SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
การบริหารทรัพยากรมนุษยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Human Resource Management Based on the Philosophy
of the Sufficiency Economy
สานิตย หนูนล*
ิ

บทคัดยอ
เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแก
พสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลายาวนาน เปนหลักปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิต
และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับใหดําเนิ นไปในทางสายกลาง ความพอเพียง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมทั้งการมีระดับภูมิคุมกันในตัวที่ดี ปจจุบัน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงถูกนําไปประยุกตใชในการบริหารงานดานตาง ๆ ในองคการ
รวมทั้งทุกขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ไดแก การวางแผนสรรหาและ
คัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหาร
คาตอบแทน เพื่อใหการบริหารทรัพยากรมนุษยเกิดความสมดุล ยั่งยืน และพรอมรับตอการ
เปลี่ยนแปลง

คําสําคัญ : การบริหารทรัพยากรมนุษย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Abstract
The philosophy of the sufficiency economy has been given by his Majesty the King
to the Thai people for a long time. It is the way of life and the guiding practice in various
fields at all levels. The philosophy of the sufficiency economy is the principle that leads to
__________________________________
* อาจารยประจําสํานักวิชาบริหารธุรกิจ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

moderate practice. It is composed of adequacy, rationality, and protection at a suitable level.
At present, the philosophy of the sufficiency economy is applied in all fields of management
in an organization, including human resource management and in processes in human
resources management such as; recruitment and selection, training and development,
performance appraisal and compensation management. As a result this philosophy is able to
achieve balance, sustainability and readiness for change.

Keywords : Human Resource Management, Philosophy of the Sufficiency Economy
บทนํา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูทรงมี
พระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลานาน
ก อนที่ จะเกิดวิกฤติ การณทางเศรษฐกิจครั้งสํ าคัญในประเทศไทย หรื อที่ รูจั กกั นในชื่ อ
“วิกฤติการณตมยํากุง” เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดํารงอยู และการปฏิบัติของประชาชนใน
ทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ความพอเพียง หมายถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร
ตอผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัย
ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชใน
การวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน ตลอดจนตองเสริมสรางในเรื่องของสํานึก
ดานคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความ
เพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได
เปนอยางดี (ปรียานุช พิบูลสราวุธ, 2554 : 87)
ปจจุบันองคการตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเปนแนวทางในการบริหารจัดการในดานตาง ๆ เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่สมดุลและ
ยั่งยืน รวมทั้งการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการซึ่งถือเปนกิจกรรมการบริหารที่มี

161
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

ความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จขององคการ และประเทศชาติ จะเห็นไดวาประเทศที่
พัฒนาที่มีความมั่นคงและยั่งยืนจะใหความสําคัญกับการพัฒนาคน เพราะการพัฒนาคนเปน
กระบวนการพัฒนาทุนมนุษยใหเปนทรัพยากรที่มีคุณคา มีทักษะและขีดความสามารถที่
จําเปนใหกับสังคม และนําไปสูความสามารถในการสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม ๆ
ที่เปนเงื่อนไขสําคัญในการสรางภูมิคุมกันและนําพาสังคมไปสูการพัฒนาบนพื้นฐานของ
ความมั่นคงและยั่งยืนตอไป (อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2554 : 302)
บทความนี้จึงตองการนําเสนอการประยุกตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
บริหารทรัพยากรมนุษยผานขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ไดแก
การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน เพื่อเปนความรูและสามารถนําไปเปนแนวทางใน
การบริหารทรัพยากรมนุษยใหเกิดความสําเร็จอยางสมดุลและยั่งยืนตอไป

แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย
การบริหารทรัพยากรมนุษยมีความสําคัญมากในปจจุบันเนื่องจากทรัพยากรมนุษย
ถือเปนทรัพยากรที่มีคาสูงสุดขององคการ หรือมีการเปรียบเทียบทรัพยากรมนุษยเปน
“ทุนมนุษย” (Human Capital) ที่มีแตจะสรางมูลคาเพิ่มใหกับองคการ
ความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย
ปราชญา กลาผจัญ และ พอตา บุตรสุทธิวงศ (2550 : 27) ไดสรุปความหมายของ
การบริหารทรัพยากรมุนษย ไววา เปนกระบวนการตัดสินใจ และการปฏิบัติการที่เกี่ยวของ
กับบุคลากรทุกระดับในหนวยงาน เพื่อใหเปนทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะ
สงผลใหพวกเขาเหลานั้นสามารถสรางความสําเร็จสูงสุดใหแกองคการ ปฏิบัติงานไดตรง
ตามเปาหมาย มาตรฐานตาง ๆ ที่ตั้งไว
Stone (2008 : 3) กลาวถึงการบริหารทรัพยากรมนุษย ไววา หมายถึง กิจกรรมในการ
ใชทรัพยากรมนุษยในองคการเพื่อใหบรรลุเปาหมายเชิงกลยุทธขององคการ รวมทั้งมีการ
คํานึงถึงความตองการและความพึงพอใจของทรัพยากรมนุษยแตละบุคคลดวย

162
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

Noe (2010 : 4) ไดสรุปความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย ไววา หมายถึง
กระบวนการในการกําหนดนโยบาย การวางระบบและการดําเนินการ ที่มีผลตอพฤติกรรม
ทัศนคติ และผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษยในองคการ
Stewart and Brown (2011 : 4) อธิบายความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษยวา
หมายถึง การศึกษาและการปฏิบัติที่มุงเนนเกี่ยวกับกับคนในองคการ
จากความหมายที่นักวิชาการทั้งในและตางประเทศไดนิยามไว สรุปไดวา การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย หมายถึง กระบวนการในการจัดการทรัพยากรมนุษยตั้งแตกอนเปนสมาชิก
ขององคการจนสิ้นสุดการเปนสมาชิกขององคการเพื่อใหทรัพยากรมนุษยเหลานั้นสามารถ
ปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายขององคการ ขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาในดานตาง ๆ ไป
พรอมกัน
ความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย
การบริหารทรัพยากรมนุษยถือเปนสวนงานที่มีความสําคัญอยางยิงตอองคการ ใน
่
การพิจารณาถึงความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย สามารถสรุปไดเปน 3 มิติ ดังนี้
1. มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่เปนผูใชปจจัยการผลิตอื่น ๆ ที่องคการมีอยูในการ
ผลิตผลงานออกมาเปนผลิตภัณฑหรือบริการตาง ๆ ตามวัตถุประสงคขององคการ ซึ่งจะ
กอใหเกิดรายไดหรือผลกําไรอันเปนประโยชนขององคการ หากองคการไมมีการบริหาร
จัดการดานบุคลากรอยางมีประสิทธิภาพแลว ก็จะทําใหเกิดผลเสียหายตอการใชประโยชน
จากปจจัยการผลิตอื่น ๆ ขององคการไมวาจะเปนเงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ และการ
จัดการงานดานตาง ๆ ในทางตรงกันขามหากองคการมีระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มี
ประสิทธิภาพดีก็จะทําใหเกิดผลิตภาพสูงจากการใชประโยชนสูงสุดในปจจัยการผลิตอื่น ๆ
ที่องคการมีอยู
2. มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่แตกตางจากปจจัยการผลิตอื่น ๆ ขององคการใน
แงที่มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่มีชีวิตจิตใจ มีความตองการและความคาดหวัง มีความรู
ความสามารถ และศั กยภาพที่ สามารถพัฒนาไดโดยไมมีขี ดจํ ากั ด จึ งทําใหการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษยมีความยุงยาก และสลับซับซอนมากกวาปจจัยการผลิตอื่น ๆ

