SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
บทที ่ 1
บทนำ ำ
1. ที ่ ม ำและควำมสำ ำ คั ญ
      กรมควบคุมโรค คือหนึงในหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข ทีรบ
                             ่                                 ่ั
นโยบายรัฐบาลไปสูการปฏิบติ โดยมีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการ
                     ่     ั
เพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ โดยมีการศึกษา วิจย ั
พัฒนา รวมทังการถ่ายทอดองค์ความรูและเทคโนโลยีเพือการเฝ้าระวัง
             ้                     ้              ่
ป้องกัน ควบคุม วินจฉัย และรักษาโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ ด้วย
                   ิ
ภารกิจหน้าที่ ตลอดจนการปฏิบัติตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เพื่อ
นำาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน กรมควบคุมโรคจึงได้กำาหนด
นโยบายในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนกำาหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ และยุทธศาสตร์ต่างๆ โดยจะนำามาซึงการบรรลุเป้าหมายตามน
                                           ่
โยบายของกรมควบคุมโรค และสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่
กำาหนดไว้ ด้วยภารกิจหลักหรือกระบวนการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้อง
      จากเหตุผลดังกล่าว ประกอบกับเพือศึกษาแนวทางในการบริหารงาน
                                     ่
สาธารณสุขทีเกียวข้อง คณะผูจดทำา จึงได้เลือกกรมควบคุมโรคเป็น
               ่ ่             ้ ั
องค์กรศึกษาโดยคาดหวังว่าจะสามารถนำาหลักทฤษฎี และการบริหาร
จัดการที่เป็นประโยชน์ นำามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ปรับปรุง
กระบวนการทำางานที่รบผิดชอบ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป
                       ั
2. วั ต ถุ ป ระสงค์
   2.1 เพื่อสำมำรถอธิบำยคุณค่ำ ควำมสำำคัญ และกระบวนกำร
บริหำรได้
   2.2 เพือสำมำรถอธิบำยและวิเครำะห์กระบวนกำรบริหำรในระบบ
           ่
สำธำรณสุขได้ ในเทอมของกำรวำงแผน กำรจัดองค์กำร กำรอำำนวย
กำร กำรนิเทศงำน กำรควบคุมกำำกับงำน และกำรประเมินผล
   2.3 เพือสำมำรถจำำแนกปัจจัยทีมผลต่อกำรบริหำรงำนสำธำรณสุข ใน
             ่                 ่ ี
ประเด็นกำรบริหำรงำน และโครงกำรสำธำรณสุขต่ำง ๆ
3. ประโยชน์ ท ี ่ จ ะได้ ร ั บ
  มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในกำรบริหำรงำนสำธำรณสุข ทีสำมำรถนำำไป
                                                   ่
ประยุกต์ได้กบงำนทุกระดับ ทังภำครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วน
             ั                 ้
กลำงและส่วนภูมิภำค
2




                           บทที ่ 2
กำรทบทวนเอกสำร ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
       “กำรบริหำร” (Administration) จะใช้ในกำรบริหำรระดับสูง โดย
เน้นที่กำรกำำหนดนโยบำยที่สำำคัญและกำรกำำหนดแผนของผู้บริหำร
ระดับสูง และ “กำรจัดกำร” (Management) จะเน้นกำรปฏิบัติกำรให้
เป็นไปตำมนโยบำย (แผนที่วำงไว้) ในกำรบริหำรทรัพยำกรและกิจกำร
งำนอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำำหนดไว้ขององค์กร
       กระบวนกำรบริหำรจัดกำร คือกลุ่มของกิจกรรม ประกอบด้วย กำร
วำงแผน (Planning) กำรจัดองค์กร (Organizing) กำรสั่งกำร
(Leading/ Directing) หรือกำรอำำนวย และกำรควบคุม (Controlling)
ซึ่งจะมีควำมสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยำกรขององค์กร ที่กำำหนดทิศทำง
ในกำรใช้ทรัพยำกรทั้งหลำยอย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล เพื่อ
ให้บรรลุถึงเป้ำหมำยขององค์กร

รูปที่ 1 หน้ำที่ของกำรบริหำรจัดกำร (The Four Functions
Management) แสดงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงหน้ำที่ต่ำงๆ ของกำร
บริหำร ที่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกันในรูปกระบวนกำร
3




                           Planning


      Controlli          Management              Organizi
                             Process

                            Leading




     ที่มำ : http://www.bloggang.com/mainblog.php?
id=lean-357

หน้ำที่ของกำรบริหำรประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐำน 4 ประกำรหรืออำจ
แบ่งในลักษณะที่เป็นขั้นตอนดังนี้
      1) กำรวำงแผน (Planning) เป็นสิงทีองค์กรต้องกำรเปลียนแปลงใน
                                    ่ ่                 ่
อนำคต กำรวำงแผนเป็นสะพำนเชือมระหว่ำงเหตุกำรณ์ปจจุบนและอนำคต
                              ่                    ั  ั
ซึงทำำได้โดยกำรให้บรรลุเป้ำหมำยผลลัพธ์ทตองกำร กำรวำงแผนจึงต้อง
  ่                                     ี่ ้
อำศัยกำรกำำหนดกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภำพ แม้ว่ำพื้นฐำนของกำรจัดกำร
โดยทั่วไปเป็นงำนของผู้บริหำรกำรวำงแผนเป็นสิ่งสำำคัญสำำหรับกำร
ปฏิบัติตำมกลยุทธ์ให้ประสบควำมสำำเร็จและกำรประเมินกลยุทธ์ เพรำะ
ว่ำ กำรจัดกำรองค์กร กำรจูงใจ กำรจัดบุคคลเข้ำทำำงำน และกิจกรรม
ควบคุม ขึนกับกำรวำงแผน กระบวนกำรวำงแผนจะต้องประกอบด้วยผู้
          ้
บริหำรและพนักงำนภำยในองค์กร กำรวำงแผนจะช่วยให้องค์กร
กำำหนดข้อดีจำกโอกำสภำยนอกและทำำให้เกิดผลกระทบจำกอุปสรรค
ภำยนอกตำ่ำสุด โดยต้องมองเหตุกำรณ์ในอดีตและปัจจุบันเพื่อคำดคะเน
เหตุกำรณ์ที่จะเกิดขั้นในอนำคต กำรวำงแผน ประกอบด้วย กำรพัฒนำ
ภำรกิจ (Mission) กำรคำดคะเนเหตุกำรณ์ปัจจุบัน เหตุกำรณ์อนำคต
และแนวโน้ม กำรกำำหนดวัตถุประสงค์ และกำรเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
4

      2) กำรจัดกำรองค์กำร (Organizing) กำรแบ่งงำน กำรจัดสำย
กำรบังคับบัญชำ กำรรวมหรือกำรกระจำยอำำนำจ อำำนำจหน้ำที่ หรือ
ควำมมีเอกภำพในกำรบังคับบัญชำที่ยึดถือปฏิบัติมำ โดยกำรกำำหนด
งำนและควำมสำำคัญของอำำนำจหน้ำที่ กำรจัดองค์กรที่ดีสำมำรถจูงใจผู้
บริหำรและพนักงำนให้มองเห็นควำมสำำคัญของควำมสำำเร็จขององค์กร
          • กำรกำำหนดลักษณะเฉพำะของงำน (Work Specialization)
              โดยกำรแบ่งงำนประกอบด้วยงำนที่กำำหนดออกมำเป็น
              แผนก กำรจัดแผนก
          • กำรมอบอำำนำจหน้ำที่ (Delegating Authority) กำรแยก
              งำนออกเป็นงำนย่อยตำมกำรพัฒนำรำยละเอียดของงำน
              (Job Description) และคุณสมบัติของงงำน (Job
              Specification) เครืองมือเหล่ำนีมควำมชัดเจนสำำหรับผูบริหำร
                                 ่           ้ ี                  ้
              และพนักงำน ซึงต้องกำรทรำบลักษณะของงำน
                             ่
          • กำรกำำหนดแผนกในโครงสร้ำงขององค์กร (Organization
              Structure) ขนำดของกำรควบคุม (Span of Control) และ
              สำยกำรบังคับบัญชำ (Chain of Command) รูปแบบทั่วไป
              ของกำรจัดแผนกคือ ตำมหน้ำที่ (Functional) ตำมฝ่ำย
              (Divisional) ตำมหน่วยธุรกิจเชิงกลยุทธ์ (Strategic business
              unit) และด้ำนแมททริกซ์ (Matrix)
      3) กำรนำำหรือกำรสั่งกำร (Leading/ Directing) เป็นกำรใช้
อิทธิพลเพื่อจูงใจพนักงำนให้ปฏิบัติงำนและนำำไปสู่ควำมสำำเร็จตำมเป้ำ
หมำยที่ระบุไว้ หรือเป็นกระบวนกำรจัดกำรให้สมำชิกในองค์กรทำำงำน
ร่วมกันได้ด้วยวิธีกำรต่ำงๆ กำรนำำหรือกำรสั่งกำรต้องใช้ควำมสำมำรถ
หลำยเรื่องควบคู่กันไป อำทิ ภำวะควำมเป็นผูนำำของผูบริหำร กำรจูงใจ
                                                 ้     ้
กำรติดต่อสือสำรในองค์กร และกำรทำำงำนเป็นทีม เป็นต้น หน้ำทีในกำรนำำ
            ่                                                  ่
หรือสั่งกำรนี้ มีควำมสำำคัญไม่น้อยไปกว่ำหน้ำที่อื่น เพรำะผู้บริหำรต้อง
แสดงบทบำทของผู้สั่งกำรอย่ำงมีคุณภำพ ถ้ำไม่เช่นนั้น แผนงำนที่วำง
ไว้ตลอดจนทรัพยำกรที่จัดเตรียมไว้อำจไม่เกิดประสิทธิผล ถ้ำผู้บริหำร
ดำำเนินกิจกรรมด้ำนกำรสั่งกำรไม่ดีพอ ดังนั้น กำรสั่งกำรจึงเป็นเรื่อง
ของควำมรู้ควำมชำำนำญ ประสบกำรณ์ และควำมสำมำรถที่จะชักจูงให้
พนักงำนร่วมกันปฏิบัติงำนไปตำมเป้ำหมำยที่กำำหนดไว้ให้องค์กร
ประสบควำมสำำเร็จตำมต้องกำร
      4) กำรควบคุม (Controlling) กำรใช้ทรัพยำกรต่ำงๆ ขององค์กร
ถือว่ำเป็นกระบวนกำรตรวจสอบ หรือติดตำมผลและประเมินกำรปฏิบัติ
งำนในกิจกรรมต่ำงๆ ของพนักงำน เพื่อรักษำให้องค์กรดำำเนินไปใน
ทิศทำงสู่เป้ำหมำยอย่ำงถูกต้องตำมวัตถุประสงค์หลักขององค์กร ใน
เวลำที่กำำหนดไว้ องค์กรหรือธุรกิจที่ประสบควำมล้มเหลวอำจเกิดจำก
กำรขำดกำรควบคุม หรือมีกำรควบคุมที่ไร้ประสิทธิภำพ และหลำยแห่ง
5

เกิดจำกควำมไม่ใส่ใจในเรื่องของกำรควบคุม ละเลยเพิกเฉย หรือใน
ทำงกลับกันคือมีกำรควบคุมมำกจนเกิดควำมผิดพลำดขององค์กรเอง
กำรควบคุมจึงเป็นหน้ำทีหลักทำงกำรบริหำรทีมควำมสำำคัญ ตังแต่เริมต้น
                      ่                 ่ ี           ้      ่
จนจบกระบวนกำรทำงกำรบริหำร


                            บทที ่ 3
กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุข กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข

ควำมเป็ น มำ
       กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เดิมเป็นกองโรคติดต่อ
สังกัดกรมสาธารณสุข
กระทรวงมหาดไทย ทำาหน้าที่ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ ต่อมาในปี
พ.ศ. 2485 ได้มีประกาศราชกฤษฎีกาสถาปนากรมสาธารณสุข ให้เป็นก
ระทรวงสาธารณสุข มีกรมในสังกัดรวม 7 กรม ซึ่งมีกรมที่เกี่ยวข้องกับ
งานโรคติดต่อ 2 กรม คือ กรมการแพทย์ และกรมสาธารณสุข (ภายหลัง
เปลี่ยนเป็นกรมอนามัย) กรมการแพทย์ จะรับผิดชอบกิจการของโรง
พยาบาล เช่น โรงพยาบาลโรคเรื้อนพระประแดง, โรงพยาบาลโรคเรือน    ้
ขอนแก่น, โรงพยาบาลโรคเรือนเชียงใหม่, โรงพยาบาลโรคเรือน
                             ้                         ้
นครศรีธรรมราช, นิคมโรคเรือนเชียงราย,โรงพยาบาลบางรัก, โรงพยาบาล
                         ้
วัณโรค, โรงพยาบาลบำาราศนราดูร ส่วนงานควบคุมโรคอื่น ๆ ยังอยู่ใน
ความรับผิดชอบของกรมควบคุมโรคติดต่อ กรมสาธารณสุข
       ในปี พ.ศ. 2495 ได้เปลียนชือ กรมสาธารณสุขเป็นกรมอนามัย และ
                               ่ ่
โอนกิจการของโรงพยาบาลเฉพาะโรคในสังกัดกรมอนามัย และยกฐานะ
หน่วยงานเฉพาะโรคให้เป็นกอง คือ กองควบคุมวัณโรค กองควบคุมโรค
เรือน ปรับปรุงขยายงานควบคุมไข้มาลาเรียและโรคเท้าช้าง เป็นกอง
   ้
ควบคุมมาลาเรียและโรคเท้าช้าง รวมงานควบคุมคุดทะราดกับกามโรคตั้ง
เป็นกองควบคุมกามโรคและคุดทะราด
       ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการรวมกรมการแพทย์และกรมอนามัยเข้า
ด้วยกันเป็นกรมการแพทย์และอนามัย งานควบคุมโรคติดต่อทั้งหมด จึง
ขึ้นกับกรมการแพทย์และอนามัย
       ในปี พ.ศ. 2517 ได้มการแยกกรมการแพทย์และกรมอนามัยออกจาก
                           ี
กันในครังนันได้มการรวมหน่วยงานควบคุมโรคติดต่อเข้าด้วยกันจัดตั้ง
         ้ ้    ี
เป็นกรมควบคุมโรคติดต่อ
       กรมควบคุมโรคติดต่อ แบ่งส่วนราชการเป็นกลุมงานทีปรึกษากอง
                                               ่     ่
6

