SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
ประวัติพระพุทธเจ้า
การศึกษาพุทธประวัติ ประวัติสาวก สาวิกาตลอดจน ชาดกต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นความเพียรพยายามของพระองค์
อันมีคุณค่าในการสร้างศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน นอกจากนี้การนาจริยาวัตรของพระศาสดา
และพระสาวกมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนย่อมทาให้สามารถดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ชาติกาเนิด
พระพุทธเจ้าพระนามเดิมว่า "สิทธัตถะ"เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งกรุงกบิลพัสดุ์
แคว้นสักกะพระองค์ทรงถือกาเนิดในศากยวงค์สกุลโคตมะพระองค์ประสูติในวันศุกร์ ขึ้น15ค่า เดือน 6 ( เดือนวิสาขะ)
ปีจอ ก่อนพุทธศักราช80ปี ณ สวนลุมพินีวันซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์แคว้นสักกะกับกรุงเทวทหะแคว้นโกลิยะ(
ปัจจุบันคือตาบลรุมมินเด ประเทศเนปาล)
ราชวงศ์ของพระพุทธเจ้า
พระเจ้าโอกกากราชมีพระราชโอรส4พระองค์และมีพระราชธิดา5พระองค์องค์โตเป็นราชธิดาต่อมาพระมเหสีทิวงคต
พระเจ้าโอกกากราชทรงมีพระมเหสีใหม่1พระองค์ พระเจ้าโอกกากราชทรงปลาบปลื้มพระราชหฤหัยมาก
ถึงกับตรัสแก่มเหสีใหม่ว่า“จะขอสิ่งใดก็ได้ จะพระราชทานให้ทุกอย่าง”
พระมเหสีใหม่จึงทูลขอพระราชสมบัติให้แก่ราชโอรสของพระนางพระเจ้าโอกกากราชทรงจาพระทัยให้โอรสและธิดาทั้ง 9
พระองค์พากันอพยพไปสร้างนครอยู่ใหม่โดยไปพบดินแดนในดงไม้สักกะเชิงเขาหิมาลัย
ซึ่งดงไม้นี้เป็นที่อยู่ของฤษีกปิละจึงพากันสร้างนครขึ้นในที่นั้นเรียกว่า “นครกบิลพัสด์”เรียกแคว้นว่า“สักกะ
ครั้นสร้างนครเสร็จแล้วพระราชโอรสพระราชธิดาทั้งหลายเว้นพระพี่นางต่างพากันอภิเษกสมรสในระหว่างพี่ๆน้อง ๆ กันเอง
โดยตั้งราชวงศ์ใหม่ขึ้นเรียกว่า “ศากยวงศ์”ส่วนพระพี่นางต่อมาได้อภิเษกสมรสกับกษัตริย์เทวทหะแล้วตั้งโกลิยะวงศ์ขึ้น
กษัตริย์ทั้งสองแคว้นนี้สืบเชื้อสายติดต่อกันเรื่อยมาตามลาดับได้หลายบริสยุคจนกระทั่งถึงยุคที่พระเจ้าชัยเสนะครองนครกบิล
พัสดุ์และพระเจ้าอัญชนะครองนครเทวทหะ
ต่อมาพระเจ้าชัยเสนะมีโอรสชื่อ“สีหนุ”
ราชธิดาชื่อ“ยโสธรา”เจ้าชายสีหนุได้อภิเษกสมรสกับพระนางกัญจนาซึ่งเป็นเชษฐภคินีของพระเจ้าอัญชนะ
ส่วนเจ้าหญิงยโสธราก็ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าอัญชนะ เมื่อพระเจ้าชัยเสนะสวรรคตแล้ว
เจ้าชายสีหนุก็ขึ้นครองราชสมบัติแทนมีพระราชโอรส 6พระองค์และพระ-ราชธิดาอีก1พระองค์
องค์โตทรงพระนามว่า“สุทโธทนะ”ราชธิดาองค์เล็กชื่อ“อมิตา”
ฝ่ายพระเจ้าอัญชนะมีพระราชโอรสและพระราชธิดากับพระนางยโสธรา 4พระองค์
องค์ใหญ่ชื่อ“สุปปพุทะ” ราชธิดาองค์พี่ชื่อ“สิริมหามายา”องค์น้องชื่อ“ปชาบดี” หลังจากที่พระเจ้าสีหนุสวรรคตแล้ว
พระเจ้าสุทโธทนะก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติในนครกบิลพัสดุ์และได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสิริมหามายา
ฝ่ายพระนางสิริมหามายาครั้นทรงพระครรภ์แก่ ครบกาหนดพระประสูติกาลพระนางจึงเสด็จไปนครเทวทหะ
เพื่อประสูติตามโบราณประเพณีที่ถือกันในยุคนั้นว่าสตรีที่มีครรภ์แก่ต้องไปคลอดบุตรในสกุลเดิม
ครั้นเดินทางไปถึงตาบลลุมพินีวันเขตดินแดนติดต่อระหว่างนครกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ
พระนางประชวรพระครรภ์ได้ประสูติพระราชโอรสณสถานที่นั้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมก่อน พ.ศ.80 ปี (
เป็นปีอัญชันศักราชปีที่ 68 อัญชันศักราชนี้พระเจ้าอัญชนะทรงตั้งขึ้นเริ่มใช้ก่อนพ.ศ.1 นับถอยหลังไป147 ปี )
ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่าเดือนหก ปีจอ เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบว่าพระมเหสีได้ประสูติโอรสแล้ว
จึงตรัสสั่งให้อัญเชิญกลับพระนครโดยด่วน
ก่อนพุทธศักราช๘๐ปี พระนางสิริมายาราชธิดาของกษัตริย์โกลิยวงค์ผู้ครองกรุงเทวทหะพระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ
กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ทรงประสูติพระโอรสเมื่อวันศุกร์ ขึ้น๑๕ค่าเดือน ๖ ปีจอ ณ สวนลุมพินีวัน
ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ(ปัจจุบันคือ ตาบลรุมมินเดประเทศเนปาล)
ถวายพระนาม
เมื่อพระนางสิริมหามายาได้ประสูติพระราชโอรสได้ 5วันแล้วพระเจ้าสุทโธทนะพระราชบิดาได้โปรดฯให้มีการประชุมใหญ่
ผู้เข้าประชุมมีพระญาติวงศ์ ทั้งฝ่ายพระบิดาและฝ่ายพระมารดา มุข อามาตย์ ราชมนตรี และพราหมณ์ผู้รอบรู้ไตรเวท เพื่
อทาพิธีมงคลในการนี้คือพราหมณ์ มีทั้งหมด 108 แต่พราหณ์ผู้ทาหน้าที่นี้จริงๆ มีเพียง8
คน นอกนั้นมาในฐานะคล้ายพระอันดับ พราหมณ์ทั้ง 8 มีรายนาม ดังนี้
1.รามพราหมณ์
2.ลักษณพราหมณ์
3.อัญญพราหมณ์
4.ธุชพราหมณ์
5.โภชพราหมณ์
6.สุทัตตพราหมณ์
7.สุยามพราหมณ์
8.โกณทัญญพราหมณ์
ที่ประชุมลงมติขนานพระนามพระราชกุมารว่า "สิทธัตถะ" ซึ่งเป็นมงคลนาม มี ความหมายสองนัย นัยหนึ่งหมายความว่
า ผู้ทรงปรารถนาสิ่งใดจะสาเร็จสิ่งนั้นดังพระประสงค์ อีกนัย หนึ่งหมายความว่าพระโอรสพระองค์แรกสมดังที่พระราชบิดาท
รงปรารถนา
อสีตดาบสเป็นมหาฤษีอยู่ ณเชิงเขาหิมพานต์เป็นที่เคารพของราชสกุลได้รับ
ทราบข่าวการประสูตรของพระกุมารจึงเดินทางมาเยี่ยมและได้ทานายว่าถ้าพระกุมารอยู่ครองฆราวาสจะได้เป็นจักรพรรดิ
ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ๕วันหลังประสูติพระเจ้าสุทโธทนะพร้อมทั้งพระนางสิริมหามายา
พระประยูรญาติได้จัดพิธีขนานพระนามพระราชกุมารว่าสิทธัตถะโดยเชิญพราหมณ์ ๑๐๘คนมาเลี้ยง
แล้วได้คัดเลือกเอาพราหมณ์ชั้นยอด๘คนให้เป็นผู้ทานายลักษณะพระกุมารเมื่อประสูติได้ ๗วัน พระมารดาก็เสด็จทิวงคต
พระเจ้าสุทโธทนะจึงมอบให้พระนางประชาบดีซึ่งเป็นพระขนิษฐาของพระนางสิริมหามายาเป็นผู้เลี้ยงดู
ศึกษาเล่าเรียน
หลังประสูติได้ 7 วันพระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์เจ้าชายสิทธัตถะทรงอยู่ในความดูแลของพระนางปชาบดีโคตมี
ซึ่งเป็นพระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายุ8พรรษาได้ทรงศึกษาในสานักครูวิศวะมิตร
พระองค์ทรงศึกษาได้อย่างรวดเร็วมีความจาดีเลิศและทรงพระปรีชาสามารถในการกีฬาขี่ม้าฟันดาบ
และยิงธนูทรงศึกษาเล่าเรียนในสานักครูวิศวามิตร จนจบระดับสูงของการศึกษาทางโลกในสมัยนั้นคือ
พระเวทและศิลปศาสตร์ 18ศาสตร์
1. พระเวท
เป็นคัมภีร์ของศาสตนาพราหมณ์ มี3 อย่างเรียกไตรเพทภายหลังเพิ่มอีก 1เป็น 4 เวท ประกอบด้วย
1.1 ฤคเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่องว่าด้วยการสร้างโลกและบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย
1.2 สามเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่อง ว่าด้วยการสรรเสริญเทพเจ้าและพิธีกรรม
1.3 ยชุรเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่อง ว่าด้วยการบูชายัญ
1.4 อถรรพเวทในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่องว่าด้วยการทาพิธีป้องกันอันตรายต่างๆ
2. ศิลปศาสตร์ 18ประการประกอบด้วย
อักษรศาสตร์์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาหนังสือ
สามารถอ่านคัมภีร์ศาสนา ตาราวิชาการและประวัติศาสตร์ที่จารึกไว้แต่โบราณกาลได้
นิติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชากฎหมายและจารีตประเพณีต่างๆ
ฉันทศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาการประพันธ์การแต่งหนังสือทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
นิรุกติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาภาษารู้ภาษาของตนเองดี และรู้ภาษาของชาติอื่นที่ติดต่อเกี่ยวข้องกัน
รัฐศาสตร ในศิลปศาสตร์ 18 ประการ
เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาการปกครอง รู้จักบริหารบ้านเมือง ทาให้ราษฎรมีความจงรักภัคดีและมีความสุข
ยุทธศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้อาวุธต่างๆในการรบอย่างชานาญ
ศาสนศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาศาสนา รู้ประวัติความเป็นมาของทุกศาสนาและรู้คาสอนในศาสนาต่างๆ
โหราศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาโหร รู้จักการพยากรณ์ เหตุการต่างๆและรูจักทายชะตาราศรีของคน.
โชยติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาดูดวงดาวต่างๆให้รู้ว่าดวงดาวนั้นอยู่ทางทอศไหนรู้จักสีแสงของดวงดาว
อันจะบอกลางดีลางร้าย
คณิตศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาคาณวนสามารถคิดเลขตั้งแต่จานวนน้อยๆจนถึงเลขหลักสูงๆ
เกี่ยวกับราคาสินค้าพื้นที่ปฏิทินและยุคต่างๆของโลก.
คันธัพพศาสตรเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาคนธรรพ์คือวิชาร้องราที่เรียกว่า
นาฏยศาสตร์ และวิชาดนตรีปี่พาทย์ที่เรียกว่าดุริยางคศาสตร์.
เหตุศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชารู้เหตุว่าจะเกิดผลดีหรือร้าย.
เวชศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาหมอยา รู้จักสมุนไพรและวิธีปรุงยาแก้โรคต่างๆ.
สัตวศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชารู้ลักษณะของสัตว์และเสียงของสัตว์ว่าร้ายหรือดี
วาณิชยศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาการค้าขายให้รู้จักชนิดของสินค้า วิธีและเส้นทางการค้า
ภูมิศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาพื้นที่ให้รู้จักแผนที่ของประเทศต่างๆ
โยคศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาช่างกลรู้จักกลไกของยานพาหนะและเครื่องมือต่างๆ
มายาศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชารู้กลอุบายหรือรู้ตารับพิชัยสงคราม
อภิเษกสมรส
พระญาติวงศ์ของพระพุทธเจ้านั้นมีสองฝ่าย คือฝ่ายพระมารดาและฝ่ายบิดา ทั้งสองฝ่ายอยู่คนละเมือง มีแม่น้าโรหิณีไหลผ่า
นเป็นเขตกั้นพรมแดนพระญาติวงศ์ฝ่ายมารดามีชื่อว่า โกลิยวงศ ครองเมืองเทวทหะ
พระญาติวงศ์ฝ่ายพระบิดาชื่อศากยวงศ ครองเมืองกบิลพัสดุ์
ทั้งสองนครนี้เกี่ยวดองเป็นพระญาติกัน มีความรักกันฉันพี่น้องร่วมสายโลหิต ต่างอภิเษกสมรสกันและกันเสมอมา ผู้ครอ
งเมืองกบิลพัสดุ์คือ พระเจ้าสุทโธทนะ ส่วนพระเจ้าสุปปพุทธะ
เป็นกษัตริย์ผู้ครองเมืองเทวทหะ พระชายาของพระเจ้าสุปปพุทธะ มีพระนามว่าพระนางอมิตา เป็นกนิษฐภคินี คือ น้องส
าวคนเล็กของพระเจ้าสุทโธทนะ กลับกันคือพระชายาของพระเจ้าสุทโธทนะหรือพระมารดาของพระพุทธเจ้า
มีพระนามว่าพระนางสิริมหามายา พระนางเป็นน้องสาวของพระเจ้าสุปปพุทธะ ทั้งสองทรงอภิเษกสมรสกับ พระภคินี
ของกันและกัน พระเจ้าสุปปพุทธะมีโอรสและพระธิดาอันเกิดกับพระนางอมิตาสองพระองค์
พระโอรส คือ เทวทัต พระธิดา คือ พระนางยโสธราพิมพา
พระพระเจ้าสุทโธทนะมีพระราชประสงค์ที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเพศฆราวาสเป็นพระจักพรรดิผู้ทรงธรรม จึง
พระราชทานความสุขเกษมสาราญ แวดล้อมด้วยความบันเทิงนานาประการแก่พระราชโอรสเพื่อผูกพระทัย
ให้มั่นคงในทางโลก พระญาติวงศ์ทั้งสองฝ่ายทรงเห็นพร้อมกันว่า พระนางยโสธราพิมพาทรงพร้อมด้วยคุณสมบัติทุกอย่าง
สมควรจะอภิเษกสมรสกับเจ้าชายสิทธัตถะ พระราชพิธีอภิเษกสมรสจึงได้มีขึ้นเมื่อ เจ้าชายสิทธัตถะเจริญพระชนม์ได้ 16
พรรษาพระเจ้าสุทโธทนะจึงโปรดให้สร้างปราสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง
สาหรับให้พระราชโอรสได้ประทับอย่างเกษมสาราญตามฤดูกาลทั้ง 3ฤดูคือ
ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว แล้วตั้งชื่อปราสาทนั้นว่า รมยปราสาท สุรมยปราสาท และสุภปราสาท
พร้อมสระบัวอีกสามสระอุบลบัวขาบสระหนึ่งปทุมบัวหลวงสระหนึ่ง
และบุณฑริกบัวขาวอีกสระหนึ่งตามลาดับ และทรงสู่ขอพระนางพิมพาหรือยโสธรา
พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะกับพระนางอมิตาแห่งเทวทหะนครในตระกูลโกลิยวงค์
ให้อภิเษกด้วย เจ้าชายสิทธัตถะได้เสวยสุขสมบัติจนพระชนมายุมายุได้ 29พรรษา
พระนางพิมพายโสรธาจึงประสูติพระโอรส พระองค์มีพระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเป็นอย่างยิ่ง เมื่อพระองค์ทรงทราบถึ
งการประสูติของพระโอรสพระองค์ตรัสว่า ราหุลัง ชาตัง พันธะนัง
ชาตัง บ่วงเกิดแล้ว เครื่องผูกมัดเกิดแล้วเกิดแล้ว แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า
" ห่วงเกิดขึ้นเสียแล้ว" คาที่แปลว่า"ห่วง" ในพระอุทานของเจ้าชายสิทธัตถะ
คือ ราหุลัง หรือ ราหุล ต่อมาคานี้ได้ถวายเป็นพระนามของราหุลกุมารที่เจ้าชายสิทธัตถะเปล่งอุทานขึ้นมาว่า
"ห่วงเกิดขึ้นเสียแล้ว"นั้น
หมายถึงว่า พระองค์กาลังตัดสินพระทัยจะเสด็จออกบวช กาลังจะตัดห่วงหาอาลัยในฆราวาสอย่างอื่น ก็เกิดมีห่วงใหม่ขึ้นม
าผูกมัดเสียแล้ว
ออกพรรษา
สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดความรู้สึกสังเวชและเบื่อหน่ายในความสุข
ที่พระราชบิดาพระราชทานให้ ก็เพราะทรงเห็นสิ่งที่เรียกว่า เทวทูต
4 ระหว่างทางขณะเสด็จประพาสพระราชอุทยานนอกเมืองด้วยรถม้าพระที่นั่ง พร้อมด้วยสารถีคนขับ เทวทูตทั้ง 4 คือ คน
แก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ
ทรงเห็นคนแก่ก่อนในปฐมสมโพธิบรรยายลักษณะของคนแก่ไว้ว่า "มีเกศาอันหงอก แลสีข้างก็คดค้อม
กายนั้นง้อมเงื้อมไปในเบื้องหน้า มือถือไม้เท้าเดินมาในระหว่างมรรควิถี มีอาการอันไหวหวั่นสั่นไปทั่วทั้งกาย
ควรจะสังเวช"ก็ทรงสังเวชสลดพระทัย เช่นเดียวกับเมื่อทรงเห็นคนเจ็บและคนตายในครั้งที่สอง และที่
สาม เมื่อเสด็จประพาสพระราชอุทยาน ทรงปรารภถึงพระองค์ว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ทรงพระดาริว่า
