SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
ั
ผลตอบแทนด ้านสงคม (social
  return on investment)
         สฤณี อาชวานันทกุล
      http://www.fringer.org/
          29 กันยายน 2010
ั
“ผลประกอบการด ้านสงคม” ของ
 ธุรกิจ (social performance)
“ไตรกาไรสุทธิ” (triple bottom line)
“ภาพใหญ่” : การเปลียนผ่านไปสู่ “ระบอบทุน
                   ่
นิยมทียั่งยืน”
      ่
“In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in the
natural order of things for corporations to devour competing
corporations, for industries to carve up and digest other
industries, one emerging form of capitalism with a fork –
sustainable capitalism – would certainly constitute real
progress.”
          - John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple
               Bottom Line of 21st Century Business (1997)

  ถ้าวัดผลกระทบสุทธิด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ
 บริษทไม่ได้ ก็เปลี่ยนวิธีดาเนินธุรกิจไปสู่วิถี “ธุรกิจที่ยงยืน” ไม่ได้
     ั                                                     ั่
องค์ประกอบสาคัญของ “ความยั่งยืน”
่
“Triple Bottom Line” ไม่ใชกาไรของบริษัท
                                    ี่        ่
    TBL หมายถึงผลตอบแทนสุทธิทบริษัทสงมอบต่อระบอบ
                        ั      ่ิ            ่
    เศรษฐกิจ สงคม และสงแวดล ้อม ไม่ใชประโยชน์ทางธุรกิจที่
    บริษัทได ้รับ
   อย่างไรก็ด ี แนวคิดการทา “ธุรกิจอย่างยั่งยืน” เสนอว่า บริษัทจะ
    ได ้รับประโยชน์ทางธุรกิจจากกิจกรรมทีสร ้างผลตอบแทนต่อสงคม
                                           ่                    ั
              ิ่
    และสงแวดล ้อมในระยะยาว
                            ่
    ยกตัวอย่างเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด : ผลตอบแทน
                   ิ่
    ด ้านสงแวดล ้อม = การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ
    ผลตอบแทนด ้านการเงิน = การลดต ้นทุนในการดาเนินธุรกิจ (เชน      ่
                 ้
    ค่าใชจ่ายเชอเพลิง)    ื้
   ดังนัน เงือนเวลา (time horizon) จึงเป็ นประเด็นสาคัญในการคิด
          ้           ่
       ่                                         ่   ั
    เรือง triple bottom line : บริษัทจะต ้องเปลียนวิสยทัศน์ให ้มอง
    ยาวขึน  ้
ประวัตศาสตร์ฉบับย่อของการประเมินมูลค่า
       ิ

ก่อนประวัตศาสตร์
          ิ          1400AD               2000AD   อนาคต



                         INTUITION

                             STORIES


                                     SYSTEMS

  financial accounting
    environmental and social accounting
สู่ “มูลค่าผสม” (blended value)
ี้
Triple Bottom Line ชโอกาสในวิกฤต




ทีมา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance
  ่
       Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
ผู ้ใช ้ (users) ของตัวชวดผลตอบแทนด ้านสงคม
                        ี้ ั            ั
                                                  ี
 • บริษัท  ประเมินผลและวัดความคืบหน ้าของซเอสอาร์/
   ธุรกิจทียั่งยืน, เปิ ดเผยข ้อมูล, ทาการตลาด & PR
           ่
          ่         ี
 • ผู ้มีสวนได ้เสย (ผู ้บริโภค ชาวบ ้านในชุมชน เอ็นจีโอ) 
   อยากรู ้ว่าผลกระทบต่อตัวเองคืออะไร บริษัทสร ้างสรรค์
    ั            ิ่
   สงคมและสงแวดล ้อมอย่างไร
                      ่ ั
 • กองทุน/นักลงทุนเพือสงคม/องค์กรการกุศล (socially
   responsible investment funds (SRI funds), impact
   investors, foundations)  อยากเปรียบเทียบทางเลือก
   ในการลงทุนและประเมินผลตอบแทนจากการลงทุน
บริษัทยักษ์ใหญ่เริ่มทา “sustainable livelihood business”
เจาะลูกค้าในตลาดฐานปิระมิด (bottom-of-pyramid)