วิชาการเกียวกับโรคติดต่อต่างๆ 7 กอง และหน่วยงานสนับสนุนการ
            ่
บริหารงานของกรมฯ 4 หน่วยงาน โรงพยาบาลเฉพาะโรค 4 แห่ง
นอกจากนันยังมีหน่วยงานทีตงอยูในส่วนภูมภาค ได้แก่ สำานักงานควบคุม
              ้             ่ ั้ ่        ิ
โรคติดต่อเขต 12 เขต และสำานักงานควบคุมโรคติดต่อนำาโดยแมลง 5
สำานักงาน
      ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีกำรออกกฎหมำยปฏิรูปรำชกำร ทำำให้กำร
แบ่งหน่วยงำนของกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย หน่วยงำนสนับสนุน
กำรบริหำรงำน 4 กอง กองวิชำกำรเกี่ยวกับโรคติดต่อต่ำงๆ 8 สำำนัก
และมีหน่วยงำนที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภำค ได้แก่ สำำนักงำนป้องกันควบคุม
โรค 12 เขต
      ปัจจุบันกรมควบคุมโรคมีหน่วยงำนที่ ก.พ. ให้ควำมเห็นชอบแต่ไม่
ปรำกฏในกฎกระทรวง ประกอบด้วย กองบริหำร 6 แห่ง สถำบัน 2
แห่ง สำำนักวิชำกำร 11 แห่ง และ สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรค 12
แห่ง ดังนี้
      - กองบริหำร 6 แห่ง : กองแผนงำน, กองคลัง, กองกำรเจ้ำ
         หน้ำที่, สำำนักงำนเลขำนุกำรกรม, กลุ่มตรวจสอบภำยใน และ
         กลุ่มพัฒนำระบบบริหำร
      - สถำบัน 2 แห่ง : สถำบันบำำรำศนรำดูร และสถำบันรำชประชำ
         สมำสัย
      - สำำนักวิชำกำร 11 แห่ง : สำำนักโรคติดต่อนำำโดยแมลง, สำำนัก
         โรคเอดส์และโรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์, สำำนักโรคจำกกำร
         ประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม, สำำนักวัณโรค, สำำนักโรคติดต่อ
         ทั่วไป, สำำนักงำนคณะกรรมกำรควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์,
         สำำนักโรคไม่ติดต่อ, สำำนักระบำดวิทยำ, สำำนักโรคติดต่ออุบัติ
         ใหม่, สำำนักงำนคณะกรรมกำรวัคซีนแห่งชำติ และสำำนักงำน
         เผยแพร่และประชำสัมพันธ์
      - สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง : สำำนักงำนป้องกัน
         ควบคุมโรคที่ 1-12
กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุข กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
1. การวางแผน (Planning)
     กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เป็นหนึ่งในหน่วยงาน
ราชการที่มีความสำาคัญต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้น
การเป็นผู้นำาด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้องกันและควบคุมโรคของ
ประเทศและระดับนานาชาติ
     วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชันนำาระดับระดับนานาชาติ ทีสงคมเชือถือ
                            ้                        ่ ั    ่
7

และไว้วางใจเพือป้องกันประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความ
              ่
เป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563
    พั น ธกิ จ
    1. วิจัยและพัฒนำองค์ควำมรู้เพื่อกำำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์
       พัฒนำคุณภำพมำตรฐำนทำงวิชำกำรและมำตรกำรดำำเนินงำน
       เฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ
    2. พัฒนำกำรบริหำรจัดกำรแลกเปลี่ยนวิชำกำรเชิงคุณภำพ และ
       เพิ่มประสิทธิภำพในกำรถ่ำยทอดมำตรฐำน มำตรกำร
       เทคโนโลยีกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ
    3. พัฒนำระบบฐำนข้อมูล ข่ำวกรองโรค กำรจัดกำรควำมรู้ และ
       กลไก ควำมร่วมมือ ควำมเข้มแข็งของเครือข่ำยเฝ้ำระวัง
       ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ เพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้
       ภำวะฉุกเฉินด้ำนสำธำรณสุข
    4. ประเมินสถำนกำรณ์โรค / ควำมเสี่ยงภัยสุขภำพเชิงรุก และ
       ประเมินผลกำรดำำเนินงำนตำมมำตรฐำน เป้ำหมำยกำรให้
       บริกำรรวมทั้งกำำกับคุณภำพ กลยุทธ์กำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน
       ควบคุมโรคและภัยสุขภำพที่มีลำำดับภำระโรคสูง
     ภารกิจ
     1.ศึกษา ค้นคว้า วิจยพัฒนาและกำาหนดมาตรฐานทางวิชาการและ
                         ั
       เทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนา
บุคลากรด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ
     2. เผยแพร่ความรูทางวิชาการด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยที่
                      ้
       คุกคามสุขภาพให้หน่วยงานทีเกียวข้อง
                                  ่ ่
และประชาชน
     3.ควบคุม กำากับ นิเทศ และประเมินผลด้านควบคุมโรค
     4.ให้บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ปวยเฉพาะโรค
                                      ่
     5.ประสานนโยบายและแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคาม
       สุขภาพ
     6.พัฒนาเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคตลอดจนการเฝ้าระวัง
       โรคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
องค์กรท้องถิน
            ่
     7. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับนานาประเทศหรือองค์กร
ระหว่างประเทศในการป้องกันควบคุมโรคและปัญหาสุขภาพระหว่าง
ประเทศ
ยุทธศาสตร์การดำาเนินงานแบบมุ่งเน้นผลงาน สู่วิสัยทัศน์
      1. การพัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม
ข้อมูลอ้างอิงและมาตรฐานวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ
8

ภัยสุขภาพของชาติที่ได้มาตรฐานสากล
      2. การพัฒนา และร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ
รวมทั้งสนับสนุนพื้นทีในการดำาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอย่างมี
                     ่
ประสิทธิภาพและยั่งยืน
      3. การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล
                                                  ่
เพื่อป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
      4. การเตรียมความพร้อมและดำาเนินการป้องกัน ควบคุมโรคและ
ภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ตามความ
ต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล
            5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวัง
ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล
      6. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดองค์การตามมาตรฐาน
สากล และโปร่งใสตรวจสอบได้
      กรมควบคุมโรคมีกำรวำงแผนงำนทีเป็นแผนยุทธศำสตร์ เพือก้ำวไป
                                        ่                   ่
สูอนำคตทีคำดหวังภำยใน 10 ปี นับเป็นแผนระยะยำว ซึงมีกำรกำำหนด
  ่       ่                                          ่
วิสยทัศน์ พันธกิจ เป็นสิงทีจะช่วยกำำหนดทิศทำงเดินในอนำคตทีชดเจนให้
    ั                   ่ ่                               ่ ั
กับองค์กำร มีกรอบกำรดำำเนินงำน แนวทำงปฏิบตงำนช่วยในกำร
                                                ั ิ
ควบคุมองค์กำรให้ดำำเนินกำรตำมแผนที่กำำหนดไว้ นอกจำกแผนระยะ
ยำวแล้วยังมีกำรวำงแผนระยะกลำง แผนปฏิบัติรำชกำร 4 ปี จะมีกำร
พิจำรณำว่ำจะปรับปรุงแผนทีวำงไว้ เพือให้สอดคล้องเหมำะสมกับ
                             ่       ่
สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อมทีเปลียนแปลงไปในปัจจุบัน และมีกำร
                                ่ ่
ประมำณกำรด้ำนงบประมำณ เพื่อให้แผนยุทธศำสตร์ดังกล่ำวสำมำรถ
ถ่ำยทอดสู่แผนปฏิบัติกำรแต่ละปี กำรวำงแผนระยะยำว ผู้บริหำรระดับ
สูงของกรมควบคุมโรค จะมีบทบำทสำำคัญที่จะกำำหนดเป้ำหมำยและ
ทิศทำงในระยะยำว ทีสอดคล้องกับนโยบำยระดับชำติ และระดับ
                      ่
กระทรวง ในขณะที่ผู้บริหำรระดับรองลงมำ ผูอำำนวยกำรสำำนักงำน
                                              ้
หรือกอง จะรับผิดชอบแผนระยะกลำง ที่จะต้องกำำหนดให้สอดคล้องกับ
แผนระยะยำว ผูบริหำรระดับต้นวำงแผนระยะสั้นให้สอดคล้องกับแผน
                ้
ของผู้บริหำรระดับกลำงอีกต่อหนึ่ง แผนในแต่ระดับจะต้องเกื้อหนุน
สอดคล้องกัน

2. การจัดการองค์การ (Organizing) โครงสร้างของกรมควบคุม
   โรค ประกอบด้วย กองบริหาร 6 แห่ง สถาบัน 2 แห่ง สำานัก
   วิชาการ 11 แห่ง และ สำานักงานป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง

การจัดการองค์การของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แบ่งตามแผนกงานได้ ดังนี้
     ١. การจัดแผนกงานตามหน้าที่ ได้แก่ กองแผนงาน กองคลัง กอง
9

การเจ้าหน้าที่ สำานักงานเลขานุการกรมกลุ่มตรวจสอบภายใน และกลุ่ม
พัฒนาระบบบริหาร
      ٢. การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (วิชาการ) ได้แก่ สำานักโรค
ติดต่อนำาโดยแมลง สำานักโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิงแวดล้อม สำานักวัณโรค สำานักโรค
                                     ่
ติดต่อทัวไป สำานักงานคณะกรรมการควบคุมเครืองดืมแอลกอฮอล์ สำานัก
          ่                                   ่ ่
โรคไม่ตดต่อ สำานักระบาดวิทยา สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำานักงานคณะ
        ิ
กรรมการวัคซีนแห่งชาติ และสำานักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
      ٣. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ ได้แก่ สำานักงานป้องกันควบคุม
      โรค 12 พื้นที่

3. การนำาและการสั่งการ
     กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีการนำาและสั่งการ โดย
กลไกการถ่ายทอด การสื่อสารภายในองค์การ โดยมีกรอบแนวคิดการ
ถ่ายทอด/ จัดทำาคำารับรองตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
        กรมควบคุ ม โรค                            หน่ ว ยงำน
         Department                         Bureau Scorecard :BuSC
        Scorecard :DSC                 เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของหน่วยงำน
  เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของกรม           - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจของสำำนัก / กองที่
  - นโยบำยระดับชำติ ระดับกระทรวง       สนับสนุนต่อเป้ำหมำยกำรให้บริกำรและตัวชี้วัด
  และระดับกรม                          ระดับกรม
  - พันธกิจ บทบำท หน้ำที่ตำมกฏ         - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจในงำนประจำำของ
  หมำย                                 สำำนัก / กอง



           บุ ค คล                                  กลุ ่ ม งำน
   Individual Scorecard :                    Sector Scorecard :SSC
                                       เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของกลุ่มงำน
            ISC
                                       - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจของกลุ่มงำน / ฝ่ำยที่
  เป้ำหมำยกำรให้บริกำรในระดับ
                                       สนับสนุนต่อเป้ำหมำยกำรให้บริกำรและตัวชี้วัด
  บุคคล
                                       ระดับผู้อำำนวยกำรกอง / สำำนัก
  - บทบำทหน้ำที่ของบุคคลที่
                                       - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจในงำนประจำำของ
  สนับสนุนต่อเป้ำประสงค์และตัวชี้วัด
                                       กลุ่มงำน
  ของหัวหน้ำกลุ่มงำน / ฝ่ำย
                                       - งำนที่ได้รับมอบหมำยเป็นพิเศษ
   - บทบำทหน้ำทีงำนของบุคคล
                 ่
10

       บริหำรทรัพยำกรบุคคลด้วยกรอบแนวคิดควำมสำมำรถเชิง
สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ Competency ที่เป็นแก่นหรือ
แกนหลักขององค์กำรซึ่งทุกคนในองค์กำรต้องมีคุณสมบัติที่เหมือนกันนี้
เพรำะควำมสำมำรถและคุณสมบัติประเภทนี้เป็นตัวกำำหนดหรือผลักดัน
ให้องค์กรบรรลุตำมวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) ที่วำงไว้
ได้ ตลอดจนยังเป็นตัวสะท้อนถึงค่ำนิยม (Values) ที่คนในองค์กรมีและ
ถือปฏิบัติร่วมกัน ได้แก่
       1. ภำวะผู้นำำ โดยกำรกำรนำำศักยภำพของตนเองออกมำเพื่อ
ผลักดันให้เกิดกิจกรรม ผลงำน ผลผลิต บริกำร ซึ่งเป็นที่ยอมรับ และได้
รับควำมร่วมมือจำกผู้เกี่ยวข้อง กำรจัดกำร กำรบริหำร หน่วยงำน และผู้
ใต้บังคับบัญชำ ในกำรปฏิบัติงำน รวมทั้งสนับสนุน กิจกรรมต่ำงๆ เพื่อ
ให้เกิดผลลัพธ์ ตำมเป้ำหมำยที่กำำหนด อย่ำงมีประสิทธิภำพมีควำมคิด
สร้ำงสรรค์ ที่ก่อให้เกิดกำรพัฒนำ หรือเปลี่ยนแปลงไปสู่ควำมสำำเร็จ
ขององค์กร
       2. กำรทำำงำนเป็นทีม สร้ำงควำมเป็นผู้นำำ ตัดสินใจเป็น วิเครำะห์
ปัญหำต่ำงๆ รวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง สำมำรถสื่อสำรควำมเข้ำใจกันได้
ประสำนงำนและจูงใจให้คนทำำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ
       3. กำรให้บริกำรเชิงคุณภำพ สำมำรถที่จะแสดงภำพพจน์ที่ดีใน
กำรให้บริกำร สร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับผู้บริกำร ประกันผลงำน และกำร
ให้บริกำรที่สำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำร และควำมคำดหวังของ
ผู้รับบริกำร โดยมีควำมเต็มใจที่จะให้บริกำรอย่ำงเต็มที่
       4. กำรพัฒนำตนเอง ควำมมุ่งมั่นและกระตือรือร้นในกำรพัฒนำ
ควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเองอย่ำงต่อเนื่อง โดยกำรศึกษำหำควำมรู้
จำกแหล่งต่ำงๆ เพื่อนำำควำมรู้มำประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่องำน
ต่อตนเอง และ ต่อองค์กร รวมถึงมีกำรกำำหนดเป้ำหมำยและทบทวนกับ
เป้ำหมำยที่ตั้งไว้ในกำรพัฒนำตนเองอยู่ตลอดเวลำ
       5. ความรับผิดชอบ การตระหนักในสิทธิหน้าที่ ความสำานึกใน
ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อตำาแหน่งหน้าทีราชการ และ ต่อหน่วยงาน
                                            ่
รวมถึงประชาชน การใส่ใจปัญหาของหน่วยงาน และ กระตือรือร้นในการ
แก้ไขปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และ ความ
กล้าที่จะยอมรับผลการกระทำาของตน
     ทั้งนี้ กรมควบคุมโรค ได้มีกำรพัฒนำสมรรถนะ ในฐำนะที่เป็นกรม
วิชำกำร เน้นกำรทำำหน้ำที่ด้ำนกำรเป็นที่ปรึกษำทำงวิชำกำร
(Technical advisor) เป็นผู้ประสำนสนับสนุน (Facilitator) ทำำให้กรม
ควบคุมโรคต้องพัฒนำควำมพร้อมด้ำนวิชำกำร และทักษะกำรเป็นผู้
ประสำนสนับสนุน ได้แก่
     1. กำรพัฒนำองค์ควำมรูใหม่ ๆ และระเบียบวิธกำรใหม่ของกรม
                            ้                 ี
         ควบคุมโรค และภัยคุกคำมในระดับลึก
11

