหนึ่ ง โดยเป็ นที่คาดหมายกันไว้ว่าในยุคที่ 4 (4th generation) ในราวปี ค.ศ. 2010 เมื่อ เทคโนโลยีเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือไร้สายสามารถรับส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ ว 100 Mbps จะเป็ น ้ ยุคทองของการเรี ยนการสอนแบบ M-Learning ผูเ้ รี ยนสามารถต่อเชื่อมเครื่ องมือสื่ อสารของตนเอง เข้ากับเครื อข่ายโทรศัพท์ไร้สายเพื่อลงทะเบียนเรี ยน ศึกษาบทเรี ยน ทําแบบฝึ กหัด และข้อสอบเพื่อ
  • 16. 16 วัดและประเมินผล รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์กบผูเ้ รี ยนคนอื่นๆหรื อผูสอนได้ในเวลากัน แม้ว่าจะอยู่ ั ้ ห่างกันคนละภูมิภาคก็ตาม      8.4 3G (สามจี หรื อ ทรี จี) เป็ นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและ กําลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union อัตราความเร็ วในการส่ งข้อมูล (Transmission Rate)มากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุก สภาวะ ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ และสู งถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะ เคลื่อนที่ 8.5 HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) เป็ นเทคโนโลยีสื่อสารไร้ สายที่ นับเป็ นวิวฒนาการขั้นถัดมาจากเครื อข่าย W-CDMA ซึ่ งมีชื่อเรี ยกสถานี ฐานนี้ ว่า Node B ั ด้วยการนําเทคโนโลยีการมอดเลตสัญญาณ และการเข้ารหัสข้อมูลแบบใหม่ เพื่อช่วยทําให้อตราเร็ ว ั ในการส่ งข้อมูลจาก Node B มายังเครื่ องลูกข่ายสื่ อสารไร้สาย เพิ่มขึ้นเป็ น 14 เมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่การสงข้อมูลกลับจากอุปกรณ์สื่อสารไร้สายไปยัง Node B ยังคงใช้อตราเร็ ว 384 กิโลบิต ั ต่อวินาที ซึ่งว่าเพียงพอและสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้บริ การสื่ อสารข้อมูลแบบบรอดแบนด์ที่ ผูใช้งานส่ วนใหญ่มีการดาวน์โหลดข้อมูลจากเครื อข่ายมากกวาการส่ งข้อมูลย้อนกลับไป อย่างไรก็ ้ ตาม ภายใน พ.ศ. 2550 เครื อข่าย W-CDMA ที่มีการเปิ ดใช้เทคโนโลยี HSDPA นี้ ก็จะมีการพัฒนา ต่อไปเป็ นเครื อข่ายแบบ HSUPA (High Speed Uplink Packet Access) ซึ่ งมีผลทําให้อตราเร็ วใน ั การรับและส่ งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์สื่อสารไร้สายและ Node B มีค่า 14 กิโลบิตต่อวินาทีเท่ากัน 9. ข้ อดีและข้ อเสี ยของการเรียนรู้แบบ m-Learning การเรี ยนรู ้แบบ m-Learning นั้นเป็ นการใช้เทคโนโลยีที่สามารถเคลื่อนที่ได้ และมี ขนาดเล็ก ซึ่ งนํามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาในด้านการบริ หารจัดการ การจัดระบบระเบียบการ เรี ยนการสอน เป็ นอุปกรณ์ การสอนสําหรั บผูสอนและยังเป็ นอุปกรณ์ที่สนับสนุ นการเรี ยนการ ้ สอนสําหรับผูเ้ รี ยนได้อีกด้วย โดยมีจุดแข็งและจุดอ่อนดังต่อไปนี้ 9.1 จุดแข็งของการเรียนรู้แบบ m-Learning ั ้ ผูเ้ รี ยนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กบผูอื่นได้มากขึ้น เพราะผูเ้ รี ยนสามารถพกพา อุปกรณ์เคลื่อนที่ อย่างเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลไปยังที่ต่างๆ ได้ และสามารถสื่ อสาร ั ระหว่างกันโดยคณะผูจดทําสื่ อการศึกษาของหน่ วยงานพัฒนาและฝึ กอบรมของมหาวิทยาลัยเคม ้ั ่ บริ ดจ์ ได้ กล่าวถึงข้อดีของการเรี ยนรู ้ผานอุปกรณ์แบบไร้สาย หรื อ m-Learning ว่ามีลกษณะของ ั ั ้ ความเป็ นส่ วนตัวสู ง ดังนั้นวิธีน้ ีจะสามารถช่วยเหลือและส่ งเสริ มทักษะการอ่านและเขียน ให้กบผูที่
  • 17. 17 ไม่สามารถอยู่ร่วมกับสังคมและเรี ยนรู ้ตามระบบการศึกษาปกติได้ ไม่ใช่ว่า m-Learning จะมี ประโยชน์เฉพาะกับคนที่มีปัญหาเรื่ องการเข้าสังคมเท่านั้น คนปกติอย่างเราๆ ก็สามารถเรี ยนรู ้ผาน ่ ่ m-Learning ได้เช่นกัน โดยเฉพาะคนที่ตองเดินทางบ่อยๆ อยูไม่เป็ นหลักแหล่ง หาที่ใช้อินเทอร์เน็ต ้ ลําบาก จึงสะดวกและเหมาะสมที่จะใช้อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ 9.1.1. มีความเป็ นส่ วนตัว และอิสระที่จะเลือกเรี ยนรู ้ และรับรู ้ 9.1.2. ไม่มีขอจํากัดด้านเวลา สถานที่ เพิ่มความเป็ นไปได้ในการเรี ยนรู ้ ้ 9.1.3. มีแรงจูงใจต่อการเรี ยนรู ้มากขึ้น 9.1.4. ส่ งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้จริ ง 9.1.5. ส่ งเสริ มให้มีการสื่ อสารกับเพื่อนและผูสอนมากขึ้น ด้วยเทคโนโลยี ้ ของเอ็มเลิร์นนิ่ ง ทําให้เปลี่ยนสภาพการเรี ยนจากที่ยึดผูสอนเป็ นศูนย์กลาง ไปสู่ การมีปฏิสัมพันธ์ ้ โดยตรงกับผูเ้ รี ยน 9.1.6. สามารถรับข้อมูลที่ไม่มีการระบุชื่อได้ ซึ่งทําให้ผเู ้ รี ยนที่ไม่มนใจกล้า ั่ แสดงออกมากขึ้น 9.1.7. สามารถส่ งข้อมูลไปยังผูสอนได้ อีกทั้งส่ งกระจายซอฟต์แวร์ไปยัง ้ ผูเ้ รี ยนทุกคนได้ ทําให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีซอฟต์แวร์รุ่นเดียวกันเร็ วกว่าการโทรศัพท์ หรื ออีเมล์ 9.1.8. ลดความเหลื่อมลํ้าทางดิจิตล เนื่ องจากราคาเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ ั พกพา เครื่ อง PDA หรื อโทรศัพท์มือถือที่ใช้สาหรับเอ็มเลิร์นนิ่งนั้นถูกกว่าคอมพิวเตอร์แบบ ใหม่ๆ ํ 9.1.9. สะดวกสบายและมีประสิ ทธิ ภาพทั้งในสภาพแวดล้อมทางการเรี ยน และการทํางาน 9.1.10. ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความกระตือรื อร้นทางการเรี ยนและมีความ รับผิดชอบต่อการ เรี ยนด้วยตนเอง เนื่ องจากผูเ้ รี ยนที่เป็ นวัยรุ่ นมีแนวโน้มที่จะชอบและใช้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ประเภทพกพาต่างๆ 9.2 จุดอ่ อนของการเรียนรู้แบบ m-Learning 9.2.1. ขนาด ของความจุ Memory และขนาดหน้าจอที่จากัดอาจจะเป็ น ํ อุปสรรคสําหรั บการอ่านข้อมูล แป้ นกดตัวอักษรไม่สะดวกรวดเร็ วเท่ากับคียบอร์ ดคอมพิวเตอร์ ์ แบบตั้งโต๊ะ อีกทั้งเครื่ องยังขาดมาตรฐาน ที่ตองคํานึ งถึงเมื่อออกแบบสื่ อ เช่น ขนาดหน้าจอ แบบ ้ ของหน้าจอ ที่บางรุ่ นเป็ นแนวตั้ง บางรุ่ นเป็ นแนวนอน 9.2.2. การเชื่อมต่อกับเครื อข่าย ยังมีราคาที่ค่อนข้างแพง และคุณภาพอาจจะ ยังไม่น่าพอใจนัก 9.2.3. ซอฟต์ แ วร์ ที่ มี อ ยู่ ใ นท้อ งตลาดทั่ว ไป ไม่ ส ามารถใช้ไ ด้กับ
  • 18. 18 เครื่ องโทรศัพท์แบบพกพาได้ 9.2.4. ราคาเครื่ องใหม่รุ่นที่ดี ยังแพงอยู่ อีกทั้งอาจจะถูกขโมยได้ง่าย ั 9.2.5. ความแข็งแรงของเครื่ องยังเทียบไม่ได้กบคอมพิวเตอร์ต้ งโต๊ะั 9.2.6. อัพเกรดยาก และเครื่ องบางรุ่ นก็มีศกยภาพจํากัด ั 9.2.7. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่ งผลให้ขาดมาตรฐานของ การผลิตสื่ อเพื่อเอ็มเลิร์นนิ่ ง ตลาดของเครื่ องโทรศัพท์มือถือมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ ว พอพอกับ เครื่ องที่สามารถตกรุ่ นอย่างรวดเร็ ว 9.2.8. เมื่อมีผใช้เครื อข่ายไร้สายมากขึ้น ทําให้การรับส่ งสัญญาณช้าลง ู้ 9.2.9. ยังไม่มีมาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูล นอกจากนี้ ยังพบว่าข้อจํากัดของการเรี ยนรู ้แบบ m-Learning อุปกรณ์ไร้สาย ส่ วนมากมีหน้าจอเล็ก การประมวลผลช้า หน่วยความจําที่จากัดและน้อยกว่าในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ํ ส่ วนบุคคล และมีค่าใช้จ่ายที่สูงมากหากเทียบกับการเรี ยนรู ้ทางไกลแบบอื่นๆ (d-Learning และ e- Learning) ข้อจํากัดเหล่านี้ ทาให้การพัฒนาวิธีการเรี ยนรู ้โดยผ่านโทรศัพท์มือถือและเครื่ องช่วยงาน ํ ส่ วนบุคคล แบบดิ จิทลนั้นอาจเติบโตได้ช้า แต่หากมีรูปแบบและสามารถพัฒนาให้เป็ นต้นแบบ ั ขึ้นมาจริ งๆ การเรี ยนแบบนี้ จะเอื้อประโยชน์อย่างมากสําหรับผูที่ตองการความเป็ นส่ วนตัวในการ ้ ้ ่ เรี ยน เรี ยกได้วาเป็ นการขยายโอกาสการเรี ยนรู ้ให้กว้างขวางขึ้น ซึ่ งคาดคะเนว่าอีกไม่ชาการพัฒนา ้ ทั้ง หลายจะสามารถผลิ ต อุ ป กรณ์ ไ ร้ ส ายที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การเรี ยนและวิ ธี ก ารเรี ยนที่ มี ประสิ ทธิภาพได้ 10. ตัวอย่ าง m-Learning วิวฒน์ มีสุวรรณ ได้ศึกษาวิจยและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่าย ั ั ไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทลขึ้น โดยผ่านการประเมินจากผูเ้ ชี่ ยวชาญ และสร้าง ั บทเรี ยน ผ่านเครื