163
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

3. การดําเนินงานขององคการในยุคโลกาภิวัฒนที่มีสภาพของการแขงขันกันอยาง
ไรพรมแดนทําใหการบริหารทรัพยากรมนุษยยิ่งทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้นกวาในอดีต ทั้งนี้
เพราะมนุษยเปนปจจัยที่มีผลตอความสามารถในการแขงขันขององคการมากที่สุด หากองคการ
ไมสามารถบริหารทรัพยากรมนุษยไดอยางมีประสิทธิภาพแลวองคการจะไมสามารถอยูรอด
ไดในสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันกันอยางไรพรมแดน และมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
ในทุก ๆ ดาน (พิมลพรรณ เชื้อบางยาง, 2550 : 6 - 8)
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย
นักวิชาการไดแบงกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยออกเปนขั้นตอนตาง ๆ ไว
คอนขางหลากหลายแตสวนใหญมักจะมีลักษณะที่ใกลเคียงกันอาจจะมีความแตกตางกัน
อยูบางในรายละเอียด อาทิ ดนัย เทียนพุฒ และคณะ (2541 : 4 - 5) ไดแบงขั้นตอนของ
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ออกเปน การวางแผนทรัพยากรมนุษย การวิเคราะหงาน
การสรรหาและคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน การจาย
คาตอบแทน สวัสดิการและผลประโยชนเกื้อกูล สุขภาพและความปลอดภัย พนักงานและ
แรงงานสัมพันธ การพัฒนาองคการ ตลอดจนการวิจัยดานทรัพยากรมนุย สวน Noe (2010 :
5) ไดแบงขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ออกเปน การวิเคราะหและ
การออกแบบงาน การวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา
การจ ายคาตอบแทน การบริ หารผลการปฏิ บัติงาน และแรงงานสั มพันธ อย างไรก็ตาม
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยในปจจุบันนอกจากจะดําเนินการตามขั้นตอนดังกลาวแลว
ผูมีบทบาทดานทรัพยากรมนุษยในองคการยังตองเพิ่มบทบาทมากขึ้น ดังที่ Ulrich (1997 : 79)
ไดสรุปบทบาทของผูบริหารทรัพยากรมนุษยที่สอดคลองกับธุรกิจและการมุงเนนกลยุทธ
มากขึ้น ประกอบดวย (1) การเปนหุนสวนเชิงกลยุทธ (Strategic Partner) (2) การเปนผูเชี่ยวชาญ
ในการบริหารจัดการ (Administration Expert) (3) การเปนตัวแทนการเปลี่ยนแปลง (Change
Agent) และ (4) การเปนผูสนับสนุนพนักงาน (Employee Champion)

164
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

บทความนี้ ไดแบงขั้ นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยออกเปน 4
ขั้นตอนหลัก ประกอบดวย การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและ
พัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน

แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจาณาอยู 5 สวน ดังนี้ (สมบัติ กุสุมาวลี,
2548 : 8)
1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่
ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชได
ตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการ
รอดพนจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดใน
ทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติตนบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน
3. คํานิยาม ความพอเพียงประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี้
3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป
โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ
3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่
คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ
3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับกับผลกระทบ
และการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณ
ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น
ตองอาศัยทั้งความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ

165
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรู เกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
อยางรอบดาน ความรอบคอบ ที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ
การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักใน
คุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต
5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้ง
ดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

การประยุกตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารทรัพยากรมนุษย
ในทุกขั้นตอนของกระบวนการการบริหารทรัพยากรมนุษยสามารถนําปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักการในการจัดการ ไดแก การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน โดยเฉพาะ
การคํานึงถึงคุณลักษณะที่สําคัญ 3 ประการของปรัชญาเศรษฐกิจเพียง คือ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว รวมทั้งเงื่อนไขที่สําคัญ 2 เงื่อนไข คือ ความรู
และคุณธรรม โดยจะขอเสนอผานแตละขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย
ดังนี้
1. การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวางแผนสรรหาและคัดเลือกถือเปนขั้นตอนแรก ๆ ในกระบวนการบริหาร
ทรัพยากรมนุษยเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการที่จะไดคนดี คนเกง และมีความ
เหมาะสมมารวมงานกับองคการ การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่ยึดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย
1.1 ความพอประมาณในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร เปนที่ทราบ
กันวาตนทุนดานทรัพยากรมนุษยถือเปนตนทุนที่สูงสุดในการบริหารจัดการในองคการ
ดังนั้นในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร องคการจะตองคํานึงถึงความพอประมาณ
กลาวคือ จะตองวางแผนใหมีบุคลากรในปริมาณที่เหมาะสมไมมากไป “คนลนงาน” หรือ
166
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

นอยไป “งานลนคน” เครื่องมือการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มีความสําคัญในการวิเคราะห
ความเหมาะสมในการคํานวณปริมาณของบุคลากรใหมีความเหมาะสมกับปริมาณงาน คือ
การวิเคราะหงาน (Job Analysis) เปนขั้นตอนการกําหนดลักษณะขอบเขตของงานตาง ๆ
ทั้งนี้โดยมีการสํารวจและศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานที่ผูทํางาน
จําตองมีอยูอยางครบถวน คือ ทั้งในแงความชํานาญที่ตองการ ความรูที่ตองใช ความสามารถ
ที่ตองมี และความรับผิดชอบที่ตองมีอยู การวิเคราะหงานนอกจากจะชวยใหองคการสามารถ
คํานวณปริมาณบุคลากรไดสอดคลองกับปริมาณงานแลว ยังสามารถชวยใหบุคลากรสามารถ
ทํางานจนสําเร็จผลได และขอมูลตาง ๆ เหลานี้ที่วิเคราะหขึ้นมาสําหรับแตละงานในที่สุดก็
จะชี้ใหเห็นถึงความแตกตางระหวางงานตาง ๆ สามารถนําไปใชในการบริหารทรัพยากร
มนุษยในดานอื่น ๆ ไดอีกดวย อยางไรก็ตามในการวางแผนสรรหาบุคลากรนอกจากองคการ
จะพิจารณาถึงปริมาณของบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานแลว ยังจะตองพิจารณาจึง
คุณภาพของบุคลากรที่สรรหาและคัดเลือกอีกดวย
1.2 ความมี เหตุ ผลในการวางแผนสรรหาและคั ดเลื อกบุ คลากร คื อ การมี
หลักเกณฑในการพิจารณาคัดเลือกบุคลกรที่ชัดเจน มีการคํานึงถึงเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ
ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ สมบัติ กุสุมาวี
(2548 : 24) ไดอธิบายถึงความมีเหตุผลในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรวา
องคการตองมีคณะกรรมการคัดเลือกพนักงานอยางเปนระบบ เพื่อใหมีฉันทามติในการ
คัดเลือกคนอยางมีเหตุมีผลและไมเกิดระบบที่เกิดอคติขึ้น
1.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ปจจุบันมี
การแขงขันทางดานแรงงานคอนขางสูง ปจจัยสําคัญประการหนึ่งคือการเปดเสรีทางดาน
แรงงาน ซึ่งองคการจะตองสรางภูมิคุมกันในดานกําลังแรงงาน คือการเตรียมการดานกําลังคน
ใหสามารถพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นและสงผล
กระทบตออัตรากําลังในอนาคต โดยองคการตองมีการวางแผนกําลังคน (Manpower Planning)
ไวลวงหนา เปนกระบวนการในการกําหนดความตองการดานทรัพยากรมนุษยขององคการ