ที่จะเป็นองค์กรกำรควบคุมโรคในระดับชำติ และระดับภูมิภำค
      2. พัฒนำผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรควบคุมโรคในระดับต่ำงๆ เช่น
          ระดับแพทย์ที่มีควำมรู้ด้ำนกำรแพทย์
พื้นฐำนที่สำมำรถเข้ำใจเรื่องธรรมชำติของโรคและระบำดวิทยำของ
โรคได้ดีให้ผ่ำนกำรอบรมหลักสูตรระบำดวิทยำ FETP หรือศึกษำลึก
ระดับปริญญำเอก รมทั้งพัฒนำนักวิชำกำรควบคุมโรคที่มีควำมชำำนำญ
ให้ได้ศึกษำต่อระดับปริญญำโท และระดับปริญญำเอก และพัฒนำ
ควำมก้ำวหน้ำในด้ำนวิชำชีพ เพื่อรักษำไว้ให้คงอยู่ในสำยงำนนี้ หรือ
แม้จะไปอยู่ที่ใดก็เป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่จะแก้ปัญหำกำรควบคุมโรคใน
ระยะยำว
      3. กำรพัฒนำสมรรถนะบุคลำกรในระดับปฏิบตกำร เช่นบุคลำกร
                                                ั ิ
          ของ CUP ทีตองเน้นให้นกวิชำกำร
                      ่ ้          ั
หัวหน้ำ CUP และสมำชิก CUP ทุกคนได้รับกำรอบรมเรื่องควำมรู้ และ
ทักษะกำรป้องกันควบคุมโรค รวมทั้งกำรเฝ้ำระวัง (SRRT) นอกจำกนี้
บุคลำกรอื่น เช่น ผู้เชี่ยวชำญเวชกรรมป้องกันของสำำนักงำน
สำธำรณสุขจังหวัดทุกคน ควรจะต้องเชิญเข้ำร่วมสัมมนำวิชำกำร
ควบคุมโรค ที่จดโดยกรมควบคุมโรค เพือรับรูวชำกำร แนวคิด หลักกำร
                ั                       ่   ้ ิ
และวิธกำร รวมทังวิทยำกำรก้ำวหน้ำในกำรควบคุมป้องกันโรค
        ี         ้
4. การควบคุมและการประเมินผล
การติดตามกำากับประเมินผลการดำาเนินงาน
     1. การประเมินผลแผนกลยุทธ์กรมควบคุมโรค
     2. การประเมินความคุ้มค่าภารกิจรัฐ
     3. การวิเคราะห์ผลสำาเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ
        (Performance Assessment Rating tool :
PART) และการจัดทำารายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบ
ประมาณ (สงป 301/ 302)
     4. การนิเทศ กำากับ ติดตามการดำาเนินงานตามตัวชี้วัดกรมควบคุม
        โรค/แผนงาน/ โครงการของ
หน่วยงานในสังกัดกรมฯ
     5. การรายงานผลดำาเนินงานตัวชี้วัดกรมฯ ตัวชี้วัดกระทรวง ฯ
การบริหารงบประมาณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
    ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค มีขั้นตอนการบริหารงบ
    ประมาณ ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้
    1. ก่อนดำาเนินการ (ระยะนำาเสนอแผนงาน/ โครงการ)
       1.1 ประเมินความสอดคล้องของแผนงาน/ โครงการกับ
    เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ภาพรวม
       1.2 ทบทวนการตอบสนองของแผนงาน/ โครงการต่อสัมฤทธิ
12

      ผลของการปฏิบัติการ                          2. ระหว่าง
      ดำาเนินการ (ระยะปฏิบัติการแผนงาน/ โครงการ)
         2.1 ติดตามกระบวนการดำาเนินงานและผลผลิตที่ได้จากการ
      ดำาเนินการแต่ละระยะของกิจกรรม        2.2 ประเมินผลผลิตที่มี
      ผลต่อการตอบสนองต่อเป้าหมายการให้บริการและกลยุทธ์ใน
      ภาพรวม
      3. หลังดำาเนินการ (ระยะหลังการดำาเนินการแผนงาน/ โครงการ)
         3.1 ประเมินผล ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก
การดำาเนินของโครงการ                       3.2 ประเมินผลการ
ดำาเนินการได้ตามเป้าหมายการให้บริการและกลยุทธ์หรือไม่ และต้อง
ปรับกระบวนการอย่างไรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อเป้าหมายการให้
บริการ




                              บทที่ 4
บทสรุ ป

กำรวิ เ ครำะห์ อ งค์ ก ำรและประเด็ น ปั ญ หำกำรดำ ำ เนิ น งำนในเชิ ง
กระบวนกำรบริ ห ำรจั ด กำรของกรมควบคุ ม โรค
        ١. ด้ ำ นโครงสร้ ำ ง
               กรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข จัดว่ำเป็นองค์กำร
ใหญ่ขนำดหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษขององค์กำร คือมีอำำนำจหน้ำทีลด่
หลันตำมลำำดับชันบังคับบัญชำ มีนโยบำย อำำนำจหน้ำที่ ระเบียบ มำตรฐำน
   ่                 ้
ข้อบังคับทีชวยให้กำรปฏิบตงำนสำมำรถเป็นไปตำมแผนทีวำงไว้และเทคนิค
           ่ ่            ั ิ                       ่
กำรสือสำรทีมรปแบบ มีกำรแบ่งงำนกันทำำตำมควำมถนัดโดยรวบรวม
      ่        ่ ี ู
บุคคลที่มีทักษะกำรปฏิบัติที่เฉพำะเจำะจง ซึ่งเป็นลักษณะขององค์กรที่
13

ช่วยให้กำรปฏิบัติงำนมีประสิทธิภำพ โดยมีแนวทำงกำรดำำเนินงำนตำม
อำำนำจหน้ำที่รับผิดชอบและสอดรับกับนโยบำยของรัฐบำล โดยมีกำร
แบ่งโครงสร้ำงและกำรจัดองค์กำรแนวรำบ (Flat Structure) พิจำรณำ
ถึงวัตถุประสงค์และกิจกรรมขององค์กร แยกเป็นกลุ่มงำน กอง และ
สำำนัก รวมทั้งมีหน่วยงำนสนับสนุน มีกำรแยกและกระจำยงำนจำก
กลุ่มใหญ่ไปสู่งำนย่อยที่มีลักษณะเฉพำะเจำะจง ได้แก่ สำำนักโรคเอดส์
สำำนักวัณโรค และแยกกระจำยควำมรับผิดชอบและกำรปฏิบัติงำน เพือ     ่
ให้ถกต้องตำมระเบียบฯ และลดปัญหำควำมเสียงในกำรปฏิบตงำน ทังนี้ ทุก
     ู                                  ่            ั ิ    ้
หน่วยงำนมีควำมเป็นเอกภำพขึ้นตรงต่อกรมควบคุมโรคโดยตรง ซึง      ่
ทำำให้งำยต่อกำรควบคุมหรือกำำหนดพฤติกรรมของบุคคล มีระเบียบ
       ่
แบบแผนในกำรบริหำรจัดกำรที่ชัดเจน แต่ควำมเป็นทำงกำรนั้นมีขั้น
ตอนมำก ไม่คล่องตัว และกำรที่องค์กำรได้แบ่งให้มีหน่วยงำนย่อย
เฉพำะกับโรคต่ำง ๆ ที่มีกำรระบำดในช่วงเวลำต่ำงๆ กับหน่วยงำนเดิมที่
มีกำรดำำเนินกำรอยู่แล้ว ก่อให้เกิดปัญหำกำรทำำงำนซำ้ำซ้อนกันหรือ
ลักษณะกำรทำำงำนใกล้เคียงกัน
        ٢. ด้ ำ นอั ต รำกำ ำ ลั ง และทรั พ ยำกรบุ ค คล
            ٢.١ เมือพิจำรณำอัตรำกำำลังเจ้ำหน้ำทีกบภำรกิจหน้ำทีรบผิดชอบ
                   ่                              ่ ั         ่ ั
พบว่ำสำำนักโรคติดต่อนำำโดยแมลงมีอัตรำกำำลังค่อนข้ำงน้อย เนื่องจำก
ต้องร่วมสนับสนุนกำรดำำเนินงำนและปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่น และ
กำรควบคุมโรคติดต่อนำำโดยแมลงเป็นงำนที่ควบคุมได้ค่อนข้ำงยำก
ทำำให้เกิดกำรแพร่ระบำดได้เร็วและกำรป้องกันโรคที่ดีควรปฏิบัติงำน
เชิงรุก จำำเป็นต้องจัดสรรทรัพยำกรให้เพียงพอต่อกำรปฏิบัติงำนในกำร
ป้องกันก่อนกำรระบำดของโรค
          ٢.٢ สำำหรับกลุมตรวจสอบภำยในและกลุมพัฒนำระบบบริหำรค่อน
                         ่                          ่
ข้ำงเป็นหัวใจสำำคัญของกำรปฏิบตงำนของกรมควบคุมโรค โดยกลุมตรวจ
                                   ั ิ                            ่
สอบภำยในมีหน้ำทีควบคุมและบริหำรกำรปฏิบตงำนให้เป็นไปตำมระเบียบฯ
                     ่                        ั ิ
ป้องกันปัญหำควำมเสียงจำกกระบวนกำรบริหำรจัดกำรและกลุมพัฒนำระบบ
                       ่                                  ่
บริหำร ซึงเป็นเรืองของกำรวำงแผน กำรพัฒนำระบบงำนซึงเป็นเรืองที่
          ่      ่                                      ่           ่
จำำเป็นต้องมีควำมรวดเร็ว ทันต่อสถำนกำรณ์ เนืองจำกส่วนหนึงเป็นกลุ่ม
                                                      ่         ่
ที่ตองมีกำรตัดสินใจประกอบกำรพิจำรณำกำรดำำเนินงำนสำำหรับผู้
    ้
บริหำร
          2.3 กำรกระจำยศูนย์พัฒนำบุคลำกรควบคุมโรคไปทุก
ภูมิภำค ไม่รวมศูนย์อยู่แต่ในกรมควบคุมโรค หรือสำำนักฯ ในส่วนกลำง
แต่ควรใช้สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรคเขตต่ำง ๆ เป็นแกนหลัก เพื่อให้
ภูมิภำคมีควำมเข้มแข็งในกำรควบคุมป้องกันโรคทั้งด้ำนวิชำกำรและ
ประสบกำรณ์ และเป็นแหล่งประโยชน์ แก่พื้นที่ในระดับจังหวัด และเขต
และครอบคลุมทั่วประเทศ เป็นกำรพัฒนำทั้งคน โครงสร้ำงและทีมงำน
โดยให้ภูมิภำคเป็นเครือข่ำย
14

       ٣. ด้ ำ นนโยบำย อำ ำ นำจหน้ ำ ที ่ วิ ส ั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ กำร
ประเมิ น ผล
              กรมควบคุมโรคมีนโยบายและอำานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ชัดเจน
โดยเริ่มตั้งแต่นโยบายที่เป็นตัวกำาหนดทิศทางขอบเขตของงานและมี
วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องมา จนถึงยุทธศาสตร์ของการปฏิบัติ นำา
มาซึ่งการบรรลุวัตถุประสงค์ของกรมควบคุมโรคได้ โดยผ่านหน่วยงาน
ทีมีส่วนขับเคลื่อนในการนำานโยบาย วิสยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
   ่                                    ั
ต่างๆ ถ่ายทอดไปสู่สำานักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ซึ่งเป็นหน่วย
งานในระดับภูมิภาค อย่างไรก็ตามภาระงานในกรมควบคุมโรคส่วนใหญ่
เป็นการดำาเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน ส่งผลให้หน่วยปฏิบัติภายใต้
สังกัดกรมฯ ยังใช้รูปแบบกระบวนการทำางานแบบเดิมตามโครงสร้าง
ขององค์การ การกำาหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target) แยกส่วนกันในแต่ละ
หน่วยปฏิบัติอย่างชัดเจน ไม่มีการบูรณาการภารกิจของหน่วย ปฏิบัติให้
สนับสนุนซึ่งกันและกัน ให้ตอบสนองยุทธศาสตร์ภาพรวมของกรมฯ ซึ่ง
การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ แม้จะใช้กระบวนการมีส่วน
ร่วมในการจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ระดับกรมฯ โดยมีผแทนจากหน่วยปฏิบติ
                                                      ู้                ั
เข้าร่วมกระบวนการโดยตลอดเพือสร้างความเข้าใจในการจัดทำาแผนฯ
                                ่
ตั้งแต่เริ่มต้น พร้อมทังมีการประชุมเจ้าหน้าทีที่รับผิดชอบจัดทำาแผน
                       ้                     ่
ของหน่วยปฏิบัติเพื่อชี้แจงถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัด แต่ยังมีปัญหา
ในการนำาไปถ่ายทอดสู่ผู้บริหารของหน่วยปฏิบัติและผู้จัดทำาโครงการ
ส่งผลให้แผนของหน่วยปฏิบัติไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมฯ
      ٤. ด้ ำ นกระบวนกำรจั ด กำร
      ในกำรปฏิบัติงำนของกรมควบคุมโรคเพื่อพิจำรณำเกี่ยวกับด้ำน
องค์กำรหรือระบบย่อยขององค์กำรตำมที่ได้สรุปมำก่อนหน้ำนี้แล้ว
องค์กำรและกำรจัดกำรมีควำมสัมพันธ์กัน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์คือกำร
บรรลุวตถุประสงค์ขององค์กำรว่ำมีกระบวนกำรบริหำรจัดกำรเข้ำมำเกียวข้อง
       ั                                                     ่
โดยกระบวนกำรจัดกำรจะมีควำมหมำย              ถึงขั้นตอนของกำร
จัดกำรซึ่งจะเริ่มตั้งแต่กำรวำงแผน กำรจัดองค์กำร กำรบังคับบัญชำ
กำรประสำนงำนและกำรควบคุมงำน โดยกำรวำงแผนจะเป็นกำรหำ
หนทำงที่จะบรรลุตำมเป้ำหมำยขององค์กำรตำมแผนที่กำำหนด ส่วนกำร
จัดองค์กำร คือ กำรนำำทรัพยำกรที่เกี่ยวกับคนมำบริหำรให้แผนบรรลุ
วัตถุประสงค์ กำรบังคับบัญชำ คือ กำรสั่งงำนให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติ กำร
ประสำนงำน คือ กำรนำำเอำทรัพยำกรต่ำงๆ และกิจกรรมต่ำงๆ ของ
องค์กำรให้มีควำมสอดคล้องกลมกลืนต่อกำรบริหำรให้บรรลุเป้ำหมำย
และกำรควบคุมงำน คือ กำรตรวจสอบติดตำมแผนเพื่อให้แน่ใจว่ำได้มี
กำรนำำไปปฏิบัติ
15