                                                     11
                                                          •11
ประชาชนเรียกร ้องความรับผิดชอบ
What do you think is the role of big business in society? – The Millennium Poll




 ทีมา: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon-
   ่
     investment.html
ั
กองทุนที่ “รับผิดชอบต่อสงคม” มีขนาดไม่น ้อย
กว่า $3 ล ้านล ้านเหรียญ เติบโต 10-15% ต่อปี
Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds:
• Screening
• Shareholder Advocacy
• Community Investment
ข ้อตกลงระหว่างประเทศทีเกียวข ้อง
                       ่ ่

        (People)           (Planet)           (Profit)
        Social             Environment        Economics
                           Johannesburg
                           Action Plan

                                              Taxes
                           Rio Declaration
                                              Antitrust laws and
       The International
                                              regulations
       Bill of Human       The UN
       Rights              Biodiversity       UN Anti-Corruption
                           Convention         Convention
                           Others, e.g. ISO   Accounting
                           14000 & 26000      Standards
มาตรฐานทีเกียวข ้องและดัชนีความยั่งยืน
         ่ ่
มาตรฐานทีมกระบวนการรับรอง (certification process)
           ่ ี
• ISO 14000
• Fair Trade, FSC (ป่ าไม ้), MSC (ประมง)
มาตรฐานทีขาดกระบวนการรับรอง (self-report)
            ่
• UN Global Compact
• ISO 26000
• Principles of Responsible Investment (PRI)
ดัชนีความยั่งยืน
• Dow Jones Sustainability Index
• FTSE4Good
• Global Climate 100, Domini 400
UN Global Compact (1999)
                                   ิ
• สนับสนุนและเคารพในการปกป้ องสทธิมนุษยชนตาม
  ปฏิญญาสากล
                                             ่
• หมั่นตรวจตราดูแลมิให ้ธุรกิจของตนเข ้าไปมีสวนเกียวข ้องกับ
                                                  ่
                   ิ
  การล่วงละเมิดสทธิมนุษยชน
                                           ิ
• คุ ้มครองเสรีภาพในการสมาคมและยอมรับสทธิการเจรจา
  ต่อรองร่วมของลูกจ ้าง
• พิทักษ์ เสรีภาพในการรวมกลุมของแรงงานและการรับรอง
                              ่
    ิ
  สทธิในการเจรจาต่อรองกับนายจ ้าง
               ้
• ขจัดการใชแรงงานเกณฑ์และแรงงานภาคบังคับทุกรูปแบบ
                 ้
• ยกเลิกการใชแรงงานเด็ก
• ขจัดการเลือกปฏิบตด ้านการจ ้างงานและการประกอบอาชพ
                     ั ิ                                 ี
UN Global Compact (1999) (ต่อ)
• สนับสนุนหลักความรอบคอบในการรับมือกับความท ้า
              ิ่
  ทายด ้านสงแวดล ้อม
                  ่ ่                        ิ่
• ริเริมโครงการทีสงเสริมความรับผิดชอบต่อสงแวดล ้อม
          ่
     ่
• สงเสริมการพัฒนาและเผยแพร่เทคโนโลยีทเป็ นมิตรต่อ
                                                ี่
       ิ่
  สงแวดล ้อม
                                      ั่
• ดาเนินธุรกิจด ้วยวิธทตอต ้านคอร์รัปชนทุกรูปแบบ
                      ี ี่ ่
  รวมทังการกรรโชกและการติดสนบน
            ้                   ิ
มาตรฐาน ISO 26000
                             ้
พัฒนาตังแต่ปี 2005 จะประกาศใชในปี 2010 มีหลักการ 7 ข ้อ ได ้แก่
       ้
1.   ​หลักการปฏิบัตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) :
                    ิ
      บริษัทจะต ้องปฏิบตตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ตางๆ ทีเกียวข ้องใน
                       ั ิ                      ่    ่ ่
                                   ิ         ิ
      ระดับชาติและระดับสากล ทังในเชงรุกและเชงรับ
                              ้
2.   หลักการเคารพต่อแนวปฏิบัตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of
                                 ิ
     respect for authoritative inter-government agreements or
                                                        ั
     internationally recognized instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล
         ่ั                             ี้      ึ่
     คาสง ประกาศ ข ้อตกลง มติ และข ้อชนาต่างๆ ซงไดรับการรับรองจาก
                                                    ้
     องค์กรสากลทีเกียวข ้องกับบริษัท
                   ่ ่
3.                                  ้ ่ ้ ี
     ​หลักการใหความสาคัญกับผูมีสวนไดเสย ( Principle of recognition
                  ้
                                                          ิ
      of stakeholders and concerns) บริษัทควรตระหนักในสทธิและผล
                        ้ ่     ้ ี
      ประโยชน์ของผูมีสวนไดเสย โดยเปิ ดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น
                                               ้
                                            ิ               ่
      เกียวกับกิจกรรมของบริษัท และการตัดสนใจใดๆ ก็ตามทีจะสงผล