สภาพธรรมดาในโลกนี้ย่อมมีสิ่งตรงกันข้ามคู่กัน คือ มีมืดแล้วมีสว่าง มีร้อนแล้วมีเย็น เมื่อมีทุกข์
ทางแก้ทุกข์ก็น่าจะมี
ในคราวเสด็จประพาสพระราชอุทยานครั้งที่ 4ทรงเห็นนักบวช "นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์
กอปรด้วยอากัปกิริยาสารวม"
เมื่อทรงเห็นนักบวชก็ทรงเกิดพระทัยน้อมไปในทางบรรพชา ทรงราพึงในพระทัยที่เรียกอีกอย่างหนึ่ง ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า
"สาธุ ปัพพชา" สองคานี้เป็นภาษาบาลี แปลให้ตรงกับสานวน
ไทยว่า "บวชท่าจะดีแน่" แล้วก็ตัดสินพระทัยว่า จะเสด็จออกบวชครั้นถึงยามสองทรงปลุกนายฉันนะให้ผูกม้ากัณฐกะ
เพื่อประทับเป็นพาหนะเสด็จออกบรรพชา
ม้าพระที่นั่งที่เจ้าชายเสด็จขึ้นทรง เพื่อเสด็จออกบวชครั้งนี้ มีชื่อว่า กัณฐกะ เป็นสหชาติ
คือเกิดวันเดียวกับเจ้าชายเมื่อเจ้าชายเสด็จเข้าใกล้ม้า ทรงยกพระหัตถ์ขวาลูบหลังกัณฐกะ เจ้าชายทรงชานาญในเรื่องม้ามา
ก ทรงสามารถสะกดม้าไม่ให้ส่งเสียงร้องได้
จากนั้นก็เสด็จขึ้นหลังกัณฐกะ บ่ายพระพักตร์ออกไปทางประตูเมืองที่ชื่อพระยาบาลทวารโดยมีนายฉันนะมหาดเล็กตามเสด็
จไปข้างหลัง วันที่เสด็จออกบวชนั้น หนังสือปฐมสมโพธิบอกว่าเป็นวัน
เพ็ญเดือน 8 พระจันทร์แจ่มในท่ามกลางท้องฟ้าปราศจากเมฆ
พระองค์ทรงมุ่งหน้าสู่แคว้นมคธ ทรงขับม้าพระที่นั่งไปตลอดคืนไปสว่างเอาที่แม่น้าอโนมา ซึ่งเป็นเขตแดนกั้นเมืองทั้ง
3 คือ กบิลพัสดุ์ สาวัตถี และไพศาลี
ทรงพาม้าและมหาดเล็กข้ามแม่น้า แล้วเสด็จลงจากหลังม้าประทับนั่งบนหาดทราย อัน
ขาวดุจแผ่นเงิน พระหัตถ์ขวาจับพระขรรค์แสงดาบ พระหัตถ์ซ้ายจับพระจุฬา คือ ยอดหรือปลาย
พระเกศากับพระโมฬี คือ มุ่นพระเกศา หรือผมที่มุ่นเป็นมวย แล้วทรงตัดด้วยพระขรรค์แสงดาบ
เหลือพระเกศาไว้ยาวประมาณ 2 นิ้ว เป็นวงกลมเวียนไปทางขวา
เสร็จแล้วทรงเปลื้องพระภูษาทรงออก แล้วทรงครองผ้ากาสาวพัสตร์ แล้วทรงอธิษฐานเพศเป็นนักบวชที่บนหาดทรายริมฝั่งแม่
น้าอโนมานั่นเอง
ข้าศึกษาในสานักดาบส
การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงออกบวชแล้วเจ้าชายสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสานักอาฬารดาบสที่กรุงราชคฤห์
อาณาจักรมคธเมื่อสาเร็จการศึกษาจากสานักนี้แล้วพระองค์ทรงเห็นว่าไม่ใช่หนทางในการหลุดพ้นจากทุกข์ตามที่พระองค์ได้ท
รงมุ่งหวังไว้พระองค์จึงลาอาฬารดาบสและอุททกดาบสเดินทางไปแถบแม่น้าคยาในตาบลอุรุเวลาเสนานิคมแห่งกรุงราชคฤห์
อาณาจักรมคธ
บาเพ็ญทุกรกิริยา
การบาเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึงกิริยาที่ทาได้ยาก อาทิการลดปริมาณในการรับประทานอาหาร
จนถึงขั้นไม่รับประทานเลย การกลั้นลมหายใจการบาเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีการทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ
เป็นวิธีของโยคี
หลังจากโยคีสิทธัตถะทรงศึกษาจากสานักอุทกดาบสรามบุตรและอุทกดาบสจนสาเร็จสมาบัติ7
จากสานักอาฬารดาบสกาลามโคตรและสมาบัติ8แล้ว พระองค์ทรงเห็นว่าวิชาที่ศึกษามายังมิใช่หนทางแห่งโพธิญาณ
จึงอาลาออกจากสานัก
เมื่อพระองค์ทรงเปลี่ยนพระทัยที่จะคิดค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์เองแทนที่จะทรงเล่า
เรียนในสานักอาจารย์ทั้งสองแล้วพระองค์เริ่มด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธีการของโยคี
เรียกว่าการบาเพ็ญทุกรกิริยา ณบริเวณแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคมมีปัญจวัคคีย์ได้แก่ โกณฑัญญะวัปปะ
ภัททิยะ มหานามะและอัสสชิเป็นอุปัฏฐาก พระองค์ทรงกระทาทุกรกิริยาเช่น ลดอาหารลงทีละน้อยจนถึงงดเสวย
ร่างกายซูบผอมพระโลมา(ขน) มีรากเน่าหลุดออกมาแลเห็นพระอัฐิได้ชัดเจนทั่วพระวรกายการกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสะ
ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาติดต่อกันเป็นเวลานาน 6 ปี จนมีพระวรกายผ่ายผอมแต่ก็ยังคงไม่ได้พบหนทางหลุดพ้นจากทุกข์ได้
เพราะเป็นการปฏิบัติฝ่ ายอัตตกิลมถานุโยคในที่สุดพระองค์จึงทรงเลิกการบาเพ็ญทุกรกิริยา
แล้วกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบารุงพระวรกายให้แข็งแรงจะได้มีกาลังในการคิดค้นพบวิธีใหม่
ขณะที่พระองค์ได้ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาอยู่นั้นปัญจวัคคีย์คอยปรนนิบัติรับใช้ ด้วยความหวังว่า
เมื่อพระองค์ได้ตรัสรู้พวกตนจะได้รับการถ่ายทอดโมกขธรรมบ้างเมื่อพระองค์ล้มเลิกการบาเพ็ญ ทุกรกิริยา
ปัญจวัคคีย์ก็ได้ชวนกันละทิ้งพระองค์ไปทั้งหมดเป็นผลทาให้พระองค์ได้อยู่ตามลาพังในที่สงบเงียบ
ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวงพวกปัญจวัคคีย์ได้หนีไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันกรุงพาราณสี
พระองค์ได้ทรงตั้งพระสติและเดินทางสายกลางคือการปฏิบัติในความพอเหมาะพอควรหรือเรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทา
ตรัสรู้
โยคีสิทธัตถะประทับนั่งไม่หวั่นไหวที่โพธิบัลลังก์ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดใน
พระทัยด้วยวิธีที่เรียกว่าเข้าฌานแล้วทรงบรรลุญาณหมายถึงวิธีทาจิตให้เป็นสมาธิคือการทาให้จิตแน่วแน่
ไม่ฟุ้งซ่านคิดโน่นคิดนี่อย่างปุถุชนธรรมดาส่วนญาณคือปัญญาความรู้แจ้งคือฌาน
แสงสว่างอันเกิดจากแสงเทียนเท่ากับปัญญาพระมหาบุรุษทรงบรรลุญาณที่หนึ่งในตอนปฐมยาม(ประมาณ3ทุ่ม=21.00
น.)