      เมื่อพิจำรณำถึงกำรวำงแผนและกำรบริหำรจัดกำร ตลอดจน
แนวทำงของกรมควบคุมโรค ซึ่งได้มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และมีกำรใช้
กลยุทธ์ในกำรปฏิบัติงำนอย่ำงชัดเจนในกำรนำำมำซึ่งกำรบรรลุพันธกิจ
และวิสัยทัศน์ของกรมควบคุมโรค และในขณะเดียวกันกรมควบคุม
โรคจะมีปัญหำเกี่ยวกับกำรดำำเนินงำน       ตำมเป้ำหมำยหรือตัวชี้วัดซึ่ง
เป็นตัวประเมินผลควำมสำำเร็จของกรมควบคุมโรคว่ำได้ทำำงำนบรรลุ
ตำมวิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้กำำหนดไว้หรือไม่ เนื่องจำกข้อมูลที่ได้
ศึกษำจำกตัวชี้วัดต่ำงๆ ของกรมควบคุมโรคซึ่งแสดงถึงควำมก้ำวหน้ำ
ในกำรดำำเนินงำน โดยส่วนหนึ่งต้องรอข้อมูลจำกสำำนักงำนป้องกัน
ควบคุมโรค (สคร.) ทำำให้ผลกำรดำำเนินงำนค่อนข้ำงล่ำช้ำ กรมควบคุม
โรคควรมีนโยบำยหรือมำตรกำรในกำรตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขและ
ให้กำรสนับสนุนหน่วยงำนย่อยเหล่ำนี้ ตลอดจนกำรจัดสรรงบประมำณ
สนับสนุนทรัพยำกรต่ำง ๆ ให้เพียงพอ และพัฒนำช่องทำงกำรรำยงำน
ข้อมูล ระหว่ำงหน่วยงำนทีเกียวข้อง พัฒนำเครือข่ำยกำรปฏิบัติงำนให้
                         ่ ่
ครอบคลุม ตลอดจนกำำหนดตัวชี้วัดที่จะถ่ำยทอดไปสู่สำำนักงำนป้องกัน
ควบคุมโรค (สคร.) ที่ชัดเจน รวดเร็ว เพื่อให้หน่วยงำนระดับล่ำง
สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ทันต่อสถำนกำรณ์
        สรุ ป
        จำกกำรศึกษำกำรบริหำรของกรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข
พบว่ำ กรมควบคุมโรคใช้หลักกำรบริหำรจัดกำรที่หน่วยงำนอื่น สำมำรถ
นำำมำประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบัติงำนได้หลำยประเด็น และเพื่อให้กำร
พัฒนำงำนของกรมควบคุมโรคมีประสิทธิภำพยิงขึน กรมควบคุมโรคควรมี
                                              ่ ้
กำรวำงแผนงำนในส่วนทีเกียวข้องเพือให้ได้ทศทำง นโยบำย และกำำหนด
                        ่ ่         ่       ิ
ตัวชีวดทีชดเจน โดยพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำยในให้เพียงพอ
     ้ ั ่ ั
และมีประสิทธิภำพ สำมำรถรวบรวมผลกำรปฏิบัติงำน กำรให้กำร
สนับสนุนกำรปฏิบัติงำนหน่วยงำนสนับสนุนได้ กำรมีระบบข้อมูล
ข่ำวสำรสำรสนเทศที่มีประสิทธิภำพจะช่วยให้เกิดกำรปฏิบัติและประสำน
งำนระหว่ำงส่วนรำชกำรย่อยได้ดี นอกจำกนี้ ควรจัดทำำระบบกำรควบคุม
นิเทศงำนทีมีประสิทธิภำพ
             ่                 เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนของ
ระดับล่ำง ทังนี้ ในกำรบริหำรงำนให้เกิดผลสำำเร็จได้นนควรใช้หลักกำร
               ้                                      ั้
ประยุกต์แบบผสมผสำน เพือให้เกิดกำรพัฒนำและควำมยืดหยุ่น
                            ่
สำมำรถนำำไปใช้ได้เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ต่อไป
16

                         ภาคผนวก

รูปภาพที่ 1 ผังโครงสร้างองค์การ กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข




ตารางที่ ١ ข้อมูลบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
17
                                                            พนั ก งำน
   รำยกำรข้ อ มู ล        ข้ ำ รำชกำร ลู ก จ้ ำ งประจำ ำ     รำชกำร             รวม
                         จำ ำ นว ร้ อ ย                  จำ ำ นว          จำ ำ นว
    บุ ค ลำกร               น      ละ จำ ำ นวน ร้ อ ยละ     น ร้ อ ยละ       น ร้ อ ยละ
สำยงำนหลัก               2,262 78.43 1,735 69.23          301 62.71       4,298 73.22
สำยงำนสนับสนุน            622 21.57 771           30.77   179 37.29       1,572 26.78
                                 100.0                            100.0           100.0
         รวม             2,884      0   2,506 100.00 480            0     5,870     0
ระดั บ กำรศึ ก ษำ
     ตำ่ำกว่ำปริญญำ                  19.
ตรี                       569        73 2,305 91.98       132 27.50       3,006 51.21
                                     50.
       ปริญญำตรี         1,452       35 198       7.90    319 66.46       1,969 33.54
                                     24.
       ปริญญำโท           707        51    3      0.12      29     6.04    739   12.59
                                     5.4
       ปริญญำเอก          156         1    0      0.00       0     0.00    156   2.66
                                 100.0                            100.0         100.0
            รวม          2,884      0    2,506 100.00 480           0     5,870   0
                                                            พนั ก งำน
  ประเภท/ระดั บ           ข้ ำ รำชกำร ลู ก จ้ ำ งประจำ ำ     รำชกำร             รวม
                         จำ ำ นว ร้ อ ย                  จำ ำ นว          จำ ำ นว
                            น      ละ จำ ำ นวน ร้ อ ยละ     น ร้ อ ยละ       น ร้ อ ยละ
ทั ่ ว ไป
                                   3.4
    ปฏิบัติงำน (O1)        99       3
    ชำำนำญงำน                      31.
(O2)                      910      55
                                   1.2
      อำวุโส (O3)          37       8
วิ ช ำกำร
                                   10.
       ปฏิบัติกำร (K1)    309      71
       ชำำนำญกำร                   36.
(K2)                     1,040     06
     ชำำนำญกำร                     13.
พิเศษ (K3)                393      63
                                   1.9
       เชี่ยวชำญ (K4)      57       8
                                   0.4
      ทรงคุณวุฒิ (K5)      12       2
อำ ำ นวยกำร
                                   0.1
       ต้น (M1)            4        4
                                   0.6
       สูง (M2)            18       2
18
 บริ ห ำร
      ต้น (S1)        4        0.1
                                4
                               0.0
     สูง (S2)           1       3
                            100.0
            รวม       2,884   0    2,506   -    480      -              -
 อำยุ ต ั ว เฉลี ่ ย  46 ปี   -    49 ปี   -    32 ปี    -    -         -
 อำยุ ร ำชกำรเฉลี ่ ย 21 ปี   -    23 ปี   -     3 ปี    -    -         -

ที่มำ : ฝ่ำยข้อมูลกำรบริหำรงำนบุคคล กรมควบคุมโรค กระทรวง
สำธำรณสุข http://person.ddc.moph.go.th/organize/dat_new/ht
ml/index.html

ตารางที่ 2 แสดงอัตรากำาลังข้าราชการ, พนักงานราชการและลูกจ้าง
ประจำา (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 53)
ลำาดับที่                     กลุ่ม/ ฝ่าย                    อัตรากำาลัง
   1      กรมควบคุมโรค                                           11
             - สำานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก
             - สำานักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
             - สำานักจัดการความรู้
             - สำานักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ
             - สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
             - สำานักวัณโรค
             - สำานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
          แอลกอฮอล์
             - สำานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
             - ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
          ฯ (PHER)
             - ศูนย์อำานวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่ง
          ชาติ
             - ศูนย์สารสนเทศ
   2      กลุ่มตรวจสอบภายใน                                        9
   3      กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร                                     5
   4      กองคลัง                                                  48
   5      กองแผนงาน                                                42
   6      กองการเจ้าหน้าที่                                        50
   7      สถาบันบำาราศนราดูร                                      332
   8      สถาบันราชประชาสมาสัย                                    246
   9      สำานักงานเลขานุการกรม                                    28
19

   10    สำานักโรคติดต่อทั่วไป                                147
   11    สำานักโรคไม่ติดต่อ                                    70
   12    สำานักโรคติดต่อนำาโดยแมลง                             78
         สำานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศ
   13    สัมพันธ์                                             236
   14    สำานักระบาดวิทยา                                      89
   15    สำานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม              81
   16    สำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12                   1,804
                               รวม                           3,276
ที่มำ : กลุ่มงำนพัฒนำระบบงำนและอัตรำกำำลัง กองกำรเจ้ำหน้ำที่ กรมควบคุม
โรค
แ ภิมแ
                       ผนู สดงคว ื ่ อมโ ิ สยท ์ พน ิ จ เปำป สงค กลยท์ธ ผลผลต แ งำน ครงกำ
                                ำมเช ยงวั ั ศน ั ธก ้ ระ ์         ุ       ิ ผน /โ
                                            สำน ปองกน บคมโ ี ่ 1 กรงเท
                                             ำ ั กงำน้ ั คว ุ รคท ุ พฯ 20
วิสั ทั น์
   ยศ                               มุง นพั นาศักย าพ ค์กรระดับเข ล วามเข้ ข็ข ภ
                                      ่ มั่ ฒ     ภ อง           ตแ ะค    มแ ง อง าคีเครือข่ยในด้านการเฝ้
                                                                                           า            าร
                                                             แ ะภั สุ ภ ให้ ปต
                                                               ล ย ข าพ เป็นไ ามมาตรฐ ปี2 5
                                                                                         าน 5 4
                                               บรรณานุกรม
 พั ธกิ
  น จ              1 ศึ ษา จัย ฒ า ค์
                    . ก วิ พั น อง          2 า ท อง ค ม แล
                                             .ถ่ ย อด ค์ วา รู้ ะ 3 เฝ้ ระวังป้ ง น
                                                                   . า        อ กั  4 ฒ า า อบต้
                                                                                     .พั น ก รต โ
                   ค ม แ ะเท โ โ ยี า า
                    วา รู้ ล คนล ก รเฝ้     เท โ โ ยี า ก รเฝ้
                                              คนล ด้ น า า        ค คุ โ แ ะภั
                                                                   วบ มรค ล ย       ภ วะฉุ เฉิ ท ง
                                                                                      า ก นา
             บุญใจ ระวังป้องกันค นรากูละ ระวังป้องกัน วบ มโ ำาและกลยุทธ์การจัดการธารณ ข( H )
                         ศรีสถิต คุมโ แร.(2550).ภาวะผู้น
                                วบ รค                 ค คุ รค     สุ ภ พ
                                                                   ขา               ส า     สุ P ER
             องค์การพยาบาล.กรุงเทพฯและภั สุข าพพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์
                   ภั สุ ภ พ
                    ยขา                          ย ภ
                                              : โรงพิม
             มหาวิทยาลัย.
                                                                                                                      2 ห วย า
                                                                                                                       . น่ ง
  าป พยอม
เป้ ระสงค์        วงศ์สารศรี.(2542).องค์การและการจัภ พ การเฝ้ ระวังป้องกัน
                                                                ดการ.กรุงเทพฯ
                       1 น่ ง น ล รือข่ ย ก า ระบ ข่ วก แล ก า ใน
                        .ห วย า แ ะเค า ลู ค้ มี บ า รอง ะศั ย             า                                             โ ไม
                                                                                                                         รค ต
       :สำานักพิมพ์สุภา.ค คุมโ และภั สุข าพรวมทั้ เต ยมพ มต บโ ภ วะฉุก นด้ น าธารณ ข
                         วบ รค ย ภ              ง รี ร้อ อ ต้ า       เฉิ า ส     สุ                                      แ ะส
                                                                                                                           ล
                                                                                                                             ล
        วิทยา          ด่านธำารงกูล.(2546).การบริหาร.กรุงเทพฯ :บริษท เธิร์ด                     ั
                  1.พั นาแ ะส่ ริม
                     ฒ ล งเส งานวิจัย ล  แะ        2. พั นาระบบบริหาร
                                                        ฒ
ก ยุ ธ์ เวฟ เอ็ดดูเดองค์ความจำด้านการเฝ้าระวัง
  ลท            ถ่ ท คชั่น รู้ ากัด.
                 าย อ                                จัด ารแ งเน้น
                                                        ก บบมุ่             3.พั นาศั ย เค อ าย ารจัด าร
                                                                                ฒ ก ภาพ รื ข่ ในก ก
                                                                        ระบบก าระวังป้อ นค มรค ล สุ ภาพ
                                                                              ารเฝ้      งกั วบคุ โ แ ะภัย ข               การ
                 ป้อ น ค ม รค ล สุ ภาพ
                    งกั วบคุ โ แ ะภัย ข                  ผ สั ฤท ์
                                                          ล ม ธิ
        สมยศ           นาวีการ.(2547).การบริหาร:การพัฒนาองค์การและ
        การจูง. องค์ความรูและเท : สำานักพิมพ์บารจัดการ จ.
               1ใจ. กรุงเทพฯ ้      คโนโลยี 2 น่วยงานบริห
                                               .ห
                                                               รรณกิ
ผผล ลิต                                                                    4 น่วยงานและเครือข่ายเป้าห
                                                                            .ห                         มายได้รับการ      3 นว
                                                                                                                          .ห
                ด้านการเฝ้ าระวังป้องกัน    เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค หำรจัดกำร. [ออนไลน์].
        Bloggang. (2550). ควำมหมำยของกำรบริ ในการจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
                ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
                                                                          สนับสนุนเสริมสร้างศักยภาพ และความเข้มแข็ง     และปร
                                                และภัยสุขภาพ   อย่างมี
        สืบค้นจำกที่   :
                       ได้มาตรฐ าน                 ประสิท ภาพ
                                                           ธิ              ภัยสุขภาพรวมทั้ งบริการเฉพ มีคุณ
                                                                                                     าะที่ ภาพ
              http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357 (6
        กันยำยน 2553) วิจัย
                 1 ศึกษ ค้นคว้า
                  .1 า                          2 พั นาคุณ
                                                 .1 ฒ          ภาพ            4 พั นาประสิท ภาพ
                                                                               .1 ฒ          ธิ ระบบเฝ้  าระวัง
                                                                                                                           3ถ
                                                                                                                            .1
แ นา
 ผ ง น/             พั นาวิชาการเพื่
                     ฒ              อ               การบริห  าร              ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ ระบบ
                                                                                                      (
                                                                                                      5     )
        www. ddc.moph.go.th จัดการองค์กร                                                    P5                           ป้องก
โ รง า
 ค กร             ปรับปรุงประสิท ภาพ
                                 ธิ
                     และถ่ายท  อดองค์ความรู้          P7                     4 บริการสนับสนุนและพั นาเครือข่าย
                                                                              .2                     ฒ
                       เทคโนโลยีด้านการ                                   การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
                   เฝ้
                     าระวัง ป้องกันควบคุมโรค                                                 P6                         3 เส
                                                                                                                         .2
                       และภัยสุขภาพ  P3                                                                                   พ ฤต
                                                                          4 พั นาระบบบริห ดการและการเตรียมพ
                                                                           .4 ฒ           ารจั              ร้อม
                                                                            ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธ สุข ER)
                                                                                                   ารณ (
                                                                                                       PH
                                                                                             P2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคปุ๊โก๊ะ โก๊ะ
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบายDr.Choen Krainara
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาJack Hades Sense
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 