         ่                                              ่
                    ้ ่
      กระทบต่อผูมีสวนไดเสย  ้ ี
มาตรฐาน ISO 26000 (ต่อ)
4.   หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได ้ (Principle of
                             ่
     accountability) การดาเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษัท ต ้อง
     สามารถตรวจสอบไดจากภายนอก
                        ้
5.   หลักความโปร่งใส (Principle of transparency) บริษัทควร
                           ้ ้ ่    ้ ี
     เปิ ดเผยข ้อมูลต่างๆใหผูมีสวนไดเสยฝ่ ายต่างๆ รวมถึงผูที่
                                                          ้
         ่         ้             ั
     เกียวข ้องไดรับทราบอย่างชดเจนและทันท่วงที
6.                    ิ
     หลักความเคารพในสทธิมนุษยชน (Principle of respect of
     fundamental human right) บริษัทควรดาเนินกิจการในทางที่
                                    ิ
     สอดคล ้องกับปฏิญญาสากลว่าด ้วยสทธิมนุษยชน
7.   หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for
                                                         ื้
     diversity) บริษัทควรจ ้างพนักงานโดยไม่มีการแบ่งแยกเชอชาติ
      ี ิ        ื่
     สผว ความเชอ อายุ เพศ                                   19
“ความรับผิดชอบ” ตาม ISO 26000
1. มีการกา​ ับ​ ​ ลกิจการทีด​(Organization governance)​​ ริษัท
                    ก ดแ     ู          ่ ี                              บ
    ควรกาหนดหน ้าทีใหคณะกรรมการฝ่ ายจัดการ ผูถือหุ ้น และผูมีสวนได ้
                                 ่ ้                         ้       ้ ่
            ี                     ่
    เสยสามารถสอดสองดูแลผลงานและการดาเนินธุรกิจของบริษัทได ้ เพือ                ่
    แสดงถึงความโปร่งใส พร ้อมรับการตรวจสอบ และสามารถชแจงใหผูมี    ี้        ้ ้
      ่           ้ ี
    สวนไดเสยไดรับทราบผลการปฏิบตงานได ้
                           ้                    ั ิ
              นึ ถึ สิ                                    ึ่
2. ​คา​ ง​ ง​ ทธิมนุษยชน​(Human rights) ซงเป็ นสทธิขันพืนฐาน   ิ ้ ้
                               ิ                        ิ
    ของมนุษย์ โดยสทธิดังกล่าวควรครอบคลุมถึงสทธิความเป็ นพลเมือง
        ิ                           ิ               ั
    สทธิทางการเมือง สทธิทางเศรษฐกิจ สงคม และวัฒนธรรม และสทธิ              ิ
    ตามกฎหมายระหว่างประเทศด ้วย
3. ​ขอปฏิบ ัติดานแรงงาน​(Labor practices)​​บริษัทต ้องตระหนักว่า
          ้            ้
                         ่ ิ
    แรงงานไม่ใชสนค ้า ไม่ควรปฏิบตเสมือนแรงงานเป็ นปั จจัยการผลิต
                                            ั ิ
                 แ ่ิ
4. การดู​ ลสงแวดล้อม​(Environment)​บริษัทจะต ้องคานึงถึง
                                      ​
                                             ่
    หลักการป้ องกันปั ญหามลพิษ สงเสริมการบริโภคอย่างยั่งยืน
                                                      ้
    (sustainable consumption) และการใชทรัพยากรอย่างมีประสทธิภาพ        ิ
    ในการผลิตและบริการ
“ความรับผิดชอบ” ตาม ISO 26000 (ต่อ)
5. ​การดา​ นินธุรกิจอย่าง​ ปน​ รรม​(Fair operating
              เ                     เ ็ ธ
                                                               ึ่
    practices)​ธุรกิจควรแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและเปิ ดกว ้าง ซงจะ
      ่     ่                 ิ                 ิ
    ชวยสงเสริมประสทธิภาพในการลดต ้นทุนสนค ้าและบริการ สงเสริม่
                                              ่
    นวัตกรรมใหม่ๆ ในการทาธุรกิจ ตลอดจนชวยขยายการเติบโตทาง
    เศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชพในระยะยาว  ี
        ่
6. ​ใส​ จต่อ​ ​ ริ​ ภค​(Consumer issues)​​ ริษัทจะต ้องเปิ ด
        ใ            ผบ โ
                       ู้                         บ
                      ้ ้        ้                  ้ ิ
    โอกาสใหผูบริโภคไดรับทราบข ้อมูลในการใชสนค ้าและบริการ
    อย่างเหมาะสม และต ้องใหความสาคัญกับการพัฒนาสนค ้าและ
                                        ้                 ิ
                                   ่ ั
    บริการทีเป็ นประโยชน์ตอสงคม โดยคานึงถึงความปลอดภัยในการ
                ่
          ้                                       ิ
    ใชงานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบว่าสนค ้าไม่เป็ นไปตาม
                                     ้      ่
                                                        ิ
    เกณฑ์ทกาหนด จะต ้องมีกลไกในการเรียกคืนสนค ้า และเคารพใน
                  ี่
    กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค
                          ่ ั
7. การแบ่งปันสูสงคม​ ละ​ ุมชน​(Contribution to the
                                แ ช
    community and society)​                                       21
้ี ั    ิ่
กรอบตัวชวดด ้านสงแวดล ้อม
้ี ั         ่
กรอบตัวชวดด ้านการมีสวนร่วมกับชุมชน
ิ่
ตัวอย่างรูปแบบการเปิ ดเผยข ้อมูลสงแวดล ้อม