167
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาองคการจะมีจํานวนบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ
กับงานในชวงเวลาตาง ๆ ตามความจําเปนในอนาคต
2. การฝกอบและพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การฝกอบรมและพัฒนาเปนกระบวนการเสริมสรางความรู ความสามารถ และ
ศักยภาพของบุคลากรอยางเปนระบบ โดยมีเปาหมายเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการ
ปฏิบัติงานทั้งในปจจุบันและอนาคตของบุคลากรใหสูงขึ้น การฝกอบรมและพัฒนาที่ยึด
ปรัชญาของเศรษฐกิจเพียง ประกอบดวย
2.1 ความพอประมาณในการฝกอบรมและพัฒนา หลายองคการในปจจุบนขาด
ั
ความพอประมาณในการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร กลาวคือบางองคการมีการฝกอบรม
และพัฒนาบุคลากรนอยเกินไปเพราะมักคํานึงเรื่องงบประมาณซึ่งเปนตนทุนขององคการ
ในขณะที่บางองคการมีการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรมากเกินความจําเปน ดังนั้นองคการ
ควรจะดําเนินการในการฝกอบรมและพัฒนาในปริมาณที่เหมาะสมซึ่งขึ้นอยูกับหลายปจจัย
อาทิ นโยบายขององคการ ประเภทขององคการ ขนาดขององคการ และสถานะทางการเงิน
ขององคการ เปนตน
2.2 ความมีเหตุผลในการฝกอบรมและพัฒนา ยังมีผูบริหารหรือผูปฏิบัติงาน
ดานทรัพยากรมนุษยอีกจํานวนมากที่มีความเขาใจคลาดเคลื่อนในเรื่องของการฝกอบรมและ
พัฒนาบุคลากร โดยใชการฝกอบรมและพัฒนาในการแกปญหาตาง ๆ ขององคการ ซึ่งแทที่
จริงแลวบางปญหาไมสามารถแกไขไดดวยวิธีการดังกลาว เครื่องมือสําคัญในการดําเนินการ
ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรอยางมีเหตุผลนั้นก็คือ การวิเคราะหความจําเปนในการฝกอบรม
และพัฒนา (Training and Development Need Analysis) เพราะเปนขันตอนทีจะบอกใหทราบ
้
่
วา องคการควรจะมีการฝกอบรมและพัฒนาใหบุคคลากรหรือไม
2.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในการฝกอบรมและพัฒนา คือการที่องคการมีการ
วางแผนและเตรี ย มความพรอมของบุคลากรโดยการฝ กอบรมและพัฒนาบุคลากรไว
ลวงหนาจะทําใหองคการสามารถใชประโยชนจากศักยภาพของทรัพยากรมนุษยของ
องคการไดในเวลาที่เหมาะสม และประสบความความสําเร็จไดอยางยั่งยืน ยกตัวอยาง

168
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

กรณีของบริษัทปูนซิเมนตไทย ที่มีการเตรียมความพรอมของบุคลากรสําหรับอนาคตผาน
โครงการการพัฒนาตาง ๆ อาทิ การจัดทําโครงการพัฒนาภาวะผูนําอยางตอเนื่อง โครงการ
นักเรียนทุน (Scholarship Program) เพื่อสงเสริมใหบุคลากรไดศึกษาตอในมหาวิทยาลัยชั้น
นําทั้งในและตางประเทศ ในสาขาตาง ๆ เชน การบริหารธุรกิจ ดานปโตรเลียม ดานเคมี
เปนตน (สมบัติ กุสุมาวลี, 2548 : 28) เพื่อจะไดนําความรูและประสบการณมาใชในการ
พัฒนาองคการไดในระยะเวลาที่เหมาะสมในอนาคต
3. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การตัดสินวาบุคลากรปฏิบัติงานไดผลเปน
อยางไร เพื่อนําผลที่ไดจากประเมินไปใชในการบริหารทรัพยากรมนุษยดานอื่น ๆ อาทิ
การจายคาตอบแทน การเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนง การโยกยาย การฝกอบรมและพัฒนา
เปน ตน การประเมิ นผลการปฏิ บั ติ ง านถื อเป น ขั้ น ตอนที่ มี ความสํ าคั ญในการบริ ห าร
ทรัพยากรมนุษยและคอนขางละเอียดออนตอความรูสึกของบุคลากร ดังนั้นผูที่มีหนาที่ใน
การประเมินผลการปฏิบัติงานควรดําเนินการดวยความรอบคอบ รวมถึงควรยึดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย
3.1 ความพอประมาณในการประเมินผลการปฏิบัติงาน องคการควรมีการ
ประเมินผลการปฏิบัติงานในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม ซึ่งโดยสวนใหญองคการจะทํา
การประเมินผลการปฏิบัติงานปละ 2 ครั้ง ในชวงกลางป และปลายป โดยทําการประเมิน
กอนที่จะมีการพิจารณาความดีความชอบหรือมีการขึ้นเงินเดือนประจําปใหแกบุคลากร
สําหรับงานมีลักษณะงานบริการลูกคาหรืองานประจํา (Routine Work) การประเมินผลการ
ปฏิบัติงานบอยครั้งสามารถทําไดและจะสงผลใหบุคลากรมีความตื่นตัวในการทํางานอยู
ตลอดเวลา อยางไรก็ตามฝายบริหารควรพิจาณาวางานลักษณะใดควรประเมินผลในชวง
ระยะเวลาเทาใดจึงจะเหมาะสม (พิมลพรรณ เชื้อบางแกว, 2550 : 214 - 215)
3.2 ความมีเหตุผลในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในอดีตการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานองคการจะมุงเนนพิจารณาแคปริมาณงานและผลสัมฤทธิ์ของงาน แตในปจจุบัน
ในการประเมินผลการปฏิบัติงานองคการตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ

169
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

การประเมิ นสมรรถนะ (Competencies) ที่ มี ผลต อความสํ าเร็ จในงาน และคุ ณลั กษณะที่
เหมาะสมกับการเปนสมาชิกขององคการ รวมทั้งควรมีการประเมินดานคุณธรรมจริยธรรม
ของบุคลากรประกอบดวย หรืออาจกลาวไดวา การประเมินผลการปฏิบัติงานจะตองสะทอน
ใหเห็นถึง “ความเปนคนเกง และคนดี” ของบุคลากร
3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในประเมินผลการปฏิบัติงาน องคการตองมีการนําผล
จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปวางแผนการดําเนินงานดานทรัพยากรมนุษยในอนาคต
อาทิ การจัดทําแผนสืบทอดตําแหนงผูบริหาร (Succession Planning) คือ กระบวนการตอเนื่อง
และมีระบบที่จะสนับสนุนใหศักยภาพของบุคคลเติบโตไปพรอมกับการเติบโตขององคการ
เพื่อไมเกิดปญหาการขาดแคลนตําแหนงที่สําคัญขึ้นในอนาคต
4. การบริหารคาตอบแทนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาตอบแทนถือเปนปจจัยสําคัญในการดึงดูดใจใหคนที่มีความรูความสามารถ
ตัดสินใจมารวมทํางานกับองคการ รวมทั้งเปนปจจัยที่ใชเก็บรักษาบุคลากรใหอยูกบองคการ
ั
ดวยเชนกัน อยางไรก็ตามคาตอบแทนที่องคการจายใหกับบุคลากรในรูปแบบตาง ๆ ถือเปน
ตนทุนที่สําคัญขององคการ ดังนั้นองคการควรมีแนวทางในการบริหารคาตอบแทนโดยยึด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย
4.1 ความพอประมาณในการบริหารคาตอบแทน การบริหารคาตอบแทนให
เกิ ดความพอประมาณนั้ นองค การจะต องพิ จารณาถึ งป จจั ยต าง ๆ ประกอบโดยเฉพาะ
ความสามารถในการจายขององคการ (Ability to Pay) เนื่องจากแตละองคการมีความสามารถ
ในการจายที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ไดแก รายไดขององคการ ประสิทธิภาพ
ในการบริหารงานของฝายบริหาร สมรรถภาพทางการผลิตของเทคโนโลยีที่ใชในองคการ
รวมทั้งพิจารณาถึงปจจัยภายนอกองคการ ไดแก สภาพเศรษฐกิจของประเทศ สถานการณ
ดานแรงงาน เปนตน โดยองคการจะตองพิจารณาถึงปจจัยดังกลาวอยางรอบคอบ
4.2 ความมีเหตุผลในการบริหารคาตอบแทน หลักสําคัญที่มักถูกนํามาใชใน
การบริหารคาตอบแทนก็คือ หลักความเปนธรรม (Fairness) คือ การจายคาตอบแทนใหกับ
บุคลากรจะตองเหมาะสมสอดคลองกับผลงานของบุคลากรแตละคนที่ทําใหองคการตาม