Destacado

การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...นายจักราวุธ คำทวี
 
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 

Destacado (8)

การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
 
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 

Similar a ตัวอย่างงานบริหาร

The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกTheeraphisith Candasaro
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...ssuserbaf627
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการThamonwan Theerabunchorn
 

Similar a ตัวอย่างงานบริหาร (20)

Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการ
 

Más de Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 

Más de Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 

ตัวอย่างงานบริหาร

  • 1. บทที ่ 1 บทนำ ำ 1. ที ่ ม ำและควำมสำ ำ คั ญ กรมควบคุมโรค คือหนึงในหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข ทีรบ ่ ่ั นโยบายรัฐบาลไปสูการปฏิบติ โดยมีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการ ่ ั เพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ โดยมีการศึกษา วิจย ั พัฒนา รวมทังการถ่ายทอดองค์ความรูและเทคโนโลยีเพือการเฝ้าระวัง ้ ้ ่ ป้องกัน ควบคุม วินจฉัย และรักษาโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ ด้วย ิ ภารกิจหน้าที่ ตลอดจนการปฏิบัติตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เพื่อ นำาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน กรมควบคุมโรคจึงได้กำาหนด นโยบายในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนกำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ต่างๆ โดยจะนำามาซึงการบรรลุเป้าหมายตามน ่ โยบายของกรมควบคุมโรค และสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่ กำาหนดไว้ ด้วยภารกิจหลักหรือกระบวนการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว ประกอบกับเพือศึกษาแนวทางในการบริหารงาน ่ สาธารณสุขทีเกียวข้อง คณะผูจดทำา จึงได้เลือกกรมควบคุมโรคเป็น ่ ่ ้ ั องค์กรศึกษาโดยคาดหวังว่าจะสามารถนำาหลักทฤษฎี และการบริหาร จัดการที่เป็นประโยชน์ นำามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ปรับปรุง กระบวนการทำางานที่รบผิดชอบ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป ั 2. วั ต ถุ ป ระสงค์ 2.1 เพื่อสำมำรถอธิบำยคุณค่ำ ควำมสำำคัญ และกระบวนกำร บริหำรได้ 2.2 เพือสำมำรถอธิบำยและวิเครำะห์กระบวนกำรบริหำรในระบบ ่ สำธำรณสุขได้ ในเทอมของกำรวำงแผน กำรจัดองค์กำร กำรอำำนวย กำร กำรนิเทศงำน กำรควบคุมกำำกับงำน และกำรประเมินผล 2.3 เพือสำมำรถจำำแนกปัจจัยทีมผลต่อกำรบริหำรงำนสำธำรณสุข ใน ่ ่ ี ประเด็นกำรบริหำรงำน และโครงกำรสำธำรณสุขต่ำง ๆ 3. ประโยชน์ ท ี ่ จ ะได้ ร ั บ มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในกำรบริหำรงำนสำธำรณสุข ทีสำมำรถนำำไป ่ ประยุกต์ได้กบงำนทุกระดับ ทังภำครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วน ั ้ กลำงและส่วนภูมิภำค
  • 2. 2 บทที ่ 2 กำรทบทวนเอกสำร ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง “กำรบริหำร” (Administration) จะใช้ในกำรบริหำรระดับสูง โดย เน้นที่กำรกำำหนดนโยบำยที่สำำคัญและกำรกำำหนดแผนของผู้บริหำร ระดับสูง และ “กำรจัดกำร” (Management) จะเน้นกำรปฏิบัติกำรให้ เป็นไปตำมนโยบำย (แผนที่วำงไว้) ในกำรบริหำรทรัพยำกรและกิจกำร งำนอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำำหนดไว้ขององค์กร กระบวนกำรบริหำรจัดกำร คือกลุ่มของกิจกรรม ประกอบด้วย กำร วำงแผน (Planning) กำรจัดองค์กร (Organizing) กำรสั่งกำร (Leading/ Directing) หรือกำรอำำนวย และกำรควบคุม (Controlling) ซึ่งจะมีควำมสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยำกรขององค์กร ที่กำำหนดทิศทำง ในกำรใช้ทรัพยำกรทั้งหลำยอย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล เพื่อ ให้บรรลุถึงเป้ำหมำยขององค์กร รูปที่ 1 หน้ำที่ของกำรบริหำรจัดกำร (The Four Functions Management) แสดงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงหน้ำที่ต่ำงๆ ของกำร บริหำร ที่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกันในรูปกระบวนกำร
  • 3. 3 Planning Controlli Management Organizi Process Leading ที่มำ : http://www.bloggang.com/mainblog.php? id=lean-357 หน้ำที่ของกำรบริหำรประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐำน 4 ประกำรหรืออำจ แบ่งในลักษณะที่เป็นขั้นตอนดังนี้ 1) กำรวำงแผน (Planning) เป็นสิงทีองค์กรต้องกำรเปลียนแปลงใน ่ ่ ่ อนำคต กำรวำงแผนเป็นสะพำนเชือมระหว่ำงเหตุกำรณ์ปจจุบนและอนำคต ่ ั ั ซึงทำำได้โดยกำรให้บรรลุเป้ำหมำยผลลัพธ์ทตองกำร กำรวำงแผนจึงต้อง ่ ี่ ้ อำศัยกำรกำำหนดกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภำพ แม้ว่ำพื้นฐำนของกำรจัดกำร โดยทั่วไปเป็นงำนของผู้บริหำรกำรวำงแผนเป็นสิ่งสำำคัญสำำหรับกำร ปฏิบัติตำมกลยุทธ์ให้ประสบควำมสำำเร็จและกำรประเมินกลยุทธ์ เพรำะ ว่ำ กำรจัดกำรองค์กร กำรจูงใจ กำรจัดบุคคลเข้ำทำำงำน และกิจกรรม ควบคุม ขึนกับกำรวำงแผน กระบวนกำรวำงแผนจะต้องประกอบด้วยผู้ ้ บริหำรและพนักงำนภำยในองค์กร กำรวำงแผนจะช่วยให้องค์กร กำำหนดข้อดีจำกโอกำสภำยนอกและทำำให้เกิดผลกระทบจำกอุปสรรค ภำยนอกตำ่ำสุด โดยต้องมองเหตุกำรณ์ในอดีตและปัจจุบันเพื่อคำดคะเน เหตุกำรณ์ที่จะเกิดขั้นในอนำคต กำรวำงแผน ประกอบด้วย กำรพัฒนำ ภำรกิจ (Mission) กำรคำดคะเนเหตุกำรณ์ปัจจุบัน เหตุกำรณ์อนำคต และแนวโน้ม กำรกำำหนดวัตถุประสงค์ และกำรเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
  • 4. 4 2) กำรจัดกำรองค์กำร (Organizing) กำรแบ่งงำน กำรจัดสำย กำรบังคับบัญชำ กำรรวมหรือกำรกระจำยอำำนำจ อำำนำจหน้ำที่ หรือ ควำมมีเอกภำพในกำรบังคับบัญชำที่ยึดถือปฏิบัติมำ โดยกำรกำำหนด งำนและควำมสำำคัญของอำำนำจหน้ำที่ กำรจัดองค์กรที่ดีสำมำรถจูงใจผู้ บริหำรและพนักงำนให้มองเห็นควำมสำำคัญของควำมสำำเร็จขององค์กร • กำรกำำหนดลักษณะเฉพำะของงำน (Work Specialization) โดยกำรแบ่งงำนประกอบด้วยงำนที่กำำหนดออกมำเป็น แผนก กำรจัดแผนก • กำรมอบอำำนำจหน้ำที่ (Delegating Authority) กำรแยก งำนออกเป็นงำนย่อยตำมกำรพัฒนำรำยละเอียดของงำน (Job Description) และคุณสมบัติของงงำน (Job Specification) เครืองมือเหล่ำนีมควำมชัดเจนสำำหรับผูบริหำร ่ ้ ี ้ และพนักงำน ซึงต้องกำรทรำบลักษณะของงำน ่ • กำรกำำหนดแผนกในโครงสร้ำงขององค์กร (Organization Structure) ขนำดของกำรควบคุม (Span of Control) และ สำยกำรบังคับบัญชำ (Chain of Command) รูปแบบทั่วไป ของกำรจัดแผนกคือ ตำมหน้ำที่ (Functional) ตำมฝ่ำย (Divisional) ตำมหน่วยธุรกิจเชิงกลยุทธ์ (Strategic business unit) และด้ำนแมททริกซ์ (Matrix) 3) กำรนำำหรือกำรสั่งกำร (Leading/ Directing) เป็นกำรใช้ อิทธิพลเพื่อจูงใจพนักงำนให้ปฏิบัติงำนและนำำไปสู่ควำมสำำเร็จตำมเป้ำ หมำยที่ระบุไว้ หรือเป็นกระบวนกำรจัดกำรให้สมำชิกในองค์กรทำำงำน ร่วมกันได้ด้วยวิธีกำรต่ำงๆ กำรนำำหรือกำรสั่งกำรต้องใช้ควำมสำมำรถ หลำยเรื่องควบคู่กันไป อำทิ ภำวะควำมเป็นผูนำำของผูบริหำร กำรจูงใจ ้ ้ กำรติดต่อสือสำรในองค์กร และกำรทำำงำนเป็นทีม เป็นต้น หน้ำทีในกำรนำำ ่ ่ หรือสั่งกำรนี้ มีควำมสำำคัญไม่น้อยไปกว่ำหน้ำที่อื่น เพรำะผู้บริหำรต้อง แสดงบทบำทของผู้สั่งกำรอย่ำงมีคุณภำพ ถ้ำไม่เช่นนั้น แผนงำนที่วำง ไว้ตลอดจนทรัพยำกรที่จัดเตรียมไว้อำจไม่เกิดประสิทธิผล ถ้ำผู้บริหำร ดำำเนินกิจกรรมด้ำนกำรสั่งกำรไม่ดีพอ ดังนั้น กำรสั่งกำรจึงเป็นเรื่อง ของควำมรู้ควำมชำำนำญ ประสบกำรณ์ และควำมสำมำรถที่จะชักจูงให้ พนักงำนร่วมกันปฏิบัติงำนไปตำมเป้ำหมำยที่กำำหนดไว้ให้องค์กร ประสบควำมสำำเร็จตำมต้องกำร 4) กำรควบคุม (Controlling) กำรใช้ทรัพยำกรต่ำงๆ ขององค์กร ถือว่ำเป็นกระบวนกำรตรวจสอบ หรือติดตำมผลและประเมินกำรปฏิบัติ งำนในกิจกรรมต่ำงๆ ของพนักงำน เพื่อรักษำให้องค์กรดำำเนินไปใน ทิศทำงสู่เป้ำหมำยอย่ำงถูกต้องตำมวัตถุประสงค์หลักขององค์กร ใน เวลำที่กำำหนดไว้ องค์กรหรือธุรกิจที่ประสบควำมล้มเหลวอำจเกิดจำก กำรขำดกำรควบคุม หรือมีกำรควบคุมที่ไร้ประสิทธิภำพ และหลำยแห่ง
  • 5. 5 เกิดจำกควำมไม่ใส่ใจในเรื่องของกำรควบคุม ละเลยเพิกเฉย หรือใน ทำงกลับกันคือมีกำรควบคุมมำกจนเกิดควำมผิดพลำดขององค์กรเอง กำรควบคุมจึงเป็นหน้ำทีหลักทำงกำรบริหำรทีมควำมสำำคัญ ตังแต่เริมต้น ่ ่ ี ้ ่ จนจบกระบวนกำรทำงกำรบริหำร บทที ่ 3 กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ควำมเป็ น มำ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เดิมเป็นกองโรคติดต่อ สังกัดกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย ทำาหน้าที่ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้มีประกาศราชกฤษฎีกาสถาปนากรมสาธารณสุข ให้เป็นก ระทรวงสาธารณสุข มีกรมในสังกัดรวม 7 กรม ซึ่งมีกรมที่เกี่ยวข้องกับ งานโรคติดต่อ 2 กรม คือ กรมการแพทย์ และกรมสาธารณสุข (ภายหลัง เปลี่ยนเป็นกรมอนามัย) กรมการแพทย์ จะรับผิดชอบกิจการของโรง พยาบาล เช่น โรงพยาบาลโรคเรื้อนพระประแดง, โรงพยาบาลโรคเรือน ้ ขอนแก่น, โรงพยาบาลโรคเรือนเชียงใหม่, โรงพยาบาลโรคเรือน ้ ้ นครศรีธรรมราช, นิคมโรคเรือนเชียงราย,โรงพยาบาลบางรัก, โรงพยาบาล ้ วัณโรค, โรงพยาบาลบำาราศนราดูร ส่วนงานควบคุมโรคอื่น ๆ ยังอยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมควบคุมโรคติดต่อ กรมสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2495 ได้เปลียนชือ กรมสาธารณสุขเป็นกรมอนามัย และ ่ ่ โอนกิจการของโรงพยาบาลเฉพาะโรคในสังกัดกรมอนามัย และยกฐานะ หน่วยงานเฉพาะโรคให้เป็นกอง คือ กองควบคุมวัณโรค กองควบคุมโรค เรือน ปรับปรุงขยายงานควบคุมไข้มาลาเรียและโรคเท้าช้าง เป็นกอง ้ ควบคุมมาลาเรียและโรคเท้าช้าง รวมงานควบคุมคุดทะราดกับกามโรคตั้ง เป็นกองควบคุมกามโรคและคุดทะราด ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการรวมกรมการแพทย์และกรมอนามัยเข้า ด้วยกันเป็นกรมการแพทย์และอนามัย งานควบคุมโรคติดต่อทั้งหมด จึง ขึ้นกับกรมการแพทย์และอนามัย ในปี พ.ศ. 2517 ได้มการแยกกรมการแพทย์และกรมอนามัยออกจาก ี กันในครังนันได้มการรวมหน่วยงานควบคุมโรคติดต่อเข้าด้วยกันจัดตั้ง ้ ้ ี เป็นกรมควบคุมโรคติดต่อ กรมควบคุมโรคติดต่อ แบ่งส่วนราชการเป็นกลุมงานทีปรึกษากอง ่ ่