ญาณที่หนึ่งนี้เรียกว่าบุพเพนิวาสานุสติญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงอดีตชาติหนหลังทั้งของตนและของคนอื่นพอถึง
มัชฌิมยาม (ประมาณเที่ยงคืน24.00น. ) ทรงบรรลุญาณที่สองที่เรียกว่า จุตูปปาตญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงความจุติ
คือ ดับและเกิดของสัตวโลกตลอดถึงความแตกต่างกันที่เรียกว่ากรรมพอถึงปัจฉิมยาม(03.00น)
ทรงบรรลุญาณที่สามคือ อาสวักขยญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงความสิ้นไปของกิเลสและอริยสัจ4คือ ความทุกข์
เหตุเกิดของความทุกข์ความดับทุกข์และวิธีดับทุกข์การได้บรรลุญาณทั้งสามของพระมหาบุรุษนั้นเรียกว่า
ตรัสรู้ความเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเกิดขึ้นในคืนวันขึ้น15ค่า เดือน 6 หลังจากนั้นพระนามว่าสิทธัตถะก็ดีพระโพธิสัตว์ก็ดี
ที่เกิดใหม่ ตอนก่อนตรัสรู้ว่าพระมหาบุรุษก็ดีได้กลายเป็นพระนามในอดีตหนหลังเพราะตั้งแต่นี้ต่อไปทรงมีพระนามใหม่
ว่าอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าแปลว่าพระผู้ตรัสรู้ธรรมเครื่องหลุดพ้นจากกิเลสโดยชอบด้วยพระองค์เอง เหตุการณ์ครั้งนี้จึงเป็
นที่มหัศจรรย์เป็นอย่างยิ่งกวีจึงแต่งความเป็นปุคคลาธิษฐานเฉลิมพระเกียรติพระพุทธเจ้าว่านาสัตว์มนุษย์นิกร
และทวยเทพในหมื่นโลกธาตุหายทุกข์หายโศกสิ้นวิปโยคจากผองภัยสัตว์ทั้งหลายต่างมีเมตตาจิตต่อกันทุกถ้วนหน้า
เว้นจากเวรานุเวรอาฆาตมาดร้ายแก่กัน ทวยเทพต่างบรรเลงดนตรีสวรรค์ร่ายราขับร้อง
แซ่ซ้องถวายเป็นพุทธบูชาและกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณกันทั่วหน้า
ปฐมเทศนา
โยคีสิทธัตถะประทับนั่งไม่หวั่นไหวที่โพธิบัลลังก์ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดใน
พระทัยด้วยวิธีที่เรียกว่าเข้าฌานแล้วทรงบรรลุญาณหมายถึงวิธีทาจิตให้เป็นสมาธิคือการทาให้จิตแน่วแน่
ไม่ฟุ้งซ่านคิดโน่นคิดนี่อย่างปุถุชนธรรมดาส่วนญาณคือปัญญาความรู้ แจ้งคือฌาน
การแสดงปฐมเทศนาวันขึ้น๑๔ค่า เดือนอาสาฬหะ(เดือน ๘) ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
พระพุทธเจ้าเสด็จไปหาปัญจวัคคีย์ พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมในวันขึ้น๑๕ค่าเดือน ๘
เรียกว่าธรรมจักกัปวัตนสูตรในขณะที่ทรงแสดงธรรมนั้นท่านโกณฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือพระโสดาบัน
ได้ทูลขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของสัมมสัมพุทธเจ้าเรียกการบวชครั้งนี้ว่า"เอหิภิกขุอุปสัมปทา"พระอัญญาโกณฑัญญะ
จึงเป็นพระภิกษุรูปแรกในพุทธศาสนา
การประกาศศาสนา
เมื่อพระองค์ มีสาวกเป็นพระอรหันต์๖๐องค์และก็ได้ออกพรรษาแล้วทรงพิจารณาเห็นสมควรว่าจะออกไปประกาศศาสนา
ให้เป็นที่แพร่หลายได้แล้วพระองค์จึงเรียกประชุมสาวกทั้งหมดแล้วตรัสว่า"ภิกษุทั้งหลาย
เราได้พ้อนจากบ่วงทั้งปวงทั้งชนิดที่เป็นทิพย์และชนิดที่เป็นของมนุษย์แล้วแม้ท่านทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน
เราทั้งหลายจงพากันจาริกไปยังชนบททั้งหลายเพื่อประโยชน์และความสุขแก่มหาชนเถิด
อย่าไปรวมกันทางเดียวถึงสองรูปเลยจงแสดงธรรมให้งามทั้งในเบื้องต้นท่ามกลางและที่สุดพร้อมทั้งอรรถ
พร้อมทั้งพยัญชนะเถิดจงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิงสัตว์ทั้งหลายที่มีกิเลสเบาบางนั้นมีอยู่
เพราะโทษที่ไม่ได้ฟังธรรมย่อมจะเสื่อมจากคุณที่จะพึงได้ถึงผู้รู้ทั่วถึงธรรมคงจักมีอยู่แม้ตัวเราก็จะไปยังอุรุเวลาเสนานิคม
เพื่อแสดงธรรมเช่นกัน"พระองค์ทรงส่งสาวกออกประกาศศาสนาพร้อมกันทีเดียว ๖๐องค์ไป๖๐ สายคือ
ไปกันทุกสารทิศทีเดียวแม้พระองค์เองก็ไปเหมือนกันไม่ใช่แต่สาวกอย่างเดียวเท่านั้น
นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของบุคคลที่จะเป็นผู้นาทีเดียว
สาวกทั้ง๖๐องค์เมื่อได้รับพุทธบัญชาเช่นนั้นก็แยกย้ายกันไปประกาศศาสนาตามจังหวัดอาเภอและตาบลต่างๆ
ทาให้กุลบุตรในดินแดนถิ่นฐานต่างๆเหล่านั้นหันมาสนใจมากเลื่อมใสมากขึ้นบางคนขอบวช
แต่สาวกเหล่านั้นยังให้บวชเองไม่ได้ จึงต้องพากุลบุตรเหล่านั้นมาเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อให้พระองค์บวชให้ทาให้ได้รับความลาบ
ากในการเดินทางมาก
ฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาตให้สาวกเหล่านั้นอุปสมบทกุลบุตรได้โดยโกนผมและหนวดเคราเสียก่อน
แล้วจึงให้นุ่งห่มผ้าย้อมด้วยน้าฝาดนั่งคุกเข่าพนมมือกราบภิกษุแล้วเปล่งว่าจาว่า"ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นสรณะข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ"รวม ๓ครั้ง การอุปสมบทนี้เรียกว่า"ติสรณคมนูปสัมปทา"
คือ อุปสมบทโดยวิธีให้ปฏิญญาณตนเป็นผู้ถึงสรณคมน์
ตั้งแต่พรรษาที่๑ที่พระองค์ได้สาวกเป็นพระอรหันต์จานวน๖๐
องค์แล้วพระองค์ก็ได้อาศัยพระมหากรุณาคุณทาการประกาศเผยแผ่คาสอนจนได้สาวกเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา
เป็นพุทธบริษัท ๔ขึ้น อย่างแพร่หลายและมั่นคงการประกาศศาสนาของพระองค์ได้ดาเนินการไปอย่างเข้มแข็ง
โดยการจาริกไปยังหมู่บ้านชนบทน้อยใหญ่ในแคว้นต่างๆทั่วชมพูทวีปตลอดเวลาอีก ๔๔พรรษาคือพรรษาที่๒- ๔๕ดังนี้
พรรษาที่๒เสด็จไปยังเสนานิคมในตาบลอุรุเวลาในระหว่างทางได้สาวกกลุ่มภัททวคคีย์ ๓๐คน และที่ตาบลอุรุเวลาได้ ชฎิล
๓พี่น้อง คืออุรุเวลกัสสปะนทีกัสสปะและคยากัสสปะกับศิษย์๑,๐๐๐คน เทศนาอาทิตตปริยายสูตร
ที่คยาสีสะเสด็จไปยังราชคฤห์แห่งแควว้นมคธกษัตริย์เสนิยะพิมพิสารทรงถวายสวนเวฬุวันแด่คณะสงฆ์ได้สารีบุตร
และโมคคัลลานะเป็นสาวกอีก ๒เดือนต่อมาเสด็จไปยังกบิลพัสดุ์ทรงพานักที่นิโครธารามได้สาวกมากมายเช่นนันทะ
ราหุลอานนท์ เทวทัต และพระญาติอื่นๆอนาถปิณฑิกะเศรษฐีอาราธนาไปยังกรุงสาวัตถีแห่งแคว้นโกศล
ถวายสวนเชตวันแต่คณะสงฆ์ทรงจารรษาที่นี่
พรรษาที่๓นางวิสาขาถวายบุพพารามณกรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษาที่นี่
พรรษาที่๔ทรงจาพรรษาที่เวฬุวันณกรุงราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ
พรรษาที่๕โปรดพระราชบิดาจนได้บรรลุอรหัตตผล
ทรงไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างพระญาติฝ่ายสักกะกับพระญาติฝ่ายโกลิยะเกี่ยวกับการใช้น้าในแม่น้าโรหิณี
ทรงบรรพชาอุปสมบทพระนางปชาบดีโคตมีและคณะเป็นภิกษุณี
พรรษาที่๖ ทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ในกรุงสาวัตถีย์ทรงจาพรรษาบนภูเขามังกลุบรรพต
พรรษาที่๗ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี
ระหว่างจาพรรษาเสด็จขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์โปรดพุทธมารดาด้วยพระอภิธรรม
พรรษาที่๘ทรงเทศนาในแคว้นภัคคะทรงจาพรรษาในสวนเภสกลาวัน
พรรษาที่๙ทรงเทศนาในแคว้นโกสัมพี
พรรษาที่๑๐คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีแตกแยกกันอย่างรุนแรงทรงตกเตือนไม่เชื่อฟังจึงเสด็จไปประทับและจาพรรษาในป่า
ปาลิเลยยกะมีช้างเชือกหนึ่งมาเฝ้าพิทักษ์และรับใช้ตลอดเวลา
พรรษาที่๑๑เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีปรองดองกันได้ ทรงจาพรรษาในหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อเอกนาลา
พรรษาที่๑๒ทรงเทศนาและจาพรรษาที่เวรัญชาเกิดความอดอยากรุนแรง
พรรษาที่๑๓ทรงเทศนาและจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต
พรรษาที่๑๔ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ราหุลขอบรรพชาอุปสมบท