  ่                                     ั
ทีมา: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพกับปญหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดย ศุภกิจ นัน
                                                             ่
ทะวรการ และ เดชรัต สุขกาเนิด มูลนิธนโยบายสุขภาวะ
                                   ิ
การเปิ ดเผยข ้อมูลระดับโรงงานในอเมริกา




  ่                                     ั
ทีมา: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพกับปญหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดย ศุภกิจ นัน
                                                             ่
ทะวรการ และ เดชรัต สุขกาเนิด มูลนิธนโยบายสุขภาวะ
                                   ิ
ปั ญหาในภาคปฏิบต ิ
               ั
• อัตราการตอบแบบสารวจยังตามาก (<20%)
                                   ่
• ปั ญหาเรืองความถูกต ้องของข ้อมูล
           ่
  • บริษัททีผลงานไม่ดออกแบบตัววัดของตัวเองได ้
             ่             ี
  • มาตรฐานทีอตสาหกรรมคิดเองอาจ “อ่อน” เกินไป
                   ่ ุ
                                     ี
• ผลงาน “ดี” บางครังอาจเป็ นผลเสยต่อสงคม
                       ้                    ั
                 ้
  • การห ้ามใชแรงงานเด็ก  ในประเทศยากจน เด็ก
      อาจไม่ได ้ไปโรงเรียน เด็กผู ้หญิงกลายเป็ นโสเภณี
                         ่       ้
  • กระบวนการผลิตทีไม่ใชสารตะกัว  บริษัทอาจ
                                       ่
        ้
      ใชกระบวนการผลิตอืนทีทาลายสงแวดล ้อม
                             ่ ่         ิ่
      มากกว่าก็ได ้
Reliability & Comparability

• Reliability: เชอถือได ้แค่ไหน? (ถ ้าใช ้
                 ื่
  แบบสารวจ ถามคาถามเดิม จะได ้คาตอบ
  เดิมหรือไม่?)