  • 6. 6 วิชาการเกียวกับโรคติดต่อต่างๆ 7 กอง และหน่วยงานสนับสนุนการ ่ บริหารงานของกรมฯ 4 หน่วยงาน โรงพยาบาลเฉพาะโรค 4 แห่ง นอกจากนันยังมีหน่วยงานทีตงอยูในส่วนภูมภาค ได้แก่ สำานักงานควบคุม ้ ่ ั้ ่ ิ โรคติดต่อเขต 12 เขต และสำานักงานควบคุมโรคติดต่อนำาโดยแมลง 5 สำานักงาน ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีกำรออกกฎหมำยปฏิรูปรำชกำร ทำำให้กำร แบ่งหน่วยงำนของกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย หน่วยงำนสนับสนุน กำรบริหำรงำน 4 กอง กองวิชำกำรเกี่ยวกับโรคติดต่อต่ำงๆ 8 สำำนัก และมีหน่วยงำนที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภำค ได้แก่ สำำนักงำนป้องกันควบคุม โรค 12 เขต ปัจจุบันกรมควบคุมโรคมีหน่วยงำนที่ ก.พ. ให้ควำมเห็นชอบแต่ไม่ ปรำกฏในกฎกระทรวง ประกอบด้วย กองบริหำร 6 แห่ง สถำบัน 2 แห่ง สำำนักวิชำกำร 11 แห่ง และ สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง ดังนี้ - กองบริหำร 6 แห่ง : กองแผนงำน, กองคลัง, กองกำรเจ้ำ หน้ำที่, สำำนักงำนเลขำนุกำรกรม, กลุ่มตรวจสอบภำยใน และ กลุ่มพัฒนำระบบบริหำร - สถำบัน 2 แห่ง : สถำบันบำำรำศนรำดูร และสถำบันรำชประชำ สมำสัย - สำำนักวิชำกำร 11 แห่ง : สำำนักโรคติดต่อนำำโดยแมลง, สำำนัก โรคเอดส์และโรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์, สำำนักโรคจำกกำร ประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม, สำำนักวัณโรค, สำำนักโรคติดต่อ ทั่วไป, สำำนักงำนคณะกรรมกำรควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, สำำนักโรคไม่ติดต่อ, สำำนักระบำดวิทยำ, สำำนักโรคติดต่ออุบัติ ใหม่, สำำนักงำนคณะกรรมกำรวัคซีนแห่งชำติ และสำำนักงำน เผยแพร่และประชำสัมพันธ์ - สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง : สำำนักงำนป้องกัน ควบคุมโรคที่ 1-12 กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 1. การวางแผน (Planning) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เป็นหนึ่งในหน่วยงาน ราชการที่มีความสำาคัญต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้น การเป็นผู้นำาด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้องกันและควบคุมโรคของ ประเทศและระดับนานาชาติ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชันนำาระดับระดับนานาชาติ ทีสงคมเชือถือ ้ ่ ั ่
  • 7. 7 และไว้วางใจเพือป้องกันประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความ ่ เป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563 พั น ธกิ จ 1. วิจัยและพัฒนำองค์ควำมรู้เพื่อกำำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์ พัฒนำคุณภำพมำตรฐำนทำงวิชำกำรและมำตรกำรดำำเนินงำน เฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ 2. พัฒนำกำรบริหำรจัดกำรแลกเปลี่ยนวิชำกำรเชิงคุณภำพ และ เพิ่มประสิทธิภำพในกำรถ่ำยทอดมำตรฐำน มำตรกำร เทคโนโลยีกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ 3. พัฒนำระบบฐำนข้อมูล ข่ำวกรองโรค กำรจัดกำรควำมรู้ และ กลไก ควำมร่วมมือ ควำมเข้มแข็งของเครือข่ำยเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ เพื่อเตรียมพร้อมตอบโต้ ภำวะฉุกเฉินด้ำนสำธำรณสุข 4. ประเมินสถำนกำรณ์โรค / ควำมเสี่ยงภัยสุขภำพเชิงรุก และ ประเมินผลกำรดำำเนินงำนตำมมำตรฐำน เป้ำหมำยกำรให้ บริกำรรวมทั้งกำำกับคุณภำพ กลยุทธ์กำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพที่มีลำำดับภำระโรคสูง ภารกิจ 1.ศึกษา ค้นคว้า วิจยพัฒนาและกำาหนดมาตรฐานทางวิชาการและ ั เทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนา บุคลากรด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ 2. เผยแพร่ความรูทางวิชาการด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยที่ ้ คุกคามสุขภาพให้หน่วยงานทีเกียวข้อง ่ ่ และประชาชน 3.ควบคุม กำากับ นิเทศ และประเมินผลด้านควบคุมโรค 4.ให้บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ปวยเฉพาะโรค ่ 5.ประสานนโยบายและแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคาม สุขภาพ 6.พัฒนาเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคตลอดจนการเฝ้าระวัง โรคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ องค์กรท้องถิน ่ 7. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับนานาประเทศหรือองค์กร ระหว่างประเทศในการป้องกันควบคุมโรคและปัญหาสุขภาพระหว่าง ประเทศ ยุทธศาสตร์การดำาเนินงานแบบมุ่งเน้นผลงาน สู่วิสัยทัศน์ 1. การพัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิงและมาตรฐานวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ
  • 8. 8 ภัยสุขภาพของชาติที่ได้มาตรฐานสากล 2. การพัฒนา และร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุนพื้นทีในการดำาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอย่างมี ่ ประสิทธิภาพและยั่งยืน 3. การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล ่ เพื่อป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4. การเตรียมความพร้อมและดำาเนินการป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ตามความ ต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล 5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล 6. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดองค์การตามมาตรฐาน สากล และโปร่งใสตรวจสอบได้ กรมควบคุมโรคมีกำรวำงแผนงำนทีเป็นแผนยุทธศำสตร์ เพือก้ำวไป ่ ่ สูอนำคตทีคำดหวังภำยใน 10 ปี นับเป็นแผนระยะยำว ซึงมีกำรกำำหนด ่ ่ ่ วิสยทัศน์ พันธกิจ เป็นสิงทีจะช่วยกำำหนดทิศทำงเดินในอนำคตทีชดเจนให้ ั ่ ่ ่ ั กับองค์กำร มีกรอบกำรดำำเนินงำน แนวทำงปฏิบตงำนช่วยในกำร ั ิ ควบคุมองค์กำรให้ดำำเนินกำรตำมแผนที่กำำหนดไว้ นอกจำกแผนระยะ ยำวแล้วยังมีกำรวำงแผนระยะกลำง แผนปฏิบัติรำชกำร 4 ปี จะมีกำร พิจำรณำว่ำจะปรับปรุงแผนทีวำงไว้ เพือให้สอดคล้องเหมำะสมกับ ่ ่ สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อมทีเปลียนแปลงไปในปัจจุบัน และมีกำร ่ ่ ประมำณกำรด้ำนงบประมำณ เพื่อให้แผนยุทธศำสตร์ดังกล่ำวสำมำรถ ถ่ำยทอดสู่แผนปฏิบัติกำรแต่ละปี กำรวำงแผนระยะยำว ผู้บริหำรระดับ สูงของกรมควบคุมโรค จะมีบทบำทสำำคัญที่จะกำำหนดเป้ำหมำยและ ทิศทำงในระยะยำว ทีสอดคล้องกับนโยบำยระดับชำติ และระดับ ่ กระทรวง ในขณะที่ผู้บริหำรระดับรองลงมำ ผูอำำนวยกำรสำำนักงำน ้ หรือกอง จะรับผิดชอบแผนระยะกลำง ที่จะต้องกำำหนดให้สอดคล้องกับ แผนระยะยำว ผูบริหำรระดับต้นวำงแผนระยะสั้นให้สอดคล้องกับแผน ้ ของผู้บริหำรระดับกลำงอีกต่อหนึ่ง แผนในแต่ระดับจะต้องเกื้อหนุน สอดคล้องกัน 2. การจัดการองค์การ (Organizing) โครงสร้างของกรมควบคุม โรค ประกอบด้วย กองบริหาร 6 แห่ง สถาบัน 2 แห่ง สำานัก วิชาการ 11 แห่ง และ สำานักงานป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง การจัดการองค์การของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แบ่งตามแผนกงานได้ ดังนี้ ١. การจัดแผนกงานตามหน้าที่ ได้แก่ กองแผนงาน กองคลัง กอง
  • 9. 9 การเจ้าหน้าที่ สำานักงานเลขานุการกรมกลุ่มตรวจสอบภายใน และกลุ่ม พัฒนาระบบบริหาร ٢. การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (วิชาการ) ได้แก่ สำานักโรค ติดต่อนำาโดยแมลง สำานักโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิงแวดล้อม สำานักวัณโรค สำานักโรค ่ ติดต่อทัวไป สำานักงานคณะกรรมการควบคุมเครืองดืมแอลกอฮอล์ สำานัก ่ ่ ่ โรคไม่ตดต่อ สำานักระบาดวิทยา สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำานักงานคณะ ิ กรรมการวัคซีนแห่งชาติ และสำานักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ٣. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ ได้แก่ สำานักงานป้องกันควบคุม โรค 12 พื้นที่ 3. การนำาและการสั่งการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีการนำาและสั่งการ โดย กลไกการถ่ายทอด การสื่อสารภายในองค์การ โดยมีกรอบแนวคิดการ ถ่ายทอด/ จัดทำาคำารับรองตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย กรมควบคุ ม โรค หน่ ว ยงำน Department Bureau Scorecard :BuSC Scorecard :DSC เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของหน่วยงำน เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของกรม - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจของสำำนัก / กองที่ - นโยบำยระดับชำติ ระดับกระทรวง สนับสนุนต่อเป้ำหมำยกำรให้บริกำรและตัวชี้วัด และระดับกรม ระดับกรม - พันธกิจ บทบำท หน้ำที่ตำมกฏ - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจในงำนประจำำของ หมำย สำำนัก / กอง บุ ค คล กลุ ่ ม งำน Individual Scorecard : Sector Scorecard :SSC เป้ำหมำยกำรให้บริกำรของกลุ่มงำน ISC - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจของกลุ่มงำน / ฝ่ำยที่ เป้ำหมำยกำรให้บริกำรในระดับ สนับสนุนต่อเป้ำหมำยกำรให้บริกำรและตัวชี้วัด บุคคล ระดับผู้อำำนวยกำรกอง / สำำนัก - บทบำทหน้ำที่ของบุคคลที่ - บทบำทหน้ำที่และภำรกิจในงำนประจำำของ สนับสนุนต่อเป้ำประสงค์และตัวชี้วัด กลุ่มงำน ของหัวหน้ำกลุ่มงำน / ฝ่ำย - งำนที่ได้รับมอบหมำยเป็นพิเศษ - บทบำทหน้ำทีงำนของบุคคล ่