170
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

ความเปนจริง หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การจายคาตอบแทนใหเทากันสําหรับงานที่
เทากัน (Equal Pay for Equal Work) ซึ่งเครื่องมือสําคัญที่องคการควรนํามาใชกอนที่จะกําหนด
คาตอบแทนก็คือ การประเมินคางาน (Job Evaluation) เปนกระบวนการในการเปรียบเทียบ
คางานหนึ่งกับงานอื่น ๆ ที่มีอยูภายในองคการ เพื่อใหการจายคาตอบแทนใหกับบุคลากร
เกิดความเปนธรรมและเทาเทียม
4.3 การมี ภู มิคุ มกั นที่ ดี ในการบริ หารค าตอบแทน เนื่ องจากค าใชจ ายด าน
คาตอบแทนของบุคลากรเปนงบประมาณที่สําคัญ สงผลตอสถานะและความมั่นคงของ
องคการ ดังนั้นองคการจะตองใหความสําคัญและพิจารณาในเรื่องดังกลาวอยางรอบคอบ
ผูบริหารหรือผูมีบทบาทสําคัญในเรื่องดังกลาวจะตองมีการศึกษาถึงปจจัยที่มีผลกระทบตอ
การกําหนดคาตอบแทน อาทิ สภาพเศรษฐกิจ เรื่องตลาดแรงงานทั้งในระดับประเทศ ระดับ
ภูมิภาค รวมทั้งระดับโลก เพื่อนํามากําหนดแผนนโยบายในการบริหารคาตอบขององคการ
เชน การศึกษาเรื่องอัตราเงินเฟอ การพยากรณเศรษฐกิจในอนาคต การศึกษาโครงสราง
ประชากร การคาดการณดานตลาดแรงงาน เปนตน ซึ่งการศึกษาในเรื่องดังกลาวจะชวยลด
ความเสี่ยงในการบริหารคาตอบแทนใหกับองคการได
การบริหารทรัพยากรมนุษยนอกจากจะยึดตามลักษณะสําคัญ 3 ประการ ตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันที่ดี
ในตัวแลว ยังจะตองอยูบนพื้นฐานของความรูและคุณธรรมอีกดวย กลาวคือ การบริหาร
ทรัพยากรมนุษยตองอาศัยองคความรู เกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน
มีความรอบคอบในนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
รวมทั้งมีความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ โดยในปจจุบันมีการใหความสําคัญกับเรื่องของการ
จัดการความรู (Knowledge Management) ซึ่งถือเปนกิจกรรมในการบริหารทรัพยากรมนุษย
ที่สอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเฉพาะเงื่อนไขของความรู นอกจากนั้นผูมี
บทบาทในการบริหารทรัพยากรมนุษยยังตองยึดมั่นในหลักคุณธรรมจริยธรรม และตองมี
หนาที่ในการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหกับบุคลากรผานขั้นตอนของกระบวนการ
บริหารทรัพยากรมนุษย อาทิ การกําหนดจรรยาบรรณขององคการ (Code of Ethics) เพื่อให

171
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

บุคลากรในองคการยึดถือปฏิบัติ การฝกอบรมและพัฒนาดานคุณธรรมจริยธรรม การใช
กระบวนการทางวินัย เปนตน โดยเฉพาะดานความซื่อสัตยสุจริต ความอดทน ความเพียร
และการใชสติปญญาในการทํางาน และการดําเนินชีวิตอีกดวย

บทสรุป
ปรัชญาของเศรษกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง
พระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลายาวนาน เปนหลักปรัชญาที่ชี้แนะแนว
ทางการดํารงชีวิต และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับ สามารถนําไปประยุกตใชใน
การบริหารงานดานตาง ๆ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการโดยมุงเนนใหเกิด
การพั ฒนาที่ สมดุ ล และยั่ งยื น โดยในทุ ก ๆ ขั้ นตอนของกระบวนการของการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย ไดแก การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา
การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน สามารถที่จะนําปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการบริหารจัดการได อยางไรก็ตามผูที่มีบทบาทสําคัญ
ในเรื่องดังกลาว ไมวาจะเปนผูบริหาร หรือหนวยงานทรัพยากรมนุษยจะตองตระหนักและ
ใหความสําคัญในเรื่องดังกลาวอยางจริงจัง หากองคการสามารถบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย
ได ตามหลักการดั งกล าวแลวจะส งผลดี ทั้งตอบุ คลากร องคการ สั งคม และประเทศชาติ
โดยรวม

172
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

วารสารวิทยาลัยดุสตธานี
ิ

บรรณานุกรม
ดนัย เทียนพุฒ และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่อง ทิศทางและบทบาทการบริหารทรัพยากร
บุคคลในศตวรรษหนา (ป พ.ศ. 2550). กรุงเทพฯ : สถาบันการจัดการงานบุคคล
สมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย, 2541.
ปราชญา กลาผจัญ และ พอตา บุตรสุทธิวงศ. การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรงเทพฯ :
สํานักพิมพขาวฟาง, 2550.
ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554.
พิมลพรรณ เชื้อบางแกว. การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
กรุงเทพฯ , 2550.
สมบัติ กุสุมาวลี. หลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน กรณีศึกษาการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย เครือซิเมนตไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบัน
ึ
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2548.
อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554.
Noe, Raymond A. Human Resource Management: Gaining Competitive Advantage. 7th ed.
Boston, Mass: McGraw-Hill, 2010.
Stewart, Greg L. and Brown, Kenneth G. Human Resource Management: Linking Strategy
to Practice. 2nd ed. Hoboken, N.J.: Wiley; Chichester, 2011.
Stone, Raymond J. Managing Human Resource. 6th ed. John Wiley & Sons, Australia:
Milton, Qld, 2008.
Ulrich, Dave. Human Resource Champions: The next Agenda for Adding Value and
Delivering Results. Boston: Harvard Business School Press, 1997.

173
Dusit Thani College Journal

Vol.7 No.2 July – December 2013

นายสานิตย หนูนิล วุฒิการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากร
มนุษยและองคการ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
ป จ จุ บั น ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาการจั ด การ คณะวิ ท ยาการจั ด การ
มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร ตํา แหนง ปจ จุบัน อาจารยป ระจํา สํา นัก วิช าบริห ารธุร กิจ
คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี

174

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Kat Suksrikong
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 

La actualidad más candente (20)

ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริงบรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 

Más de Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University

การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการ
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการบทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการ
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมบทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมบทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีบทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนบทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการ
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการบทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการ
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคม
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคมบทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคม
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคมDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 

Más de Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University (19)

การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
 
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการ
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการบทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการ
บทความวิชาการ ธรรมาภิบาลในองค์การภาคเอกชน : ธุรกิจภาคบริการ
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...
บทความวิชาการ ปัญหาการคุกคามทางเพศในอุตสาหกรรมบริการ แนวคิด ผลกระทบ และแนวทาง...
 
การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21
 
Project based learning
Project based learningProject based learning
Project based learning
 
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมบทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
บทความ พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
 
2013 spuc full Proceeding
2013 spuc full Proceeding2013 spuc full Proceeding
2013 spuc full Proceeding
 
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมบทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
 
Adult learning and HRD
Adult learning and HRDAdult learning and HRD
Adult learning and HRD
 
Sexual Harassment of Kitchen Department’s Staff in Hotel Business: A Study of...
Sexual Harassment of Kitchen Department’s Staff in Hotel Business: A Study of...Sexual Harassment of Kitchen Department’s Staff in Hotel Business: A Study of...
Sexual Harassment of Kitchen Department’s Staff in Hotel Business: A Study of...
 
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
บทความปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวด...
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีบทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
 
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนบทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทความ กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการ
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการบทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการ
บทความ จริยธรรมที่จำเป็นในอุตสาหกรรมบริการ
 
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...
บทความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ สานิตย...
 
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคม
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคมบทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคม
บทความ การเรียนรู้จริยธรรมทางธุรกิจผ่านการทำโครงการเพื่อสังคม
 

บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. การบริหารทรัพยากรมนุษยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Human Resource Management Based on the Philosophy of the Sufficiency Economy สานิตย หนูนล* ิ บทคัดยอ เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแก พสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลายาวนาน เปนหลักปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิต และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับใหดําเนิ นไปในทางสายกลาง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมทั้งการมีระดับภูมิคุมกันในตัวที่ดี ปจจุบัน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงถูกนําไปประยุกตใชในการบริหารงานดานตาง ๆ ในองคการ รวมทั้งทุกขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ไดแก การวางแผนสรรหาและ คัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหาร คาตอบแทน เพื่อใหการบริหารทรัพยากรมนุษยเกิดความสมดุล ยั่งยืน และพรอมรับตอการ เปลี่ยนแปลง คําสําคัญ : การบริหารทรัพยากรมนุษย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Abstract The philosophy of the sufficiency economy has been given by his Majesty the King to the Thai people for a long time. It is the way of life and the guiding practice in various fields at all levels. The philosophy of the sufficiency economy is the principle that leads to __________________________________ * อาจารยประจําสํานักวิชาบริหารธุรกิจ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี
  • 2. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ moderate practice. It is composed of adequacy, rationality, and protection at a suitable level. At present, the philosophy of the sufficiency economy is applied in all fields of management in an organization, including human resource management and in processes in human resources management such as; recruitment and selection, training and development, performance appraisal and compensation management. As a result this philosophy is able to achieve balance, sustainability and readiness for change. Keywords : Human Resource Management, Philosophy of the Sufficiency Economy บทนํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูทรงมี พระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลานาน ก อนที่ จะเกิดวิกฤติ การณทางเศรษฐกิจครั้งสํ าคัญในประเทศไทย หรื อที่ รูจั กกั นในชื่ อ “วิกฤติการณตมยํากุง” เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดํารงอยู และการปฏิบัติของประชาชนใน ทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัย ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชใน การวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน ตลอดจนตองเสริมสรางในเรื่องของสํานึก ดานคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความ เพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได เปนอยางดี (ปรียานุช พิบูลสราวุธ, 2554 : 87) ปจจุบันองคการตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเปนแนวทางในการบริหารจัดการในดานตาง ๆ เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่สมดุลและ ยั่งยืน รวมทั้งการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการซึ่งถือเปนกิจกรรมการบริหารที่มี 161
  • 3. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 ความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จขององคการ และประเทศชาติ จะเห็นไดวาประเทศที่ พัฒนาที่มีความมั่นคงและยั่งยืนจะใหความสําคัญกับการพัฒนาคน เพราะการพัฒนาคนเปน กระบวนการพัฒนาทุนมนุษยใหเปนทรัพยากรที่มีคุณคา มีทักษะและขีดความสามารถที่ จําเปนใหกับสังคม และนําไปสูความสามารถในการสรางองคความรูและนวัตกรรมใหม ๆ ที่เปนเงื่อนไขสําคัญในการสรางภูมิคุมกันและนําพาสังคมไปสูการพัฒนาบนพื้นฐานของ ความมั่นคงและยั่งยืนตอไป (อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2554 : 302) บทความนี้จึงตองการนําเสนอการประยุกตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ บริหารทรัพยากรมนุษยผานขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ไดแก การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน เพื่อเปนความรูและสามารถนําไปเปนแนวทางใน การบริหารทรัพยากรมนุษยใหเกิดความสําเร็จอยางสมดุลและยั่งยืนตอไป แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย การบริหารทรัพยากรมนุษยมีความสําคัญมากในปจจุบันเนื่องจากทรัพยากรมนุษย ถือเปนทรัพยากรที่มีคาสูงสุดขององคการ หรือมีการเปรียบเทียบทรัพยากรมนุษยเปน “ทุนมนุษย” (Human Capital) ที่มีแตจะสรางมูลคาเพิ่มใหกับองคการ ความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย ปราชญา กลาผจัญ และ พอตา บุตรสุทธิวงศ (2550 : 27) ไดสรุปความหมายของ การบริหารทรัพยากรมุนษย ไววา เปนกระบวนการตัดสินใจ และการปฏิบัติการที่เกี่ยวของ กับบุคลากรทุกระดับในหนวยงาน เพื่อใหเปนทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะ สงผลใหพวกเขาเหลานั้นสามารถสรางความสําเร็จสูงสุดใหแกองคการ ปฏิบัติงานไดตรง ตามเปาหมาย มาตรฐานตาง ๆ ที่ตั้งไว Stone (2008 : 3) กลาวถึงการบริหารทรัพยากรมนุษย ไววา หมายถึง กิจกรรมในการ ใชทรัพยากรมนุษยในองคการเพื่อใหบรรลุเปาหมายเชิงกลยุทธขององคการ รวมทั้งมีการ คํานึงถึงความตองการและความพึงพอใจของทรัพยากรมนุษยแตละบุคคลดวย 162