พรรษาที่๑๕เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์สุปปพุทธะถูกแผ่นินสูบเพราะขัดขวางทางโคจร
พรรษาที่๑๖ทรงเทศนาและจาพรรษาที่อาลวี
พรรษาที่๑๗เสด็จไปยังกรุงสวัตถี กลับมายังอาลวีและทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์
พรรษาที่๑๘เสด็จไปยังอาลวีทรงจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต
พรรษาที่๑๙ทรงเทศนาและจาพรรษาที่บนภูเขาจาลิกบรรพต
พรรษาที่๒๐ โจรองคุลีมาลย์กลับใจเป็นสาวก ทรงแต่งตั้งให้พระอานนท์รับใช้ใกล้ชิดตลอดกาลทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์
ทรงเริ่มบัญญัติวินัย
พรรษาที่๒๑ - ๔๔ ทรงยึดเอาเชตวันและบุพพารามในกรุงราชคฤห์เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่และเป็นที่ประทับจาพรรษา
เสด็จพร้อมสาวกออกเทศนาโปรเวไนยสัตว์ตามแว่นแคว้นต่างๆโดยรอบ
พรรษาที่๔๕และสุดท้ายพระเทวทัตคิดปลงพระชนม์กลิ้งก้อนหินจนเป็นเหตุให้พระบาทห้อโลหิต
ทรงได้รับการบาบัดจากหมอชีวก
ทรงปรินิพาน
การเสด็จปรินิพพานหลังจากพระพุทธเจ้าแสดงปัจฉิมโอวาทซึ่งวันนั้นตรงกับวันเพ็ญเดือนวิสาขะ(เดือน ๖)
ในยามสุดท้ายของวันนั้นณป่าไม้สาละ(สาลวันอุทยาน)ของกษัตริย์มัลละกรุงกุสินาราพระองค์ได้ประทับใต้ต้นสาละคู่
หลังจากตรัสโอวาทให้แก่พระอริยสงฆ์แล้วพระองค์มิได้ตรัสอะไรอีกแล้วเสด็จปรินิพพานด้วยพระอาการสงบ
ซึ่งเป็นที่น่าอัศจรรย์นักที่วันประสูติวันตรัสรู้ และวันปรินิพพานของพระพุทธเจ้าตรงกันคือวันเพ็ญเดือน๖
สกุลกาเนิดและปฐมวัย
หลังจากประสูติ
อภิเษกสมรส
ออกบรรพชา
ประวัติพระพุทธเจ้า

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1Gawewat Dechaapinun
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยGawewat Dechaapinun
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 

La actualidad más candente (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 

Más de sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

Más de sangkeetwittaya stourajini (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 
Thai music12
Thai music12Thai music12
Thai music12
 

ประวัติพระพุทธเจ้า

  • 1. ประวัติพระพุทธเจ้า การศึกษาพุทธประวัติ ประวัติสาวก สาวิกาตลอดจน ชาดกต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นความเพียรพยายามของพระองค์ อันมีคุณค่าในการสร้างศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน นอกจากนี้การนาจริยาวัตรของพระศาสดา และพระสาวกมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนย่อมทาให้สามารถดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ชาติกาเนิด พระพุทธเจ้าพระนามเดิมว่า "สิทธัตถะ"เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะพระองค์ทรงถือกาเนิดในศากยวงค์สกุลโคตมะพระองค์ประสูติในวันศุกร์ ขึ้น15ค่า เดือน 6 ( เดือนวิสาขะ) ปีจอ ก่อนพุทธศักราช80ปี ณ สวนลุมพินีวันซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์แคว้นสักกะกับกรุงเทวทหะแคว้นโกลิยะ( ปัจจุบันคือตาบลรุมมินเด ประเทศเนปาล) ราชวงศ์ของพระพุทธเจ้า พระเจ้าโอกกากราชมีพระราชโอรส4พระองค์และมีพระราชธิดา5พระองค์องค์โตเป็นราชธิดาต่อมาพระมเหสีทิวงคต พระเจ้าโอกกากราชทรงมีพระมเหสีใหม่1พระองค์ พระเจ้าโอกกากราชทรงปลาบปลื้มพระราชหฤหัยมาก ถึงกับตรัสแก่มเหสีใหม่ว่า“จะขอสิ่งใดก็ได้ จะพระราชทานให้ทุกอย่าง” พระมเหสีใหม่จึงทูลขอพระราชสมบัติให้แก่ราชโอรสของพระนางพระเจ้าโอกกากราชทรงจาพระทัยให้โอรสและธิดาทั้ง 9 พระองค์พากันอพยพไปสร้างนครอยู่ใหม่โดยไปพบดินแดนในดงไม้สักกะเชิงเขาหิมาลัย ซึ่งดงไม้นี้เป็นที่อยู่ของฤษีกปิละจึงพากันสร้างนครขึ้นในที่นั้นเรียกว่า “นครกบิลพัสด์”เรียกแคว้นว่า“สักกะ ครั้นสร้างนครเสร็จแล้วพระราชโอรสพระราชธิดาทั้งหลายเว้นพระพี่นางต่างพากันอภิเษกสมรสในระหว่างพี่ๆน้อง ๆ กันเอง โดยตั้งราชวงศ์ใหม่ขึ้นเรียกว่า “ศากยวงศ์”ส่วนพระพี่นางต่อมาได้อภิเษกสมรสกับกษัตริย์เทวทหะแล้วตั้งโกลิยะวงศ์ขึ้น กษัตริย์ทั้งสองแคว้นนี้สืบเชื้อสายติดต่อกันเรื่อยมาตามลาดับได้หลายบริสยุคจนกระทั่งถึงยุคที่พระเจ้าชัยเสนะครองนครกบิล พัสดุ์และพระเจ้าอัญชนะครองนครเทวทหะ ต่อมาพระเจ้าชัยเสนะมีโอรสชื่อ“สีหนุ” ราชธิดาชื่อ“ยโสธรา”เจ้าชายสีหนุได้อภิเษกสมรสกับพระนางกัญจนาซึ่งเป็นเชษฐภคินีของพระเจ้าอัญชนะ ส่วนเจ้าหญิงยโสธราก็ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าอัญชนะ เมื่อพระเจ้าชัยเสนะสวรรคตแล้ว เจ้าชายสีหนุก็ขึ้นครองราชสมบัติแทนมีพระราชโอรส 6พระองค์และพระ-ราชธิดาอีก1พระองค์ องค์โตทรงพระนามว่า“สุทโธทนะ”ราชธิดาองค์เล็กชื่อ“อมิตา” ฝ่ายพระเจ้าอัญชนะมีพระราชโอรสและพระราชธิดากับพระนางยโสธรา 4พระองค์ องค์ใหญ่ชื่อ“สุปปพุทะ” ราชธิดาองค์พี่ชื่อ“สิริมหามายา”องค์น้องชื่อ“ปชาบดี” หลังจากที่พระเจ้าสีหนุสวรรคตแล้ว
  • 2. พระเจ้าสุทโธทนะก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติในนครกบิลพัสดุ์และได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสิริมหามายา ฝ่ายพระนางสิริมหามายาครั้นทรงพระครรภ์แก่ ครบกาหนดพระประสูติกาลพระนางจึงเสด็จไปนครเทวทหะ เพื่อประสูติตามโบราณประเพณีที่ถือกันในยุคนั้นว่าสตรีที่มีครรภ์แก่ต้องไปคลอดบุตรในสกุลเดิม ครั้นเดินทางไปถึงตาบลลุมพินีวันเขตดินแดนติดต่อระหว่างนครกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ พระนางประชวรพระครรภ์ได้ประสูติพระราชโอรสณสถานที่นั้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมก่อน พ.ศ.80 ปี ( เป็นปีอัญชันศักราชปีที่ 68 อัญชันศักราชนี้พระเจ้าอัญชนะทรงตั้งขึ้นเริ่มใช้ก่อนพ.ศ.1 นับถอยหลังไป147 ปี ) ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่าเดือนหก ปีจอ เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบว่าพระมเหสีได้ประสูติโอรสแล้ว จึงตรัสสั่งให้อัญเชิญกลับพระนครโดยด่วน ก่อนพุทธศักราช๘๐ปี พระนางสิริมายาราชธิดาของกษัตริย์โกลิยวงค์ผู้ครองกรุงเทวทหะพระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ทรงประสูติพระโอรสเมื่อวันศุกร์ ขึ้น๑๕ค่าเดือน ๖ ปีจอ ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ(ปัจจุบันคือ ตาบลรุมมินเดประเทศเนปาล) ถวายพระนาม เมื่อพระนางสิริมหามายาได้ประสูติพระราชโอรสได้ 5วันแล้วพระเจ้าสุทโธทนะพระราชบิดาได้โปรดฯให้มีการประชุมใหญ่ ผู้เข้าประชุมมีพระญาติวงศ์ ทั้งฝ่ายพระบิดาและฝ่ายพระมารดา มุข อามาตย์ ราชมนตรี และพราหมณ์ผู้รอบรู้ไตรเวท เพื่ อทาพิธีมงคลในการนี้คือพราหมณ์ มีทั้งหมด 108 แต่พราหณ์ผู้ทาหน้าที่นี้จริงๆ มีเพียง8 คน นอกนั้นมาในฐานะคล้ายพระอันดับ พราหมณ์ทั้ง 8 มีรายนาม ดังนี้ 1.รามพราหมณ์ 2.ลักษณพราหมณ์ 3.อัญญพราหมณ์ 4.ธุชพราหมณ์ 5.โภชพราหมณ์ 6.สุทัตตพราหมณ์ 7.สุยามพราหมณ์ 8.โกณทัญญพราหมณ์ ที่ประชุมลงมติขนานพระนามพระราชกุมารว่า "สิทธัตถะ" ซึ่งเป็นมงคลนาม มี ความหมายสองนัย นัยหนึ่งหมายความว่ า ผู้ทรงปรารถนาสิ่งใดจะสาเร็จสิ่งนั้นดังพระประสงค์ อีกนัย หนึ่งหมายความว่าพระโอรสพระองค์แรกสมดังที่พระราชบิดาท รงปรารถนา อสีตดาบสเป็นมหาฤษีอยู่ ณเชิงเขาหิมพานต์เป็นที่เคารพของราชสกุลได้รับ ทราบข่าวการประสูตรของพระกุมารจึงเดินทางมาเยี่ยมและได้ทานายว่าถ้าพระกุมารอยู่ครองฆราวาสจะได้เป็นจักรพรรดิ