  • 10. 10 บริหำรทรัพยำกรบุคคลด้วยกรอบแนวคิดควำมสำมำรถเชิง สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ Competency ที่เป็นแก่นหรือ แกนหลักขององค์กำรซึ่งทุกคนในองค์กำรต้องมีคุณสมบัติที่เหมือนกันนี้ เพรำะควำมสำมำรถและคุณสมบัติประเภทนี้เป็นตัวกำำหนดหรือผลักดัน ให้องค์กรบรรลุตำมวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) ที่วำงไว้ ได้ ตลอดจนยังเป็นตัวสะท้อนถึงค่ำนิยม (Values) ที่คนในองค์กรมีและ ถือปฏิบัติร่วมกัน ได้แก่ 1. ภำวะผู้นำำ โดยกำรกำรนำำศักยภำพของตนเองออกมำเพื่อ ผลักดันให้เกิดกิจกรรม ผลงำน ผลผลิต บริกำร ซึ่งเป็นที่ยอมรับ และได้ รับควำมร่วมมือจำกผู้เกี่ยวข้อง กำรจัดกำร กำรบริหำร หน่วยงำน และผู้ ใต้บังคับบัญชำ ในกำรปฏิบัติงำน รวมทั้งสนับสนุน กิจกรรมต่ำงๆ เพื่อ ให้เกิดผลลัพธ์ ตำมเป้ำหมำยที่กำำหนด อย่ำงมีประสิทธิภำพมีควำมคิด สร้ำงสรรค์ ที่ก่อให้เกิดกำรพัฒนำ หรือเปลี่ยนแปลงไปสู่ควำมสำำเร็จ ขององค์กร 2. กำรทำำงำนเป็นทีม สร้ำงควำมเป็นผู้นำำ ตัดสินใจเป็น วิเครำะห์ ปัญหำต่ำงๆ รวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง สำมำรถสื่อสำรควำมเข้ำใจกันได้ ประสำนงำนและจูงใจให้คนทำำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ 3. กำรให้บริกำรเชิงคุณภำพ สำมำรถที่จะแสดงภำพพจน์ที่ดีใน กำรให้บริกำร สร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับผู้บริกำร ประกันผลงำน และกำร ให้บริกำรที่สำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำร และควำมคำดหวังของ ผู้รับบริกำร โดยมีควำมเต็มใจที่จะให้บริกำรอย่ำงเต็มที่ 4. กำรพัฒนำตนเอง ควำมมุ่งมั่นและกระตือรือร้นในกำรพัฒนำ ควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเองอย่ำงต่อเนื่อง โดยกำรศึกษำหำควำมรู้ จำกแหล่งต่ำงๆ เพื่อนำำควำมรู้มำประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่องำน ต่อตนเอง และ ต่อองค์กร รวมถึงมีกำรกำำหนดเป้ำหมำยและทบทวนกับ เป้ำหมำยที่ตั้งไว้ในกำรพัฒนำตนเองอยู่ตลอดเวลำ 5. ความรับผิดชอบ การตระหนักในสิทธิหน้าที่ ความสำานึกใน ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อตำาแหน่งหน้าทีราชการ และ ต่อหน่วยงาน ่ รวมถึงประชาชน การใส่ใจปัญหาของหน่วยงาน และ กระตือรือร้นในการ แก้ไขปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และ ความ กล้าที่จะยอมรับผลการกระทำาของตน ทั้งนี้ กรมควบคุมโรค ได้มีกำรพัฒนำสมรรถนะ ในฐำนะที่เป็นกรม วิชำกำร เน้นกำรทำำหน้ำที่ด้ำนกำรเป็นที่ปรึกษำทำงวิชำกำร (Technical advisor) เป็นผู้ประสำนสนับสนุน (Facilitator) ทำำให้กรม ควบคุมโรคต้องพัฒนำควำมพร้อมด้ำนวิชำกำร และทักษะกำรเป็นผู้ ประสำนสนับสนุน ได้แก่ 1. กำรพัฒนำองค์ควำมรูใหม่ ๆ และระเบียบวิธกำรใหม่ของกรม ้ ี ควบคุมโรค และภัยคุกคำมในระดับลึก
  • 11. 11 ที่จะเป็นองค์กรกำรควบคุมโรคในระดับชำติ และระดับภูมิภำค 2. พัฒนำผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรควบคุมโรคในระดับต่ำงๆ เช่น ระดับแพทย์ที่มีควำมรู้ด้ำนกำรแพทย์ พื้นฐำนที่สำมำรถเข้ำใจเรื่องธรรมชำติของโรคและระบำดวิทยำของ โรคได้ดีให้ผ่ำนกำรอบรมหลักสูตรระบำดวิทยำ FETP หรือศึกษำลึก ระดับปริญญำเอก รมทั้งพัฒนำนักวิชำกำรควบคุมโรคที่มีควำมชำำนำญ ให้ได้ศึกษำต่อระดับปริญญำโท และระดับปริญญำเอก และพัฒนำ ควำมก้ำวหน้ำในด้ำนวิชำชีพ เพื่อรักษำไว้ให้คงอยู่ในสำยงำนนี้ หรือ แม้จะไปอยู่ที่ใดก็เป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่จะแก้ปัญหำกำรควบคุมโรคใน ระยะยำว 3. กำรพัฒนำสมรรถนะบุคลำกรในระดับปฏิบตกำร เช่นบุคลำกร ั ิ ของ CUP ทีตองเน้นให้นกวิชำกำร ่ ้ ั หัวหน้ำ CUP และสมำชิก CUP ทุกคนได้รับกำรอบรมเรื่องควำมรู้ และ ทักษะกำรป้องกันควบคุมโรค รวมทั้งกำรเฝ้ำระวัง (SRRT) นอกจำกนี้ บุคลำกรอื่น เช่น ผู้เชี่ยวชำญเวชกรรมป้องกันของสำำนักงำน สำธำรณสุขจังหวัดทุกคน ควรจะต้องเชิญเข้ำร่วมสัมมนำวิชำกำร ควบคุมโรค ที่จดโดยกรมควบคุมโรค เพือรับรูวชำกำร แนวคิด หลักกำร ั ่ ้ ิ และวิธกำร รวมทังวิทยำกำรก้ำวหน้ำในกำรควบคุมป้องกันโรค ี ้ 4. การควบคุมและการประเมินผล การติดตามกำากับประเมินผลการดำาเนินงาน 1. การประเมินผลแผนกลยุทธ์กรมควบคุมโรค 2. การประเมินความคุ้มค่าภารกิจรัฐ 3. การวิเคราะห์ผลสำาเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating tool : PART) และการจัดทำารายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบ ประมาณ (สงป 301/ 302) 4. การนิเทศ กำากับ ติดตามการดำาเนินงานตามตัวชี้วัดกรมควบคุม โรค/แผนงาน/ โครงการของ หน่วยงานในสังกัดกรมฯ 5. การรายงานผลดำาเนินงานตัวชี้วัดกรมฯ ตัวชี้วัดกระทรวง ฯ การบริหารงบประมาณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค มีขั้นตอนการบริหารงบ ประมาณ ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้ 1. ก่อนดำาเนินการ (ระยะนำาเสนอแผนงาน/ โครงการ) 1.1 ประเมินความสอดคล้องของแผนงาน/ โครงการกับ เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ภาพรวม 1.2 ทบทวนการตอบสนองของแผนงาน/ โครงการต่อสัมฤทธิ
  • 12. 12 ผลของการปฏิบัติการ 2. ระหว่าง ดำาเนินการ (ระยะปฏิบัติการแผนงาน/ โครงการ) 2.1 ติดตามกระบวนการดำาเนินงานและผลผลิตที่ได้จากการ ดำาเนินการแต่ละระยะของกิจกรรม 2.2 ประเมินผลผลิตที่มี ผลต่อการตอบสนองต่อเป้าหมายการให้บริการและกลยุทธ์ใน ภาพรวม 3. หลังดำาเนินการ (ระยะหลังการดำาเนินการแผนงาน/ โครงการ) 3.1 ประเมินผล ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก การดำาเนินของโครงการ 3.2 ประเมินผลการ ดำาเนินการได้ตามเป้าหมายการให้บริการและกลยุทธ์หรือไม่ และต้อง ปรับกระบวนการอย่างไรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อเป้าหมายการให้ บริการ บทที่ 4 บทสรุ ป กำรวิ เ ครำะห์ อ งค์ ก ำรและประเด็ น ปั ญ หำกำรดำ ำ เนิ น งำนในเชิ ง กระบวนกำรบริ ห ำรจั ด กำรของกรมควบคุ ม โรค ١. ด้ ำ นโครงสร้ ำ ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข จัดว่ำเป็นองค์กำร ใหญ่ขนำดหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษขององค์กำร คือมีอำำนำจหน้ำทีลด่ หลันตำมลำำดับชันบังคับบัญชำ มีนโยบำย อำำนำจหน้ำที่ ระเบียบ มำตรฐำน ่ ้ ข้อบังคับทีชวยให้กำรปฏิบตงำนสำมำรถเป็นไปตำมแผนทีวำงไว้และเทคนิค ่ ่ ั ิ ่ กำรสือสำรทีมรปแบบ มีกำรแบ่งงำนกันทำำตำมควำมถนัดโดยรวบรวม ่ ่ ี ู บุคคลที่มีทักษะกำรปฏิบัติที่เฉพำะเจำะจง ซึ่งเป็นลักษณะขององค์กรที่
  • 13. 13 ช่วยให้กำรปฏิบัติงำนมีประสิทธิภำพ โดยมีแนวทำงกำรดำำเนินงำนตำม อำำนำจหน้ำที่รับผิดชอบและสอดรับกับนโยบำยของรัฐบำล โดยมีกำร แบ่งโครงสร้ำงและกำรจัดองค์กำรแนวรำบ (Flat Structure) พิจำรณำ ถึงวัตถุประสงค์และกิจกรรมขององค์กร แยกเป็นกลุ่มงำน กอง และ สำำนัก รวมทั้งมีหน่วยงำนสนับสนุน มีกำรแยกและกระจำยงำนจำก กลุ่มใหญ่ไปสู่งำนย่อยที่มีลักษณะเฉพำะเจำะจง ได้แก่ สำำนักโรคเอดส์ สำำนักวัณโรค และแยกกระจำยควำมรับผิดชอบและกำรปฏิบัติงำน เพือ ่ ให้ถกต้องตำมระเบียบฯ และลดปัญหำควำมเสียงในกำรปฏิบตงำน ทังนี้ ทุก ู ่ ั ิ ้ หน่วยงำนมีควำมเป็นเอกภำพขึ้นตรงต่อกรมควบคุมโรคโดยตรง ซึง ่ ทำำให้งำยต่อกำรควบคุมหรือกำำหนดพฤติกรรมของบุคคล มีระเบียบ ่ แบบแผนในกำรบริหำรจัดกำรที่ชัดเจน แต่ควำมเป็นทำงกำรนั้นมีขั้น ตอนมำก ไม่คล่องตัว และกำรที่องค์กำรได้แบ่งให้มีหน่วยงำนย่อย เฉพำะกับโรคต่ำง ๆ ที่มีกำรระบำดในช่วงเวลำต่ำงๆ กับหน่วยงำนเดิมที่ มีกำรดำำเนินกำรอยู่แล้ว ก่อให้เกิดปัญหำกำรทำำงำนซำ้ำซ้อนกันหรือ ลักษณะกำรทำำงำนใกล้เคียงกัน ٢. ด้ ำ นอั ต รำกำ ำ ลั ง และทรั พ ยำกรบุ ค คล ٢.١ เมือพิจำรณำอัตรำกำำลังเจ้ำหน้ำทีกบภำรกิจหน้ำทีรบผิดชอบ ่ ่ ั ่ ั พบว่ำสำำนักโรคติดต่อนำำโดยแมลงมีอัตรำกำำลังค่อนข้ำงน้อย เนื่องจำก ต้องร่วมสนับสนุนกำรดำำเนินงำนและปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่น และ กำรควบคุมโรคติดต่อนำำโดยแมลงเป็นงำนที่ควบคุมได้ค่อนข้ำงยำก ทำำให้เกิดกำรแพร่ระบำดได้เร็วและกำรป้องกันโรคที่ดีควรปฏิบัติงำน เชิงรุก จำำเป็นต้องจัดสรรทรัพยำกรให้เพียงพอต่อกำรปฏิบัติงำนในกำร ป้องกันก่อนกำรระบำดของโรค ٢.٢ สำำหรับกลุมตรวจสอบภำยในและกลุมพัฒนำระบบบริหำรค่อน ่ ่ ข้ำงเป็นหัวใจสำำคัญของกำรปฏิบตงำนของกรมควบคุมโรค โดยกลุมตรวจ ั ิ ่ สอบภำยในมีหน้ำทีควบคุมและบริหำรกำรปฏิบตงำนให้เป็นไปตำมระเบียบฯ ่ ั ิ ป้องกันปัญหำควำมเสียงจำกกระบวนกำรบริหำรจัดกำรและกลุมพัฒนำระบบ ่ ่ บริหำร ซึงเป็นเรืองของกำรวำงแผน กำรพัฒนำระบบงำนซึงเป็นเรืองที่ ่ ่ ่ ่ จำำเป็นต้องมีควำมรวดเร็ว ทันต่อสถำนกำรณ์ เนืองจำกส่วนหนึงเป็นกลุ่ม ่ ่ ที่ตองมีกำรตัดสินใจประกอบกำรพิจำรณำกำรดำำเนินงำนสำำหรับผู้ ้ บริหำร 2.3 กำรกระจำยศูนย์พัฒนำบุคลำกรควบคุมโรคไปทุก ภูมิภำค ไม่รวมศูนย์อยู่แต่ในกรมควบคุมโรค หรือสำำนักฯ ในส่วนกลำง แต่ควรใช้สำำนักงำนป้องกันควบคุมโรคเขตต่ำง ๆ เป็นแกนหลัก เพื่อให้ ภูมิภำคมีควำมเข้มแข็งในกำรควบคุมป้องกันโรคทั้งด้ำนวิชำกำรและ ประสบกำรณ์ และเป็นแหล่งประโยชน์ แก่พื้นที่ในระดับจังหวัด และเขต และครอบคลุมทั่วประเทศ เป็นกำรพัฒนำทั้งคน โครงสร้ำงและทีมงำน โดยให้ภูมิภำคเป็นเครือข่ำย
  • 14. 14 ٣. ด้ ำ นนโยบำย อำ ำ นำจหน้ ำ ที ่ วิ ส ั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ กำร ประเมิ น ผล กรมควบคุมโรคมีนโยบายและอำานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ชัดเจน โดยเริ่มตั้งแต่นโยบายที่เป็นตัวกำาหนดทิศทางขอบเขตของงานและมี วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องมา จนถึงยุทธศาสตร์ของการปฏิบัติ นำา มาซึ่งการบรรลุวัตถุประสงค์ของกรมควบคุมโรคได้ โดยผ่านหน่วยงาน ทีมีส่วนขับเคลื่อนในการนำานโยบาย วิสยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ่ ั ต่างๆ ถ่ายทอดไปสู่สำานักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ซึ่งเป็นหน่วย งานในระดับภูมิภาค อย่างไรก็ตามภาระงานในกรมควบคุมโรคส่วนใหญ่ เป็นการดำาเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน ส่งผลให้หน่วยปฏิบัติภายใต้ สังกัดกรมฯ ยังใช้รูปแบบกระบวนการทำางานแบบเดิมตามโครงสร้าง ขององค์การ การกำาหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target) แยกส่วนกันในแต่ละ หน่วยปฏิบัติอย่างชัดเจน ไม่มีการบูรณาการภารกิจของหน่วย ปฏิบัติให้ สนับสนุนซึ่งกันและกัน ให้ตอบสนองยุทธศาสตร์ภาพรวมของกรมฯ ซึ่ง การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ แม้จะใช้กระบวนการมีส่วน ร่วมในการจัดทำาแผนยุทธศาสตร์ระดับกรมฯ โดยมีผแทนจากหน่วยปฏิบติ ู้ ั เข้าร่วมกระบวนการโดยตลอดเพือสร้างความเข้าใจในการจัดทำาแผนฯ ่ ตั้งแต่เริ่มต้น พร้อมทังมีการประชุมเจ้าหน้าทีที่รับผิดชอบจัดทำาแผน ้ ่ ของหน่วยปฏิบัติเพื่อชี้แจงถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัด แต่ยังมีปัญหา ในการนำาไปถ่ายทอดสู่ผู้บริหารของหน่วยปฏิบัติและผู้จัดทำาโครงการ ส่งผลให้แผนของหน่วยปฏิบัติไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมฯ ٤. ด้ ำ นกระบวนกำรจั ด กำร ในกำรปฏิบัติงำนของกรมควบคุมโรคเพื่อพิจำรณำเกี่ยวกับด้ำน องค์กำรหรือระบบย่อยขององค์กำรตำมที่ได้สรุปมำก่อนหน้ำนี้แล้ว องค์กำรและกำรจัดกำรมีควำมสัมพันธ์กัน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์คือกำร บรรลุวตถุประสงค์ขององค์กำรว่ำมีกระบวนกำรบริหำรจัดกำรเข้ำมำเกียวข้อง ั ่ โดยกระบวนกำรจัดกำรจะมีควำมหมำย ถึงขั้นตอนของกำร จัดกำรซึ่งจะเริ่มตั้งแต่กำรวำงแผน กำรจัดองค์กำร กำรบังคับบัญชำ กำรประสำนงำนและกำรควบคุมงำน โดยกำรวำงแผนจะเป็นกำรหำ หนทำงที่จะบรรลุตำมเป้ำหมำยขององค์กำรตำมแผนที่กำำหนด ส่วนกำร จัดองค์กำร คือ กำรนำำทรัพยำกรที่เกี่ยวกับคนมำบริหำรให้แผนบรรลุ วัตถุประสงค์ กำรบังคับบัญชำ คือ กำรสั่งงำนให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติ กำร ประสำนงำน คือ กำรนำำเอำทรัพยำกรต่ำงๆ และกิจกรรมต่ำงๆ ของ องค์กำรให้มีควำมสอดคล้องกลมกลืนต่อกำรบริหำรให้บรรลุเป้ำหมำย และกำรควบคุมงำน คือ กำรตรวจสอบติดตำมแผนเพื่อให้แน่ใจว่ำได้มี กำรนำำไปปฏิบัติ