  • 4. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ Noe (2010 : 4) ไดสรุปความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย ไววา หมายถึง กระบวนการในการกําหนดนโยบาย การวางระบบและการดําเนินการ ที่มีผลตอพฤติกรรม ทัศนคติ และผลการปฏิบัติงานของทรัพยากรมนุษยในองคการ Stewart and Brown (2011 : 4) อธิบายความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษยวา หมายถึง การศึกษาและการปฏิบัติที่มุงเนนเกี่ยวกับกับคนในองคการ จากความหมายที่นักวิชาการทั้งในและตางประเทศไดนิยามไว สรุปไดวา การบริหาร ทรัพยากรมนุษย หมายถึง กระบวนการในการจัดการทรัพยากรมนุษยตั้งแตกอนเปนสมาชิก ขององคการจนสิ้นสุดการเปนสมาชิกขององคการเพื่อใหทรัพยากรมนุษยเหลานั้นสามารถ ปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายขององคการ ขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาในดานตาง ๆ ไป พรอมกัน ความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย การบริหารทรัพยากรมนุษยถือเปนสวนงานที่มีความสําคัญอยางยิงตอองคการ ใน ่ การพิจารณาถึงความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย สามารถสรุปไดเปน 3 มิติ ดังนี้ 1. มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่เปนผูใชปจจัยการผลิตอื่น ๆ ที่องคการมีอยูในการ ผลิตผลงานออกมาเปนผลิตภัณฑหรือบริการตาง ๆ ตามวัตถุประสงคขององคการ ซึ่งจะ กอใหเกิดรายไดหรือผลกําไรอันเปนประโยชนขององคการ หากองคการไมมีการบริหาร จัดการดานบุคลากรอยางมีประสิทธิภาพแลว ก็จะทําใหเกิดผลเสียหายตอการใชประโยชน จากปจจัยการผลิตอื่น ๆ ขององคการไมวาจะเปนเงินทุน เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ และการ จัดการงานดานตาง ๆ ในทางตรงกันขามหากองคการมีระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มี ประสิทธิภาพดีก็จะทําใหเกิดผลิตภาพสูงจากการใชประโยชนสูงสุดในปจจัยการผลิตอื่น ๆ ที่องคการมีอยู 2. มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่แตกตางจากปจจัยการผลิตอื่น ๆ ขององคการใน แงที่มนุษยเปนปจจัยการผลิตที่มีชีวิตจิตใจ มีความตองการและความคาดหวัง มีความรู ความสามารถ และศั กยภาพที่ สามารถพัฒนาไดโดยไมมีขี ดจํ ากั ด จึ งทําใหการบริ หาร ทรัพยากรมนุษยมีความยุงยาก และสลับซับซอนมากกวาปจจัยการผลิตอื่น ๆ 163
  • 5. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 3. การดําเนินงานขององคการในยุคโลกาภิวัฒนที่มีสภาพของการแขงขันกันอยาง ไรพรมแดนทําใหการบริหารทรัพยากรมนุษยยิ่งทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้นกวาในอดีต ทั้งนี้ เพราะมนุษยเปนปจจัยที่มีผลตอความสามารถในการแขงขันขององคการมากที่สุด หากองคการ ไมสามารถบริหารทรัพยากรมนุษยไดอยางมีประสิทธิภาพแลวองคการจะไมสามารถอยูรอด ไดในสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันกันอยางไรพรมแดน และมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ในทุก ๆ ดาน (พิมลพรรณ เชื้อบางยาง, 2550 : 6 - 8) กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย นักวิชาการไดแบงกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยออกเปนขั้นตอนตาง ๆ ไว คอนขางหลากหลายแตสวนใหญมักจะมีลักษณะที่ใกลเคียงกันอาจจะมีความแตกตางกัน อยูบางในรายละเอียด อาทิ ดนัย เทียนพุฒ และคณะ (2541 : 4 - 5) ไดแบงขั้นตอนของ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ออกเปน การวางแผนทรัพยากรมนุษย การวิเคราะหงาน การสรรหาและคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน การจาย คาตอบแทน สวัสดิการและผลประโยชนเกื้อกูล สุขภาพและความปลอดภัย พนักงานและ แรงงานสัมพันธ การพัฒนาองคการ ตลอดจนการวิจัยดานทรัพยากรมนุย สวน Noe (2010 : 5) ไดแบงขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ออกเปน การวิเคราะหและ การออกแบบงาน การวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา การจ ายคาตอบแทน การบริ หารผลการปฏิ บัติงาน และแรงงานสั มพันธ อย างไรก็ตาม กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยในปจจุบันนอกจากจะดําเนินการตามขั้นตอนดังกลาวแลว ผูมีบทบาทดานทรัพยากรมนุษยในองคการยังตองเพิ่มบทบาทมากขึ้น ดังที่ Ulrich (1997 : 79) ไดสรุปบทบาทของผูบริหารทรัพยากรมนุษยที่สอดคลองกับธุรกิจและการมุงเนนกลยุทธ มากขึ้น ประกอบดวย (1) การเปนหุนสวนเชิงกลยุทธ (Strategic Partner) (2) การเปนผูเชี่ยวชาญ ในการบริหารจัดการ (Administration Expert) (3) การเปนตัวแทนการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) และ (4) การเปนผูสนับสนุนพนักงาน (Employee Champion) 164
  • 6. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ บทความนี้ ไดแบงขั้ นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยออกเปน 4 ขั้นตอนหลัก ประกอบดวย การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและ พัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจาณาอยู 5 สวน ดังนี้ (สมบัติ กุสุมาวลี, 2548 : 8) 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชได ตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการ รอดพนจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดใน ทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติตนบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน 3. คํานิยาม ความพอเพียงประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่ คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับกับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณ ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้งความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 165
  • 7. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรู เกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ อยางรอบดาน ความรอบคอบ ที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้ง ดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี การประยุกตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารทรัพยากรมนุษย ในทุกขั้นตอนของกระบวนการการบริหารทรัพยากรมนุษยสามารถนําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักการในการจัดการ ไดแก การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน โดยเฉพาะ การคํานึงถึงคุณลักษณะที่สําคัญ 3 ประการของปรัชญาเศรษฐกิจเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว รวมทั้งเงื่อนไขที่สําคัญ 2 เงื่อนไข คือ ความรู และคุณธรรม โดยจะขอเสนอผานแตละขั้นตอนของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย ดังนี้ 1. การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวางแผนสรรหาและคัดเลือกถือเปนขั้นตอนแรก ๆ ในกระบวนการบริหาร ทรัพยากรมนุษยเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการที่จะไดคนดี คนเกง และมีความ เหมาะสมมารวมงานกับองคการ การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่ยึดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย 1.1 ความพอประมาณในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร เปนที่ทราบ กันวาตนทุนดานทรัพยากรมนุษยถือเปนตนทุนที่สูงสุดในการบริหารจัดการในองคการ ดังนั้นในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร องคการจะตองคํานึงถึงความพอประมาณ กลาวคือ จะตองวางแผนใหมีบุคลากรในปริมาณที่เหมาะสมไมมากไป “คนลนงาน” หรือ 166