  • 3. ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ๕วันหลังประสูติพระเจ้าสุทโธทนะพร้อมทั้งพระนางสิริมหามายา พระประยูรญาติได้จัดพิธีขนานพระนามพระราชกุมารว่าสิทธัตถะโดยเชิญพราหมณ์ ๑๐๘คนมาเลี้ยง แล้วได้คัดเลือกเอาพราหมณ์ชั้นยอด๘คนให้เป็นผู้ทานายลักษณะพระกุมารเมื่อประสูติได้ ๗วัน พระมารดาก็เสด็จทิวงคต พระเจ้าสุทโธทนะจึงมอบให้พระนางประชาบดีซึ่งเป็นพระขนิษฐาของพระนางสิริมหามายาเป็นผู้เลี้ยงดู ศึกษาเล่าเรียน หลังประสูติได้ 7 วันพระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์เจ้าชายสิทธัตถะทรงอยู่ในความดูแลของพระนางปชาบดีโคตมี ซึ่งเป็นพระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายุ8พรรษาได้ทรงศึกษาในสานักครูวิศวะมิตร พระองค์ทรงศึกษาได้อย่างรวดเร็วมีความจาดีเลิศและทรงพระปรีชาสามารถในการกีฬาขี่ม้าฟันดาบ และยิงธนูทรงศึกษาเล่าเรียนในสานักครูวิศวามิตร จนจบระดับสูงของการศึกษาทางโลกในสมัยนั้นคือ พระเวทและศิลปศาสตร์ 18ศาสตร์ 1. พระเวท เป็นคัมภีร์ของศาสตนาพราหมณ์ มี3 อย่างเรียกไตรเพทภายหลังเพิ่มอีก 1เป็น 4 เวท ประกอบด้วย 1.1 ฤคเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่องว่าด้วยการสร้างโลกและบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย 1.2 สามเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่อง ว่าด้วยการสรรเสริญเทพเจ้าและพิธีกรรม 1.3 ยชุรเวท ในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่อง ว่าด้วยการบูชายัญ 1.4 อถรรพเวทในคัมภีร์พระเวทกล่าวถึงเรื่องว่าด้วยการทาพิธีป้องกันอันตรายต่างๆ 2. ศิลปศาสตร์ 18ประการประกอบด้วย อักษรศาสตร์์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาหนังสือ สามารถอ่านคัมภีร์ศาสนา ตาราวิชาการและประวัติศาสตร์ที่จารึกไว้แต่โบราณกาลได้ นิติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชากฎหมายและจารีตประเพณีต่างๆ ฉันทศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาการประพันธ์การแต่งหนังสือทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง นิรุกติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาภาษารู้ภาษาของตนเองดี และรู้ภาษาของชาติอื่นที่ติดต่อเกี่ยวข้องกัน รัฐศาสตร ในศิลปศาสตร์ 18 ประการ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาการปกครอง รู้จักบริหารบ้านเมือง ทาให้ราษฎรมีความจงรักภัคดีและมีความสุข ยุทธศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้อาวุธต่างๆในการรบอย่างชานาญ ศาสนศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาศาสนา รู้ประวัติความเป็นมาของทุกศาสนาและรู้คาสอนในศาสนาต่างๆ โหราศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาโหร รู้จักการพยากรณ์ เหตุการต่างๆและรูจักทายชะตาราศรีของคน. โชยติศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาดูดวงดาวต่างๆให้รู้ว่าดวงดาวนั้นอยู่ทางทอศไหนรู้จักสีแสงของดวงดาว อันจะบอกลางดีลางร้าย คณิตศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาคาณวนสามารถคิดเลขตั้งแต่จานวนน้อยๆจนถึงเลขหลักสูงๆ เกี่ยวกับราคาสินค้าพื้นที่ปฏิทินและยุคต่างๆของโลก. คันธัพพศาสตรเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาคนธรรพ์คือวิชาร้องราที่เรียกว่า นาฏยศาสตร์ และวิชาดนตรีปี่พาทย์ที่เรียกว่าดุริยางคศาสตร์. เหตุศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชารู้เหตุว่าจะเกิดผลดีหรือร้าย. เวชศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิชาหมอยา รู้จักสมุนไพรและวิธีปรุงยาแก้โรคต่างๆ. สัตวศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชารู้ลักษณะของสัตว์และเสียงของสัตว์ว่าร้ายหรือดี วาณิชยศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาการค้าขายให้รู้จักชนิดของสินค้า วิธีและเส้นทางการค้า
  • 4. ภูมิศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาพื้นที่ให้รู้จักแผนที่ของประเทศต่างๆ โยคศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาช่างกลรู้จักกลไกของยานพาหนะและเครื่องมือต่างๆ มายาศาสตร เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชารู้กลอุบายหรือรู้ตารับพิชัยสงคราม อภิเษกสมรส พระญาติวงศ์ของพระพุทธเจ้านั้นมีสองฝ่าย คือฝ่ายพระมารดาและฝ่ายบิดา ทั้งสองฝ่ายอยู่คนละเมือง มีแม่น้าโรหิณีไหลผ่า นเป็นเขตกั้นพรมแดนพระญาติวงศ์ฝ่ายมารดามีชื่อว่า โกลิยวงศ ครองเมืองเทวทหะ พระญาติวงศ์ฝ่ายพระบิดาชื่อศากยวงศ ครองเมืองกบิลพัสดุ์ ทั้งสองนครนี้เกี่ยวดองเป็นพระญาติกัน มีความรักกันฉันพี่น้องร่วมสายโลหิต ต่างอภิเษกสมรสกันและกันเสมอมา ผู้ครอ งเมืองกบิลพัสดุ์คือ พระเจ้าสุทโธทนะ ส่วนพระเจ้าสุปปพุทธะ เป็นกษัตริย์ผู้ครองเมืองเทวทหะ พระชายาของพระเจ้าสุปปพุทธะ มีพระนามว่าพระนางอมิตา เป็นกนิษฐภคินี คือ น้องส าวคนเล็กของพระเจ้าสุทโธทนะ กลับกันคือพระชายาของพระเจ้าสุทโธทนะหรือพระมารดาของพระพุทธเจ้า มีพระนามว่าพระนางสิริมหามายา พระนางเป็นน้องสาวของพระเจ้าสุปปพุทธะ ทั้งสองทรงอภิเษกสมรสกับ พระภคินี ของกันและกัน พระเจ้าสุปปพุทธะมีโอรสและพระธิดาอันเกิดกับพระนางอมิตาสองพระองค์ พระโอรส คือ เทวทัต พระธิดา คือ พระนางยโสธราพิมพา พระพระเจ้าสุทโธทนะมีพระราชประสงค์ที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงครองเพศฆราวาสเป็นพระจักพรรดิผู้ทรงธรรม จึง พระราชทานความสุขเกษมสาราญ แวดล้อมด้วยความบันเทิงนานาประการแก่พระราชโอรสเพื่อผูกพระทัย ให้มั่นคงในทางโลก พระญาติวงศ์ทั้งสองฝ่ายทรงเห็นพร้อมกันว่า พระนางยโสธราพิมพาทรงพร้อมด้วยคุณสมบัติทุกอย่าง สมควรจะอภิเษกสมรสกับเจ้าชายสิทธัตถะ พระราชพิธีอภิเษกสมรสจึงได้มีขึ้นเมื่อ เจ้าชายสิทธัตถะเจริญพระชนม์ได้ 16 พรรษาพระเจ้าสุทโธทนะจึงโปรดให้สร้างปราสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง สาหรับให้พระราชโอรสได้ประทับอย่างเกษมสาราญตามฤดูกาลทั้ง 3ฤดูคือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว แล้วตั้งชื่อปราสาทนั้นว่า รมยปราสาท สุรมยปราสาท และสุภปราสาท พร้อมสระบัวอีกสามสระอุบลบัวขาบสระหนึ่งปทุมบัวหลวงสระหนึ่ง และบุณฑริกบัวขาวอีกสระหนึ่งตามลาดับ และทรงสู่ขอพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะกับพระนางอมิตาแห่งเทวทหะนครในตระกูลโกลิยวงค์ ให้อภิเษกด้วย เจ้าชายสิทธัตถะได้เสวยสุขสมบัติจนพระชนมายุมายุได้ 29พรรษา พระนางพิมพายโสรธาจึงประสูติพระโอรส พระองค์มีพระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเป็นอย่างยิ่ง เมื่อพระองค์ทรงทราบถึ งการประสูติของพระโอรสพระองค์ตรัสว่า ราหุลัง ชาตัง พันธะนัง ชาตัง บ่วงเกิดแล้ว เครื่องผูกมัดเกิดแล้วเกิดแล้ว แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า " ห่วงเกิดขึ้นเสียแล้ว" คาที่แปลว่า"ห่วง" ในพระอุทานของเจ้าชายสิทธัตถะ คือ ราหุลัง หรือ ราหุล ต่อมาคานี้ได้ถวายเป็นพระนามของราหุลกุมารที่เจ้าชายสิทธัตถะเปล่งอุทานขึ้นมาว่า "ห่วงเกิดขึ้นเสียแล้ว"นั้น หมายถึงว่า พระองค์กาลังตัดสินพระทัยจะเสด็จออกบวช กาลังจะตัดห่วงหาอาลัยในฆราวาสอย่างอื่น ก็เกิดมีห่วงใหม่ขึ้นม าผูกมัดเสียแล้ว ออกพรรษา สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดความรู้สึกสังเวชและเบื่อหน่ายในความสุข ที่พระราชบิดาพระราชทานให้ ก็เพราะทรงเห็นสิ่งที่เรียกว่า เทวทูต