  • 15. 15 เมื่อพิจำรณำถึงกำรวำงแผนและกำรบริหำรจัดกำร ตลอดจน แนวทำงของกรมควบคุมโรค ซึ่งได้มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ และมีกำรใช้ กลยุทธ์ในกำรปฏิบัติงำนอย่ำงชัดเจนในกำรนำำมำซึ่งกำรบรรลุพันธกิจ และวิสัยทัศน์ของกรมควบคุมโรค และในขณะเดียวกันกรมควบคุม โรคจะมีปัญหำเกี่ยวกับกำรดำำเนินงำน ตำมเป้ำหมำยหรือตัวชี้วัดซึ่ง เป็นตัวประเมินผลควำมสำำเร็จของกรมควบคุมโรคว่ำได้ทำำงำนบรรลุ ตำมวิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้กำำหนดไว้หรือไม่ เนื่องจำกข้อมูลที่ได้ ศึกษำจำกตัวชี้วัดต่ำงๆ ของกรมควบคุมโรคซึ่งแสดงถึงควำมก้ำวหน้ำ ในกำรดำำเนินงำน โดยส่วนหนึ่งต้องรอข้อมูลจำกสำำนักงำนป้องกัน ควบคุมโรค (สคร.) ทำำให้ผลกำรดำำเนินงำนค่อนข้ำงล่ำช้ำ กรมควบคุม โรคควรมีนโยบำยหรือมำตรกำรในกำรตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขและ ให้กำรสนับสนุนหน่วยงำนย่อยเหล่ำนี้ ตลอดจนกำรจัดสรรงบประมำณ สนับสนุนทรัพยำกรต่ำง ๆ ให้เพียงพอ และพัฒนำช่องทำงกำรรำยงำน ข้อมูล ระหว่ำงหน่วยงำนทีเกียวข้อง พัฒนำเครือข่ำยกำรปฏิบัติงำนให้ ่ ่ ครอบคลุม ตลอดจนกำำหนดตัวชี้วัดที่จะถ่ำยทอดไปสู่สำำนักงำนป้องกัน ควบคุมโรค (สคร.) ที่ชัดเจน รวดเร็ว เพื่อให้หน่วยงำนระดับล่ำง สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ทันต่อสถำนกำรณ์ สรุ ป จำกกำรศึกษำกำรบริหำรของกรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข พบว่ำ กรมควบคุมโรคใช้หลักกำรบริหำรจัดกำรที่หน่วยงำนอื่น สำมำรถ นำำมำประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบัติงำนได้หลำยประเด็น และเพื่อให้กำร พัฒนำงำนของกรมควบคุมโรคมีประสิทธิภำพยิงขึน กรมควบคุมโรคควรมี ่ ้ กำรวำงแผนงำนในส่วนทีเกียวข้องเพือให้ได้ทศทำง นโยบำย และกำำหนด ่ ่ ่ ิ ตัวชีวดทีชดเจน โดยพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำยในให้เพียงพอ ้ ั ่ ั และมีประสิทธิภำพ สำมำรถรวบรวมผลกำรปฏิบัติงำน กำรให้กำร สนับสนุนกำรปฏิบัติงำนหน่วยงำนสนับสนุนได้ กำรมีระบบข้อมูล ข่ำวสำรสำรสนเทศที่มีประสิทธิภำพจะช่วยให้เกิดกำรปฏิบัติและประสำน งำนระหว่ำงส่วนรำชกำรย่อยได้ดี นอกจำกนี้ ควรจัดทำำระบบกำรควบคุม นิเทศงำนทีมีประสิทธิภำพ ่ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนของ ระดับล่ำง ทังนี้ ในกำรบริหำรงำนให้เกิดผลสำำเร็จได้นนควรใช้หลักกำร ้ ั้ ประยุกต์แบบผสมผสำน เพือให้เกิดกำรพัฒนำและควำมยืดหยุ่น ่ สำมำรถนำำไปใช้ได้เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ต่อไป
  • 16. 16 ภาคผนวก รูปภาพที่ 1 ผังโครงสร้างองค์การ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข ตารางที่ ١ ข้อมูลบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  • 17. 17 พนั ก งำน รำยกำรข้ อ มู ล ข้ ำ รำชกำร ลู ก จ้ ำ งประจำ ำ รำชกำร รวม จำ ำ นว ร้ อ ย จำ ำ นว จำ ำ นว บุ ค ลำกร น ละ จำ ำ นวน ร้ อ ยละ น ร้ อ ยละ น ร้ อ ยละ สำยงำนหลัก 2,262 78.43 1,735 69.23 301 62.71 4,298 73.22 สำยงำนสนับสนุน 622 21.57 771 30.77 179 37.29 1,572 26.78 100.0 100.0 100.0 รวม 2,884 0 2,506 100.00 480 0 5,870 0 ระดั บ กำรศึ ก ษำ ตำ่ำกว่ำปริญญำ 19. ตรี 569 73 2,305 91.98 132 27.50 3,006 51.21 50. ปริญญำตรี 1,452 35 198 7.90 319 66.46 1,969 33.54 24. ปริญญำโท 707 51 3 0.12 29 6.04 739 12.59 5.4 ปริญญำเอก 156 1 0 0.00 0 0.00 156 2.66 100.0 100.0 100.0 รวม 2,884 0 2,506 100.00 480 0 5,870 0 พนั ก งำน ประเภท/ระดั บ ข้ ำ รำชกำร ลู ก จ้ ำ งประจำ ำ รำชกำร รวม จำ ำ นว ร้ อ ย จำ ำ นว จำ ำ นว น ละ จำ ำ นวน ร้ อ ยละ น ร้ อ ยละ น ร้ อ ยละ ทั ่ ว ไป 3.4 ปฏิบัติงำน (O1) 99 3 ชำำนำญงำน 31. (O2) 910 55 1.2 อำวุโส (O3) 37 8 วิ ช ำกำร 10. ปฏิบัติกำร (K1) 309 71 ชำำนำญกำร 36. (K2) 1,040 06 ชำำนำญกำร 13. พิเศษ (K3) 393 63 1.9 เชี่ยวชำญ (K4) 57 8 0.4 ทรงคุณวุฒิ (K5) 12 2 อำ ำ นวยกำร 0.1 ต้น (M1) 4 4 0.6 สูง (M2) 18 2
  • 18. 18 บริ ห ำร ต้น (S1) 4 0.1 4 0.0 สูง (S2) 1 3 100.0 รวม 2,884 0 2,506 - 480 - - อำยุ ต ั ว เฉลี ่ ย 46 ปี - 49 ปี - 32 ปี - - - อำยุ ร ำชกำรเฉลี ่ ย 21 ปี - 23 ปี - 3 ปี - - - ที่มำ : ฝ่ำยข้อมูลกำรบริหำรงำนบุคคล กรมควบคุมโรค กระทรวง สำธำรณสุข http://person.ddc.moph.go.th/organize/dat_new/ht ml/index.html ตารางที่ 2 แสดงอัตรากำาลังข้าราชการ, พนักงานราชการและลูกจ้าง ประจำา (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 53) ลำาดับที่ กลุ่ม/ ฝ่าย อัตรากำาลัง 1 กรมควบคุมโรค 11 - สำานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก - สำานักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ - สำานักจัดการความรู้ - สำานักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ - สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่ - สำานักวัณโรค - สำานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ - สำานักควบคุมการบริโภคยาสูบ - ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ฯ (PHER) - ศูนย์อำานวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่ง ชาติ - ศูนย์สารสนเทศ 2 กลุ่มตรวจสอบภายใน 9 3 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 5 4 กองคลัง 48 5 กองแผนงาน 42 6 กองการเจ้าหน้าที่ 50 7 สถาบันบำาราศนราดูร 332 8 สถาบันราชประชาสมาสัย 246 9 สำานักงานเลขานุการกรม 28
  • 19. 19 10 สำานักโรคติดต่อทั่วไป 147 11 สำานักโรคไม่ติดต่อ 70 12 สำานักโรคติดต่อนำาโดยแมลง 78 สำานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศ 13 สัมพันธ์ 236 14 สำานักระบาดวิทยา 89 15 สำานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 81 16 สำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 1,804 รวม 3,276 ที่มำ : กลุ่มงำนพัฒนำระบบงำนและอัตรำกำำลัง กองกำรเจ้ำหน้ำที่ กรมควบคุม โรค
  • 20. แ ภิมแ ผนู สดงคว ื ่ อมโ ิ สยท ์ พน ิ จ เปำป สงค กลยท์ธ ผลผลต แ งำน ครงกำ ำมเช ยงวั ั ศน ั ธก ้ ระ ์ ุ ิ ผน /โ สำน ปองกน บคมโ ี ่ 1 กรงเท ำ ั กงำน้ ั คว ุ รคท ุ พฯ 20 วิสั ทั น์ ยศ มุง นพั นาศักย าพ ค์กรระดับเข ล วามเข้ ข็ข ภ ่ มั่ ฒ ภ อง ตแ ะค มแ ง อง าคีเครือข่ยในด้านการเฝ้ า าร แ ะภั สุ ภ ให้ ปต ล ย ข าพ เป็นไ ามมาตรฐ ปี2 5 าน 5 4 บรรณานุกรม พั ธกิ น จ 1 ศึ ษา จัย ฒ า ค์ . ก วิ พั น อง 2 า ท อง ค ม แล .ถ่ ย อด ค์ วา รู้ ะ 3 เฝ้ ระวังป้ ง น . า อ กั 4 ฒ า า อบต้ .พั น ก รต โ ค ม แ ะเท โ โ ยี า า วา รู้ ล คนล ก รเฝ้ เท โ โ ยี า ก รเฝ้ คนล ด้ น า า ค คุ โ แ ะภั วบ มรค ล ย ภ วะฉุ เฉิ ท ง า ก นา บุญใจ ระวังป้องกันค นรากูละ ระวังป้องกัน วบ มโ ำาและกลยุทธ์การจัดการธารณ ข( H ) ศรีสถิต คุมโ แร.(2550).ภาวะผู้น วบ รค ค คุ รค สุ ภ พ ขา ส า สุ P ER องค์การพยาบาล.กรุงเทพฯและภั สุข าพพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ ภั สุ ภ พ ยขา ย ภ : โรงพิม มหาวิทยาลัย. 2 ห วย า . น่ ง าป พยอม เป้ ระสงค์ วงศ์สารศรี.(2542).องค์การและการจัภ พ การเฝ้ ระวังป้องกัน ดการ.กรุงเทพฯ 1 น่ ง น ล รือข่ ย ก า ระบ ข่ วก แล ก า ใน .ห วย า แ ะเค า ลู ค้ มี บ า รอง ะศั ย า โ ไม รค ต :สำานักพิมพ์สุภา.ค คุมโ และภั สุข าพรวมทั้ เต ยมพ มต บโ ภ วะฉุก นด้ น าธารณ ข วบ รค ย ภ ง รี ร้อ อ ต้ า เฉิ า ส สุ แ ะส ล ล วิทยา ด่านธำารงกูล.(2546).การบริหาร.กรุงเทพฯ :บริษท เธิร์ด ั 1.พั นาแ ะส่ ริม ฒ ล งเส งานวิจัย ล แะ 2. พั นาระบบบริหาร ฒ ก ยุ ธ์ เวฟ เอ็ดดูเดองค์ความจำด้านการเฝ้าระวัง ลท ถ่ ท คชั่น รู้ ากัด. าย อ จัด ารแ งเน้น ก บบมุ่ 3.พั นาศั ย เค อ าย ารจัด าร ฒ ก ภาพ รื ข่ ในก ก ระบบก าระวังป้อ นค มรค ล สุ ภาพ ารเฝ้ งกั วบคุ โ แ ะภัย ข การ ป้อ น ค ม รค ล สุ ภาพ งกั วบคุ โ แ ะภัย ข ผ สั ฤท ์ ล ม ธิ สมยศ นาวีการ.(2547).การบริหาร:การพัฒนาองค์การและ การจูง. องค์ความรูและเท : สำานักพิมพ์บารจัดการ จ. 1ใจ. กรุงเทพฯ ้ คโนโลยี 2 น่วยงานบริห .ห รรณกิ ผผล ลิต 4 น่วยงานและเครือข่ายเป้าห .ห มายได้รับการ 3 นว .ห ด้านการเฝ้ าระวังป้องกัน เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค หำรจัดกำร. [ออนไลน์]. Bloggang. (2550). ควำมหมำยของกำรบริ ในการจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สนับสนุนเสริมสร้างศักยภาพ และความเข้มแข็ง และปร และภัยสุขภาพ อย่างมี สืบค้นจำกที่ : ได้มาตรฐ าน ประสิท ภาพ ธิ ภัยสุขภาพรวมทั้ งบริการเฉพ มีคุณ าะที่ ภาพ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357 (6 กันยำยน 2553) วิจัย 1 ศึกษ ค้นคว้า .1 า 2 พั นาคุณ .1 ฒ ภาพ 4 พั นาประสิท ภาพ .1 ฒ ธิ ระบบเฝ้ าระวัง 3ถ .1 แ นา ผ ง น/ พั นาวิชาการเพื่ ฒ อ การบริห าร ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ ระบบ ( 5 ) www. ddc.moph.go.th จัดการองค์กร P5 ป้องก โ รง า ค กร ปรับปรุงประสิท ภาพ ธิ และถ่ายท อดองค์ความรู้ P7 4 บริการสนับสนุนและพั นาเครือข่าย .2 ฒ เทคโนโลยีด้านการ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เฝ้ าระวัง ป้องกันควบคุมโรค P6 3 เส .2 และภัยสุขภาพ P3 พ ฤต 4 พั นาระบบบริห ดการและการเตรียมพ .4 ฒ ารจั ร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธ สุข ER) ารณ ( PH P2