อข่ายไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล เรื่ องการจัดแสงสําหรับการ ั ผลิตรายการโทรทัศน์การศึกษา 10.1 รู ปแบบการเรียนการสอน บทเรี ยนผ่านเครื อข่ายไร้สายบนเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล เรื่ อง ั การจัด แสงสํ า หรั บ การผลิ ต รายการโทรทศน์ ก ารศึ ก ษา ออกแบบเพื่ อ ให้ ผูเ้ รี ย นสามารถเข้า ลงทะเบียนเรี ยนเนื้อหาต่างๆ ที่ตนสนใจ ทําการติดตามและประเมินผลผูเ้ รี ยนจนจบหลักสู ตร และ การใช้เครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล อํานวยความสะดวกให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากที่ใด ั
  • 19. 19 ก็ได้ เวลาใดก็ได้ ด้วยการติดต่อกับระบบการสื่ อสารแบบไร้สายผ่าน Wi-FiGPRs ผูเ้ รี ยนจะมีอิสระ ในการเรี ยนรู ้มากขึ้น สามารถเคลื่อนที่ หรื อพกพาอุปกรณ์ไปในที่ต่างๆ ได้อย่างสะดวก ตัวอย่าง รู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ M-Learning ของ วิวฒน์ มีสุวรรณ ั มีลกษณะ ดังนี้ ั รู ปที่ 2.8 หน้าต่างเมื่อเข้าใช้งาน M-Learning ของ วิวฒน์ มีสุวรรณ ั ผ่านเครื่ องช่วยงานส่ วนบุคคลแบบดิจิทล ั จากรู ปที่ 2.8 เป็ นการแสดงหน้าต่างเมื่อเข้าใช้งาน โดยจะต้องทําการ Login ก่อนหรื อถ้ายังไม่เป็ น สมาชิกให้ทาการสมัครสมาชิก เมื่อ login เข้าไปแล้วจะแสดงเมนูหลักของ M-Learning ขึ้นให้ ํ ผูเ้ รี ยนเข้าไปศึกษา รู ปที่ 2.9 เนื้อหาของ M-Learning
  • 20. 20 จากรู ปที่ 2.9 เป็ นการแสดงเนื้ อหาของ M-Learning และมีคาถามท้ายเนื้อหาให้ตอบ เมื่อศึกษา ํ เนื้อหาเสร็ จ โดยจะเป็ นคําถามที่ให้ตอบถูกหรื อผิด รู ปที่ 2.10 แสดงแบบทดสอบ จากรู ปที่ 2.10 เป็ นตัวอย่างแบบทดสอบ ซึ่งจะมีตวเลือก 4 ตัวเลือก เมื่อทําครบแล้ว และจะแสดง ั รายงานคะแนนการทําแบบทดสอบ 2.2 เครื่องมือทีใช้ พฒนา ่ ั 2.2.1 Action script 1. Action script คืออะไร ั ActionScript เป็ นภาษาที่ใช้เพิ่มความสามารถในการโต้ตอบกับเกมให้กบโปรแกรม Flash เช่ น การสร้ า งการตอบสนองตามเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ นต้น โดย ActionScript เปรี ยบเสมือนตัวกลางสําหรับการติดต่อสื่ อสารระหว่างเกมกับผูพฒนาเกม ้ ั ปั จจุบน ActionScript ได้พฒนามาถึงเวอร์ ชน 2 ที่เรี ยกว่า “ActionScript 2.0” ซึ่ งมี ั ั ั ประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้นจาก ActionScript 1.0 หลายประการ เช่น สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ ต่างๆ ได้เร็ วขึ้น ทําให้สามารถสร้างงานประเภท Interactive ได้ดีข้ ึน หรื อการรองรับรู ปแบบการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) มากขึ้น โดยสามารถสร้างคลาส (Class) ขึ้นใช้งานเองได้แล้วบันทึก