  • 5. 4 ระหว่างทางขณะเสด็จประพาสพระราชอุทยานนอกเมืองด้วยรถม้าพระที่นั่ง พร้อมด้วยสารถีคนขับ เทวทูตทั้ง 4 คือ คน แก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ทรงเห็นคนแก่ก่อนในปฐมสมโพธิบรรยายลักษณะของคนแก่ไว้ว่า "มีเกศาอันหงอก แลสีข้างก็คดค้อม กายนั้นง้อมเงื้อมไปในเบื้องหน้า มือถือไม้เท้าเดินมาในระหว่างมรรควิถี มีอาการอันไหวหวั่นสั่นไปทั่วทั้งกาย ควรจะสังเวช"ก็ทรงสังเวชสลดพระทัย เช่นเดียวกับเมื่อทรงเห็นคนเจ็บและคนตายในครั้งที่สอง และที่ สาม เมื่อเสด็จประพาสพระราชอุทยาน ทรงปรารภถึงพระองค์ว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ทรงพระดาริว่า สภาพธรรมดาในโลกนี้ย่อมมีสิ่งตรงกันข้ามคู่กัน คือ มีมืดแล้วมีสว่าง มีร้อนแล้วมีเย็น เมื่อมีทุกข์ ทางแก้ทุกข์ก็น่าจะมี ในคราวเสด็จประพาสพระราชอุทยานครั้งที่ 4ทรงเห็นนักบวช "นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ กอปรด้วยอากัปกิริยาสารวม" เมื่อทรงเห็นนักบวชก็ทรงเกิดพระทัยน้อมไปในทางบรรพชา ทรงราพึงในพระทัยที่เรียกอีกอย่างหนึ่ง ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "สาธุ ปัพพชา" สองคานี้เป็นภาษาบาลี แปลให้ตรงกับสานวน ไทยว่า "บวชท่าจะดีแน่" แล้วก็ตัดสินพระทัยว่า จะเสด็จออกบวชครั้นถึงยามสองทรงปลุกนายฉันนะให้ผูกม้ากัณฐกะ เพื่อประทับเป็นพาหนะเสด็จออกบรรพชา ม้าพระที่นั่งที่เจ้าชายเสด็จขึ้นทรง เพื่อเสด็จออกบวชครั้งนี้ มีชื่อว่า กัณฐกะ เป็นสหชาติ คือเกิดวันเดียวกับเจ้าชายเมื่อเจ้าชายเสด็จเข้าใกล้ม้า ทรงยกพระหัตถ์ขวาลูบหลังกัณฐกะ เจ้าชายทรงชานาญในเรื่องม้ามา ก ทรงสามารถสะกดม้าไม่ให้ส่งเสียงร้องได้ จากนั้นก็เสด็จขึ้นหลังกัณฐกะ บ่ายพระพักตร์ออกไปทางประตูเมืองที่ชื่อพระยาบาลทวารโดยมีนายฉันนะมหาดเล็กตามเสด็ จไปข้างหลัง วันที่เสด็จออกบวชนั้น หนังสือปฐมสมโพธิบอกว่าเป็นวัน เพ็ญเดือน 8 พระจันทร์แจ่มในท่ามกลางท้องฟ้าปราศจากเมฆ
  • 6. พระองค์ทรงมุ่งหน้าสู่แคว้นมคธ ทรงขับม้าพระที่นั่งไปตลอดคืนไปสว่างเอาที่แม่น้าอโนมา ซึ่งเป็นเขตแดนกั้นเมืองทั้ง 3 คือ กบิลพัสดุ์ สาวัตถี และไพศาลี ทรงพาม้าและมหาดเล็กข้ามแม่น้า แล้วเสด็จลงจากหลังม้าประทับนั่งบนหาดทราย อัน ขาวดุจแผ่นเงิน พระหัตถ์ขวาจับพระขรรค์แสงดาบ พระหัตถ์ซ้ายจับพระจุฬา คือ ยอดหรือปลาย พระเกศากับพระโมฬี คือ มุ่นพระเกศา หรือผมที่มุ่นเป็นมวย แล้วทรงตัดด้วยพระขรรค์แสงดาบ เหลือพระเกศาไว้ยาวประมาณ 2 นิ้ว เป็นวงกลมเวียนไปทางขวา เสร็จแล้วทรงเปลื้องพระภูษาทรงออก แล้วทรงครองผ้ากาสาวพัสตร์ แล้วทรงอธิษฐานเพศเป็นนักบวชที่บนหาดทรายริมฝั่งแม่ น้าอโนมานั่นเอง ข้าศึกษาในสานักดาบส การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงออกบวชแล้วเจ้าชายสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสานักอาฬารดาบสที่กรุงราชคฤห์ อาณาจักรมคธเมื่อสาเร็จการศึกษาจากสานักนี้แล้วพระองค์ทรงเห็นว่าไม่ใช่หนทางในการหลุดพ้นจากทุกข์ตามที่พระองค์ได้ท รงมุ่งหวังไว้พระองค์จึงลาอาฬารดาบสและอุททกดาบสเดินทางไปแถบแม่น้าคยาในตาบลอุรุเวลาเสนานิคมแห่งกรุงราชคฤห์ อาณาจักรมคธ บาเพ็ญทุกรกิริยา การบาเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึงกิริยาที่ทาได้ยาก อาทิการลดปริมาณในการรับประทานอาหาร จนถึงขั้นไม่รับประทานเลย การกลั้นลมหายใจการบาเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีการทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ เป็นวิธีของโยคี หลังจากโยคีสิทธัตถะทรงศึกษาจากสานักอุทกดาบสรามบุตรและอุทกดาบสจนสาเร็จสมาบัติ7 จากสานักอาฬารดาบสกาลามโคตรและสมาบัติ8แล้ว พระองค์ทรงเห็นว่าวิชาที่ศึกษามายังมิใช่หนทางแห่งโพธิญาณ จึงอาลาออกจากสานัก เมื่อพระองค์ทรงเปลี่ยนพระทัยที่จะคิดค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์เองแทนที่จะทรงเล่า เรียนในสานักอาจารย์ทั้งสองแล้วพระองค์เริ่มด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธีการของโยคี เรียกว่าการบาเพ็ญทุกรกิริยา ณบริเวณแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคมมีปัญจวัคคีย์ได้แก่ โกณฑัญญะวัปปะ ภัททิยะ มหานามะและอัสสชิเป็นอุปัฏฐาก พระองค์ทรงกระทาทุกรกิริยาเช่น ลดอาหารลงทีละน้อยจนถึงงดเสวย ร่างกายซูบผอมพระโลมา(ขน) มีรากเน่าหลุดออกมาแลเห็นพระอัฐิได้ชัดเจนทั่วพระวรกายการกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาติดต่อกันเป็นเวลานาน 6 ปี จนมีพระวรกายผ่ายผอมแต่ก็ยังคงไม่ได้พบหนทางหลุดพ้นจากทุกข์ได้ เพราะเป็นการปฏิบัติฝ่ ายอัตตกิลมถานุโยคในที่สุดพระองค์จึงทรงเลิกการบาเพ็ญทุกรกิริยา แล้วกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบารุงพระวรกายให้แข็งแรงจะได้มีกาลังในการคิดค้นพบวิธีใหม่
  • 7. ขณะที่พระองค์ได้ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาอยู่นั้นปัญจวัคคีย์คอยปรนนิบัติรับใช้ ด้วยความหวังว่า เมื่อพระองค์ได้ตรัสรู้พวกตนจะได้รับการถ่ายทอดโมกขธรรมบ้างเมื่อพระองค์ล้มเลิกการบาเพ็ญ ทุกรกิริยา ปัญจวัคคีย์ก็ได้ชวนกันละทิ้งพระองค์ไปทั้งหมดเป็นผลทาให้พระองค์ได้อยู่ตามลาพังในที่สงบเงียบ ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวงพวกปัญจวัคคีย์ได้หนีไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันกรุงพาราณสี พระองค์ได้ทรงตั้งพระสติและเดินทางสายกลางคือการปฏิบัติในความพอเหมาะพอควรหรือเรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทา ตรัสรู้ โยคีสิทธัตถะประทับนั่งไม่หวั่นไหวที่โพธิบัลลังก์ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดใน พระทัยด้วยวิธีที่เรียกว่าเข้าฌานแล้วทรงบรรลุญาณหมายถึงวิธีทาจิตให้เป็นสมาธิคือการทาให้จิตแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่านคิดโน่นคิดนี่อย่างปุถุชนธรรมดาส่วนญาณคือปัญญาความรู้แจ้งคือฌาน แสงสว่างอันเกิดจากแสงเทียนเท่ากับปัญญาพระมหาบุรุษทรงบรรลุญาณที่หนึ่งในตอนปฐมยาม(ประมาณ3ทุ่ม=21.00 น.) ญาณที่หนึ่งนี้เรียกว่าบุพเพนิวาสานุสติญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงอดีตชาติหนหลังทั้งของตนและของคนอื่นพอถึง มัชฌิมยาม (ประมาณเที่ยงคืน24.00น. ) ทรงบรรลุญาณที่สองที่เรียกว่า จุตูปปาตญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงความจุติ คือ ดับและเกิดของสัตวโลกตลอดถึงความแตกต่างกันที่เรียกว่ากรรมพอถึงปัจฉิมยาม(03.00น) ทรงบรรลุญาณที่สามคือ อาสวักขยญาณหมายถึงความรู้แจ้งถึงความสิ้นไปของกิเลสและอริยสัจ4คือ ความทุกข์ เหตุเกิดของความทุกข์ความดับทุกข์และวิธีดับทุกข์การได้บรรลุญาณทั้งสามของพระมหาบุรุษนั้นเรียกว่า ตรัสรู้ความเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเกิดขึ้นในคืนวันขึ้น15ค่า เดือน 6 หลังจากนั้นพระนามว่าสิทธัตถะก็ดีพระโพธิสัตว์ก็ดี ที่เกิดใหม่ ตอนก่อนตรัสรู้ว่าพระมหาบุรุษก็ดีได้กลายเป็นพระนามในอดีตหนหลังเพราะตั้งแต่นี้ต่อไปทรงมีพระนามใหม่ ว่าอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าแปลว่าพระผู้ตรัสรู้ธรรมเครื่องหลุดพ้นจากกิเลสโดยชอบด้วยพระองค์เอง เหตุการณ์ครั้งนี้จึงเป็ นที่มหัศจรรย์เป็นอย่างยิ่งกวีจึงแต่งความเป็นปุคคลาธิษฐานเฉลิมพระเกียรติพระพุทธเจ้าว่านาสัตว์มนุษย์นิกร และทวยเทพในหมื่นโลกธาตุหายทุกข์หายโศกสิ้นวิปโยคจากผองภัยสัตว์ทั้งหลายต่างมีเมตตาจิตต่อกันทุกถ้วนหน้า เว้นจากเวรานุเวรอาฆาตมาดร้ายแก่กัน ทวยเทพต่างบรรเลงดนตรีสวรรค์ร่ายราขับร้อง แซ่ซ้องถวายเป็นพุทธบูชาและกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณกันทั่วหน้า ปฐมเทศนา โยคีสิทธัตถะประทับนั่งไม่หวั่นไหวที่โพธิบัลลังก์ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดใน พระทัยด้วยวิธีที่เรียกว่าเข้าฌานแล้วทรงบรรลุญาณหมายถึงวิธีทาจิตให้เป็นสมาธิคือการทาให้จิตแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่านคิดโน่นคิดนี่อย่างปุถุชนธรรมดาส่วนญาณคือปัญญาความรู้ แจ้งคือฌาน