  • 8. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ นอยไป “งานลนคน” เครื่องมือการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มีความสําคัญในการวิเคราะห ความเหมาะสมในการคํานวณปริมาณของบุคลากรใหมีความเหมาะสมกับปริมาณงาน คือ การวิเคราะหงาน (Job Analysis) เปนขั้นตอนการกําหนดลักษณะขอบเขตของงานตาง ๆ ทั้งนี้โดยมีการสํารวจและศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานที่ผูทํางาน จําตองมีอยูอยางครบถวน คือ ทั้งในแงความชํานาญที่ตองการ ความรูที่ตองใช ความสามารถ ที่ตองมี และความรับผิดชอบที่ตองมีอยู การวิเคราะหงานนอกจากจะชวยใหองคการสามารถ คํานวณปริมาณบุคลากรไดสอดคลองกับปริมาณงานแลว ยังสามารถชวยใหบุคลากรสามารถ ทํางานจนสําเร็จผลได และขอมูลตาง ๆ เหลานี้ที่วิเคราะหขึ้นมาสําหรับแตละงานในที่สุดก็ จะชี้ใหเห็นถึงความแตกตางระหวางงานตาง ๆ สามารถนําไปใชในการบริหารทรัพยากร มนุษยในดานอื่น ๆ ไดอีกดวย อยางไรก็ตามในการวางแผนสรรหาบุคลากรนอกจากองคการ จะพิจารณาถึงปริมาณของบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานแลว ยังจะตองพิจารณาจึง คุณภาพของบุคลากรที่สรรหาและคัดเลือกอีกดวย 1.2 ความมี เหตุ ผลในการวางแผนสรรหาและคั ดเลื อกบุ คลากร คื อ การมี หลักเกณฑในการพิจารณาคัดเลือกบุคลกรที่ชัดเจน มีการคํานึงถึงเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ สมบัติ กุสุมาวี (2548 : 24) ไดอธิบายถึงความมีเหตุผลในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากรวา องคการตองมีคณะกรรมการคัดเลือกพนักงานอยางเปนระบบ เพื่อใหมีฉันทามติในการ คัดเลือกคนอยางมีเหตุมีผลและไมเกิดระบบที่เกิดอคติขึ้น 1.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ปจจุบันมี การแขงขันทางดานแรงงานคอนขางสูง ปจจัยสําคัญประการหนึ่งคือการเปดเสรีทางดาน แรงงาน ซึ่งองคการจะตองสรางภูมิคุมกันในดานกําลังแรงงาน คือการเตรียมการดานกําลังคน ใหสามารถพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นและสงผล กระทบตออัตรากําลังในอนาคต โดยองคการตองมีการวางแผนกําลังคน (Manpower Planning) ไวลวงหนา เปนกระบวนการในการกําหนดความตองการดานทรัพยากรมนุษยขององคการ 167
  • 9. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาองคการจะมีจํานวนบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ กับงานในชวงเวลาตาง ๆ ตามความจําเปนในอนาคต 2. การฝกอบและพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การฝกอบรมและพัฒนาเปนกระบวนการเสริมสรางความรู ความสามารถ และ ศักยภาพของบุคลากรอยางเปนระบบ โดยมีเปาหมายเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการ ปฏิบัติงานทั้งในปจจุบันและอนาคตของบุคลากรใหสูงขึ้น การฝกอบรมและพัฒนาที่ยึด ปรัชญาของเศรษฐกิจเพียง ประกอบดวย 2.1 ความพอประมาณในการฝกอบรมและพัฒนา หลายองคการในปจจุบนขาด ั ความพอประมาณในการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร กลาวคือบางองคการมีการฝกอบรม และพัฒนาบุคลากรนอยเกินไปเพราะมักคํานึงเรื่องงบประมาณซึ่งเปนตนทุนขององคการ ในขณะที่บางองคการมีการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรมากเกินความจําเปน ดังนั้นองคการ ควรจะดําเนินการในการฝกอบรมและพัฒนาในปริมาณที่เหมาะสมซึ่งขึ้นอยูกับหลายปจจัย อาทิ นโยบายขององคการ ประเภทขององคการ ขนาดขององคการ และสถานะทางการเงิน ขององคการ เปนตน 2.2 ความมีเหตุผลในการฝกอบรมและพัฒนา ยังมีผูบริหารหรือผูปฏิบัติงาน ดานทรัพยากรมนุษยอีกจํานวนมากที่มีความเขาใจคลาดเคลื่อนในเรื่องของการฝกอบรมและ พัฒนาบุคลากร โดยใชการฝกอบรมและพัฒนาในการแกปญหาตาง ๆ ขององคการ ซึ่งแทที่ จริงแลวบางปญหาไมสามารถแกไขไดดวยวิธีการดังกลาว เครื่องมือสําคัญในการดําเนินการ ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรอยางมีเหตุผลนั้นก็คือ การวิเคราะหความจําเปนในการฝกอบรม และพัฒนา (Training and Development Need Analysis) เพราะเปนขันตอนทีจะบอกใหทราบ ้ ่ วา องคการควรจะมีการฝกอบรมและพัฒนาใหบุคคลากรหรือไม 2.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในการฝกอบรมและพัฒนา คือการที่องคการมีการ วางแผนและเตรี ย มความพรอมของบุคลากรโดยการฝ กอบรมและพัฒนาบุคลากรไว ลวงหนาจะทําใหองคการสามารถใชประโยชนจากศักยภาพของทรัพยากรมนุษยของ องคการไดในเวลาที่เหมาะสม และประสบความความสําเร็จไดอยางยั่งยืน ยกตัวอยาง 168
  • 10. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ กรณีของบริษัทปูนซิเมนตไทย ที่มีการเตรียมความพรอมของบุคลากรสําหรับอนาคตผาน โครงการการพัฒนาตาง ๆ อาทิ การจัดทําโครงการพัฒนาภาวะผูนําอยางตอเนื่อง โครงการ นักเรียนทุน (Scholarship Program) เพื่อสงเสริมใหบุคลากรไดศึกษาตอในมหาวิทยาลัยชั้น นําทั้งในและตางประเทศ ในสาขาตาง ๆ เชน การบริหารธุรกิจ ดานปโตรเลียม ดานเคมี เปนตน (สมบัติ กุสุมาวลี, 2548 : 28) เพื่อจะไดนําความรูและประสบการณมาใชในการ พัฒนาองคการไดในระยะเวลาที่เหมาะสมในอนาคต 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การตัดสินวาบุคลากรปฏิบัติงานไดผลเปน อยางไร เพื่อนําผลที่ไดจากประเมินไปใชในการบริหารทรัพยากรมนุษยดานอื่น ๆ อาทิ การจายคาตอบแทน การเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนง การโยกยาย การฝกอบรมและพัฒนา เปน ตน การประเมิ นผลการปฏิ บั ติ ง านถื อเป น ขั้ น ตอนที่ มี ความสํ าคั ญในการบริ ห าร ทรัพยากรมนุษยและคอนขางละเอียดออนตอความรูสึกของบุคลากร ดังนั้นผูที่มีหนาที่ใน การประเมินผลการปฏิบัติงานควรดําเนินการดวยความรอบคอบ รวมถึงควรยึดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย 3.1 ความพอประมาณในการประเมินผลการปฏิบัติงาน องคการควรมีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม ซึ่งโดยสวนใหญองคการจะทํา การประเมินผลการปฏิบัติงานปละ 2 ครั้ง ในชวงกลางป และปลายป โดยทําการประเมิน กอนที่จะมีการพิจารณาความดีความชอบหรือมีการขึ้นเงินเดือนประจําปใหแกบุคลากร สําหรับงานมีลักษณะงานบริการลูกคาหรืองานประจํา (Routine Work) การประเมินผลการ ปฏิบัติงานบอยครั้งสามารถทําไดและจะสงผลใหบุคลากรมีความตื่นตัวในการทํางานอยู ตลอดเวลา อยางไรก็ตามฝายบริหารควรพิจาณาวางานลักษณะใดควรประเมินผลในชวง ระยะเวลาเทาใดจึงจะเหมาะสม (พิมลพรรณ เชื้อบางแกว, 2550 : 214 - 215) 3.2 ความมีเหตุผลในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในอดีตการประเมินผลการ ปฏิบัติงานองคการจะมุงเนนพิจารณาแคปริมาณงานและผลสัมฤทธิ์ของงาน แตในปจจุบัน ในการประเมินผลการปฏิบัติงานองคการตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ 169