• Comparability: เปรียบเทียบข ้ามบริษัท
  ได ้หรือไม่? ข ้ามอุตสาหกรรม? ข ้าม
  ประเทศ?
Validity (ความถูกต ้อง)
        ี้     ่ ้                      ั
• ตัวชวัดทีใชสะท ้อนผลงานทีสาคัญต่อสงคมหรือไม่?
                                 ่
             ั     ั ี้
• ปั จจุบนยังมีตวชวัดน ้อยตัวทีสะท ้อนผลประกอบการ
                               ่
           ั
  ทางสงคมของคูค ้าและห่วงโซอปทาน
                     ่             ่ ุ
• ตัวอย่าง
  – จานวนตัวแทนชนกลุมน ้อยในคณะกรรมการบริษัท  บอก
                        ่
    ได ้หรือไม่วาบริษัทปฏิบตตอชนกลุมน ้อยอย่างไร?
                ่          ั ิ ่   ่
  – ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีปล่อยในแต่ละปี  สะท ้อน
                          ่
                       ิ
    ผลกระทบภายนอกเชงลบทังหมดของโรงงานได ้หรือไม่?
                            ้
  – จานวนกรรมการในคณะกรรมการบริษัท  บอกคุณภาพของ
    ธรรมาภิบาลบริษัทได ้หรือไม่?
ตัวอย่างบริษัททีมผลประกอบการด ้าน
                ่ ี
    ั
  สงคมโดดเด่น : The Body Shop
พันธกิจของบริษัท The Body Shop
จาก “พันธกิจ” สู่ “คุณค่า” (values)
่
จาก “คุณค่า” สูการปฏิบต ิ
                      ั
่
จาก “คุณค่า” สูการปฏิบต ิ (ต่อ)
                      ั
  Values Committee
เป้ าหมายและความคืบหน ้า
เป้ าหมายและความคืบหน ้า (ต่อ)
เป้ าหมายและความคืบหน ้า (ต่อ)
ั
“ผลประกอบการด ้านสงคม” ของ
   สถาบันไมโครไฟแนนซ ์
มาตรฐานในการประเมิน “ผลงาน” ของ MFI
• “มาตรฐาน” อุตสาหกรรม (industry benchmarks)
  – Mix Microbanking Bulletin (MBB)
• ผลการประกอบการด ้านการเงิน (financial
  performance)
  – Microfinance Consensus Guidelines & Appraisal Guide
    โดย CGAP
                      ั
• ผลการประกอบการด ้านสงคม (social performance)
  – ยังไม่ถงขันมี “มาตรฐาน” แต่มแนวทางทีสรุปโดยกลุม MFI
           ึ ้                  ี       ่         ่
             ่
    ต่างๆ เชน Social Performance Task Force, ForolacFR, ฯลฯ
  – Progress Out of Poverty Index (PPI) ของ Grameen
    Foundation
“มาตรฐาน” อุตสาหกรรม MFI
•   Mix Microbanking Bulletin -http://www.mixmbb.org/ รวบรวมและข ้อมูลตีพมพ์
                                                                         ิ
    รายงานรายไตรมาส จาก MFI ประมาณ 900 แห่งทั่วโลก
้ี ั
ตัวอย่างดัชนีชวดผลงานด ้านการเงิน




                     ทีมา: CGAP, Microfinance Consensus
                       ่
                     Guidelines
้ี ั
ตัวอย่างดัชนีชวดผลงานด ้านการเงิน (ต่อ)
ั
“ผลงานด ้านสงคม” ของ MFI
                             ั
     กรอบการประเมินผลงานด้านสงคม​(social performance)