  • 8. การแสดงปฐมเทศนาวันขึ้น๑๔ค่า เดือนอาสาฬหะ(เดือน ๘) ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธเจ้าเสด็จไปหาปัญจวัคคีย์ พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมในวันขึ้น๑๕ค่าเดือน ๘ เรียกว่าธรรมจักกัปวัตนสูตรในขณะที่ทรงแสดงธรรมนั้นท่านโกณฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือพระโสดาบัน ได้ทูลขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของสัมมสัมพุทธเจ้าเรียกการบวชครั้งนี้ว่า"เอหิภิกขุอุปสัมปทา"พระอัญญาโกณฑัญญะ จึงเป็นพระภิกษุรูปแรกในพุทธศาสนา การประกาศศาสนา เมื่อพระองค์ มีสาวกเป็นพระอรหันต์๖๐องค์และก็ได้ออกพรรษาแล้วทรงพิจารณาเห็นสมควรว่าจะออกไปประกาศศาสนา ให้เป็นที่แพร่หลายได้แล้วพระองค์จึงเรียกประชุมสาวกทั้งหมดแล้วตรัสว่า"ภิกษุทั้งหลาย เราได้พ้อนจากบ่วงทั้งปวงทั้งชนิดที่เป็นทิพย์และชนิดที่เป็นของมนุษย์แล้วแม้ท่านทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน เราทั้งหลายจงพากันจาริกไปยังชนบททั้งหลายเพื่อประโยชน์และความสุขแก่มหาชนเถิด อย่าไปรวมกันทางเดียวถึงสองรูปเลยจงแสดงธรรมให้งามทั้งในเบื้องต้นท่ามกลางและที่สุดพร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะเถิดจงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิงสัตว์ทั้งหลายที่มีกิเลสเบาบางนั้นมีอยู่ เพราะโทษที่ไม่ได้ฟังธรรมย่อมจะเสื่อมจากคุณที่จะพึงได้ถึงผู้รู้ทั่วถึงธรรมคงจักมีอยู่แม้ตัวเราก็จะไปยังอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรมเช่นกัน"พระองค์ทรงส่งสาวกออกประกาศศาสนาพร้อมกันทีเดียว ๖๐องค์ไป๖๐ สายคือ ไปกันทุกสารทิศทีเดียวแม้พระองค์เองก็ไปเหมือนกันไม่ใช่แต่สาวกอย่างเดียวเท่านั้น นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของบุคคลที่จะเป็นผู้นาทีเดียว สาวกทั้ง๖๐องค์เมื่อได้รับพุทธบัญชาเช่นนั้นก็แยกย้ายกันไปประกาศศาสนาตามจังหวัดอาเภอและตาบลต่างๆ ทาให้กุลบุตรในดินแดนถิ่นฐานต่างๆเหล่านั้นหันมาสนใจมากเลื่อมใสมากขึ้นบางคนขอบวช แต่สาวกเหล่านั้นยังให้บวชเองไม่ได้ จึงต้องพากุลบุตรเหล่านั้นมาเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อให้พระองค์บวชให้ทาให้ได้รับความลาบ ากในการเดินทางมาก ฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาตให้สาวกเหล่านั้นอุปสมบทกุลบุตรได้โดยโกนผมและหนวดเคราเสียก่อน แล้วจึงให้นุ่งห่มผ้าย้อมด้วยน้าฝาดนั่งคุกเข่าพนมมือกราบภิกษุแล้วเปล่งว่าจาว่า"ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นสรณะข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ"รวม ๓ครั้ง การอุปสมบทนี้เรียกว่า"ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ อุปสมบทโดยวิธีให้ปฏิญญาณตนเป็นผู้ถึงสรณคมน์ ตั้งแต่พรรษาที่๑ที่พระองค์ได้สาวกเป็นพระอรหันต์จานวน๖๐ องค์แล้วพระองค์ก็ได้อาศัยพระมหากรุณาคุณทาการประกาศเผยแผ่คาสอนจนได้สาวกเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา เป็นพุทธบริษัท ๔ขึ้น อย่างแพร่หลายและมั่นคงการประกาศศาสนาของพระองค์ได้ดาเนินการไปอย่างเข้มแข็ง โดยการจาริกไปยังหมู่บ้านชนบทน้อยใหญ่ในแคว้นต่างๆทั่วชมพูทวีปตลอดเวลาอีก ๔๔พรรษาคือพรรษาที่๒- ๔๕ดังนี้ พรรษาที่๒เสด็จไปยังเสนานิคมในตาบลอุรุเวลาในระหว่างทางได้สาวกกลุ่มภัททวคคีย์ ๓๐คน และที่ตาบลอุรุเวลาได้ ชฎิล ๓พี่น้อง คืออุรุเวลกัสสปะนทีกัสสปะและคยากัสสปะกับศิษย์๑,๐๐๐คน เทศนาอาทิตตปริยายสูตร ที่คยาสีสะเสด็จไปยังราชคฤห์แห่งแควว้นมคธกษัตริย์เสนิยะพิมพิสารทรงถวายสวนเวฬุวันแด่คณะสงฆ์ได้สารีบุตร และโมคคัลลานะเป็นสาวกอีก ๒เดือนต่อมาเสด็จไปยังกบิลพัสดุ์ทรงพานักที่นิโครธารามได้สาวกมากมายเช่นนันทะ ราหุลอานนท์ เทวทัต และพระญาติอื่นๆอนาถปิณฑิกะเศรษฐีอาราธนาไปยังกรุงสาวัตถีแห่งแคว้นโกศล ถวายสวนเชตวันแต่คณะสงฆ์ทรงจารรษาที่นี่ พรรษาที่๓นางวิสาขาถวายบุพพารามณกรุงสาวัตถี ทรงจาพรรษาที่นี่ พรรษาที่๔ทรงจาพรรษาที่เวฬุวันณกรุงราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ พรรษาที่๕โปรดพระราชบิดาจนได้บรรลุอรหัตตผล
  • 9. ทรงไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างพระญาติฝ่ายสักกะกับพระญาติฝ่ายโกลิยะเกี่ยวกับการใช้น้าในแม่น้าโรหิณี ทรงบรรพชาอุปสมบทพระนางปชาบดีโคตมีและคณะเป็นภิกษุณี พรรษาที่๖ ทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ในกรุงสาวัตถีย์ทรงจาพรรษาบนภูเขามังกลุบรรพต พรรษาที่๗ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ระหว่างจาพรรษาเสด็จขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์โปรดพุทธมารดาด้วยพระอภิธรรม พรรษาที่๘ทรงเทศนาในแคว้นภัคคะทรงจาพรรษาในสวนเภสกลาวัน พรรษาที่๙ทรงเทศนาในแคว้นโกสัมพี พรรษาที่๑๐คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีแตกแยกกันอย่างรุนแรงทรงตกเตือนไม่เชื่อฟังจึงเสด็จไปประทับและจาพรรษาในป่า ปาลิเลยยกะมีช้างเชือกหนึ่งมาเฝ้าพิทักษ์และรับใช้ตลอดเวลา พรรษาที่๑๑เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีปรองดองกันได้ ทรงจาพรรษาในหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อเอกนาลา พรรษาที่๑๒ทรงเทศนาและจาพรรษาที่เวรัญชาเกิดความอดอยากรุนแรง พรรษาที่๑๓ทรงเทศนาและจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต พรรษาที่๑๔ทรงเทศนาและจาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ราหุลขอบรรพชาอุปสมบท พรรษาที่๑๕เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์สุปปพุทธะถูกแผ่นินสูบเพราะขัดขวางทางโคจร พรรษาที่๑๖ทรงเทศนาและจาพรรษาที่อาลวี พรรษาที่๑๗เสด็จไปยังกรุงสวัตถี กลับมายังอาลวีและทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์ พรรษาที่๑๘เสด็จไปยังอาลวีทรงจาพรรษาบนภูเขาจาลิกบรรพต พรรษาที่๑๙ทรงเทศนาและจาพรรษาที่บนภูเขาจาลิกบรรพต พรรษาที่๒๐ โจรองคุลีมาลย์กลับใจเป็นสาวก ทรงแต่งตั้งให้พระอานนท์รับใช้ใกล้ชิดตลอดกาลทรงจาพรรษาที่กรุงราชคฤห์ ทรงเริ่มบัญญัติวินัย พรรษาที่๒๑ - ๔๔ ทรงยึดเอาเชตวันและบุพพารามในกรุงราชคฤห์เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่และเป็นที่ประทับจาพรรษา เสด็จพร้อมสาวกออกเทศนาโปรเวไนยสัตว์ตามแว่นแคว้นต่างๆโดยรอบ พรรษาที่๔๕และสุดท้ายพระเทวทัตคิดปลงพระชนม์กลิ้งก้อนหินจนเป็นเหตุให้พระบาทห้อโลหิต ทรงได้รับการบาบัดจากหมอชีวก ทรงปรินิพาน การเสด็จปรินิพพานหลังจากพระพุทธเจ้าแสดงปัจฉิมโอวาทซึ่งวันนั้นตรงกับวันเพ็ญเดือนวิสาขะ(เดือน ๖) ในยามสุดท้ายของวันนั้นณป่าไม้สาละ(สาลวันอุทยาน)ของกษัตริย์มัลละกรุงกุสินาราพระองค์ได้ประทับใต้ต้นสาละคู่ หลังจากตรัสโอวาทให้แก่พระอริยสงฆ์แล้วพระองค์มิได้ตรัสอะไรอีกแล้วเสด็จปรินิพพานด้วยพระอาการสงบ ซึ่งเป็นที่น่าอัศจรรย์นักที่วันประสูติวันตรัสรู้ และวันปรินิพพานของพระพุทธเจ้าตรงกันคือวันเพ็ญเดือน๖ สกุลกาเนิดและปฐมวัย