  • 11. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 การประเมิ นสมรรถนะ (Competencies) ที่ มี ผลต อความสํ าเร็ จในงาน และคุ ณลั กษณะที่ เหมาะสมกับการเปนสมาชิกขององคการ รวมทั้งควรมีการประเมินดานคุณธรรมจริยธรรม ของบุคลากรประกอบดวย หรืออาจกลาวไดวา การประเมินผลการปฏิบัติงานจะตองสะทอน ใหเห็นถึง “ความเปนคนเกง และคนดี” ของบุคลากร 3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในประเมินผลการปฏิบัติงาน องคการตองมีการนําผล จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปวางแผนการดําเนินงานดานทรัพยากรมนุษยในอนาคต อาทิ การจัดทําแผนสืบทอดตําแหนงผูบริหาร (Succession Planning) คือ กระบวนการตอเนื่อง และมีระบบที่จะสนับสนุนใหศักยภาพของบุคคลเติบโตไปพรอมกับการเติบโตขององคการ เพื่อไมเกิดปญหาการขาดแคลนตําแหนงที่สําคัญขึ้นในอนาคต 4. การบริหารคาตอบแทนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คาตอบแทนถือเปนปจจัยสําคัญในการดึงดูดใจใหคนที่มีความรูความสามารถ ตัดสินใจมารวมทํางานกับองคการ รวมทั้งเปนปจจัยที่ใชเก็บรักษาบุคลากรใหอยูกบองคการ ั ดวยเชนกัน อยางไรก็ตามคาตอบแทนที่องคการจายใหกับบุคลากรในรูปแบบตาง ๆ ถือเปน ตนทุนที่สําคัญขององคการ ดังนั้นองคการควรมีแนวทางในการบริหารคาตอบแทนโดยยึด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย 4.1 ความพอประมาณในการบริหารคาตอบแทน การบริหารคาตอบแทนให เกิ ดความพอประมาณนั้ นองค การจะต องพิ จารณาถึ งป จจั ยต าง ๆ ประกอบโดยเฉพาะ ความสามารถในการจายขององคการ (Ability to Pay) เนื่องจากแตละองคการมีความสามารถ ในการจายที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ไดแก รายไดขององคการ ประสิทธิภาพ ในการบริหารงานของฝายบริหาร สมรรถภาพทางการผลิตของเทคโนโลยีที่ใชในองคการ รวมทั้งพิจารณาถึงปจจัยภายนอกองคการ ไดแก สภาพเศรษฐกิจของประเทศ สถานการณ ดานแรงงาน เปนตน โดยองคการจะตองพิจารณาถึงปจจัยดังกลาวอยางรอบคอบ 4.2 ความมีเหตุผลในการบริหารคาตอบแทน หลักสําคัญที่มักถูกนํามาใชใน การบริหารคาตอบแทนก็คือ หลักความเปนธรรม (Fairness) คือ การจายคาตอบแทนใหกับ บุคลากรจะตองเหมาะสมสอดคลองกับผลงานของบุคลากรแตละคนที่ทําใหองคการตาม 170
  • 12. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ ความเปนจริง หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การจายคาตอบแทนใหเทากันสําหรับงานที่ เทากัน (Equal Pay for Equal Work) ซึ่งเครื่องมือสําคัญที่องคการควรนํามาใชกอนที่จะกําหนด คาตอบแทนก็คือ การประเมินคางาน (Job Evaluation) เปนกระบวนการในการเปรียบเทียบ คางานหนึ่งกับงานอื่น ๆ ที่มีอยูภายในองคการ เพื่อใหการจายคาตอบแทนใหกับบุคลากร เกิดความเปนธรรมและเทาเทียม 4.3 การมี ภู มิคุ มกั นที่ ดี ในการบริ หารค าตอบแทน เนื่ องจากค าใชจ ายด าน คาตอบแทนของบุคลากรเปนงบประมาณที่สําคัญ สงผลตอสถานะและความมั่นคงของ องคการ ดังนั้นองคการจะตองใหความสําคัญและพิจารณาในเรื่องดังกลาวอยางรอบคอบ ผูบริหารหรือผูมีบทบาทสําคัญในเรื่องดังกลาวจะตองมีการศึกษาถึงปจจัยที่มีผลกระทบตอ การกําหนดคาตอบแทน อาทิ สภาพเศรษฐกิจ เรื่องตลาดแรงงานทั้งในระดับประเทศ ระดับ ภูมิภาค รวมทั้งระดับโลก เพื่อนํามากําหนดแผนนโยบายในการบริหารคาตอบขององคการ เชน การศึกษาเรื่องอัตราเงินเฟอ การพยากรณเศรษฐกิจในอนาคต การศึกษาโครงสราง ประชากร การคาดการณดานตลาดแรงงาน เปนตน ซึ่งการศึกษาในเรื่องดังกลาวจะชวยลด ความเสี่ยงในการบริหารคาตอบแทนใหกับองคการได การบริหารทรัพยากรมนุษยนอกจากจะยึดตามลักษณะสําคัญ 3 ประการ ตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันที่ดี ในตัวแลว ยังจะตองอยูบนพื้นฐานของความรูและคุณธรรมอีกดวย กลาวคือ การบริหาร ทรัพยากรมนุษยตองอาศัยองคความรู เกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน มีความรอบคอบในนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน รวมทั้งมีความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ โดยในปจจุบันมีการใหความสําคัญกับเรื่องของการ จัดการความรู (Knowledge Management) ซึ่งถือเปนกิจกรรมในการบริหารทรัพยากรมนุษย ที่สอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเฉพาะเงื่อนไขของความรู นอกจากนั้นผูมี บทบาทในการบริหารทรัพยากรมนุษยยังตองยึดมั่นในหลักคุณธรรมจริยธรรม และตองมี หนาที่ในการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหกับบุคลากรผานขั้นตอนของกระบวนการ บริหารทรัพยากรมนุษย อาทิ การกําหนดจรรยาบรรณขององคการ (Code of Ethics) เพื่อให 171
  • 13. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 บุคลากรในองคการยึดถือปฏิบัติ การฝกอบรมและพัฒนาดานคุณธรรมจริยธรรม การใช กระบวนการทางวินัย เปนตน โดยเฉพาะดานความซื่อสัตยสุจริต ความอดทน ความเพียร และการใชสติปญญาในการทํางาน และการดําเนินชีวิตอีกดวย บทสรุป ปรัชญาของเศรษกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง พระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยมาเปนระยะเวลายาวนาน เปนหลักปรัชญาที่ชี้แนะแนว ทางการดํารงชีวิต และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับ สามารถนําไปประยุกตใชใน การบริหารงานดานตาง ๆ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการโดยมุงเนนใหเกิด การพั ฒนาที่ สมดุ ล และยั่ งยื น โดยในทุ ก ๆ ขั้ นตอนของกระบวนการของการบริ หาร ทรัพยากรมนุษย ไดแก การวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการบริหารคาตอบแทน สามารถที่จะนําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการบริหารจัดการได อยางไรก็ตามผูที่มีบทบาทสําคัญ ในเรื่องดังกลาว ไมวาจะเปนผูบริหาร หรือหนวยงานทรัพยากรมนุษยจะตองตระหนักและ ใหความสําคัญในเรื่องดังกลาวอยางจริงจัง หากองคการสามารถบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย ได ตามหลักการดั งกล าวแลวจะส งผลดี ทั้งตอบุ คลากร องคการ สั งคม และประเทศชาติ โดยรวม 172
  • 14. ปที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 วารสารวิทยาลัยดุสตธานี ิ บรรณานุกรม ดนัย เทียนพุฒ และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่อง ทิศทางและบทบาทการบริหารทรัพยากร บุคคลในศตวรรษหนา (ป พ.ศ. 2550). กรุงเทพฯ : สถาบันการจัดการงานบุคคล สมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย, 2541. ปราชญา กลาผจัญ และ พอตา บุตรสุทธิวงศ. การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรงเทพฯ : สํานักพิมพขาวฟาง, 2550. ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554. พิมลพรรณ เชื้อบางแกว. การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ , 2550. สมบัติ กุสุมาวลี. หลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน กรณีศึกษาการบริหาร ทรัพยากรมนุษย เครือซิเมนตไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบัน ึ บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2548. อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554. Noe, Raymond A. Human Resource Management: Gaining Competitive Advantage. 7th ed. Boston, Mass: McGraw-Hill, 2010. Stewart, Greg L. and Brown, Kenneth G. Human Resource Management: Linking Strategy to Practice. 2nd ed. Hoboken, N.J.: Wiley; Chichester, 2011. Stone, Raymond J. Managing Human Resource. 6th ed. John Wiley & Sons, Australia: Milton, Qld, 2008. Ulrich, Dave. Human Resource Champions: The next Agenda for Adding Value and Delivering Results. Boston: Harvard Business School Press, 1997. 173
  • 15. Dusit Thani College Journal Vol.7 No.2 July – December 2013 นายสานิตย หนูนิล วุฒิการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากร มนุษยและองคการ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ป จ จุ บั น ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาการจั ด การ คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร ตํา แหนง ปจ จุบัน อาจารยป ระจํา สํา นัก วิช าบริห ารธุร กิจ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี 174