    1. เจตนาและการออกแบบองค์กร​(INTENT AND DESIGN)
                                                  ั    ั
พันธกิจ (mission) ขององค์กรคืออะไร มีเป้ าหมายทางสงคมชดเจนหรือไม่ มี
          ระบบทีถกออกแบบมาให ้บรรลุเป้ าหมายเหล่านันหรือไม่
                ่ ู                                 ้

                                ​​
              2. กิจกรรมขององค์กร​(ACTIVITIES)
            MFI ทากิจกรรมอะไรบ ้างเพือบรรลุพันธกิจทีตงไว ้
                                     ่              ่ ั้
                                ​​

                       3. ผลผลิต​(OUTPUT)
MFI ให ้บริการกับคนจนและคนจนเรือรังหรือไม่ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ถูก
                               ้
        ออกแบบมาเพือตอบสนองความต ้องการของคนเหล่านีหรือไม่
                    ่                                  ้
                                 ​​

          4. ผลล ัพธ์​/ ผลกระทบ​(OUTCOME /​IMPACT)
                                   ่   ั
  ลูกค ้าของ MFI มีฐานะความเป็ นอยูทางสงคมและเศรษฐกิจดีขนหรือไม่
                                                        ึ้
ั
เครืองมือประเมินผลงานด ้านสงคม
    ่
what constitutes “social performance”
                                                                           Social Performance Task Force (SPTF) –
ปั ญหา moral hazard  “credit ease”




KEY
Indicators above the dash lines – agree to do
Indicators below the dash lines or in dash line boxes – agree to work on
  (definitions, tools)
Specific indicators A-D – agree to work on in specific contexts
ั
     ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม
                      ั
    • ForolacFR (http://www.forolacfr.org/) เป็ นเครือข่ายของ MFI ประมาณ 50 แห่งในทวีปอเมริกาใต ้
      และคาริบเบียน จัดทาชุดดัชนีวัด social performance เป็ นโครงการนาร่องในปี 2008

(1) Basic Indicators for Social Performance
    Management
     Indicator                                  Algorithm                           SPTF reference
                                                 FOCUS
1. Outreach to           Outreach poor: % of new poor clients in relation to             Q18
poverty and              the total number of clients. To promote the
vulnerability            segregation for different poor levels
                         Outreach to women: % of women clients in relation               Q17
                         to the total number of active clients
                         Outreach to the rural area: % of clients in rural areas         Q17
                         in relation to the total number f active clients
                                         CLIENT SATISFACTION
2. Client Satisfaction   Desertion Rate of client= = (No. of active clients at           Q19
                         initial time + No. of new clients – No. of active
                         clients at final time)/(No. of clients at initial time +
                         No. of new clients)
                         Cost of service: Real interest rate in relation to the         ~Q12
                         average national interest rate of the sector.
ั
     ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม (ต่อ)
                      ั
(1) Basic Indicators for Social Performance (continued)
                                               RESULTS
3. Employment            Employment consolidation: Secure full-time job positions in           ~QC
Creation                 relation to total of clients served
                         Employment creation: New full-time job positions created in           QC
                         relation to the total number of clients served
4. Social Capital        Social Capital Support: % of clients served with methodologies        Q4.1
                         that generate social capital (common banks, credit networks) in
                         relation to the total of active clients.
                         % of clients that lead or participate in social organizations in
                         relation to the total number of active clients
5. Capital and Assets    Active Assets: % of loans to the investment of fixed assets in
Creation                 relation to the total number of active loans.
                         Long-term loans: % of loans of long term loans in relation to the
                         total of active loans.
                                       SOCIAL RESPONSIBILITY
6. Surplus Assignation   Reinvestment: % of surplus reinvestment
                         Community Support: % of surplus used in supporting social or
                         community projects.
                         Employers Training: % of surplus used in training employers of MFIs
ั
     ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม (ต่อ)
                      ั
(2) Social Performance Indicators related to a context
     Management                                    Algorithm
      Indicators
7. Services            Savings: % of clients that receive voluntary savings services in relation    Q4.2
Diversification        to the total of number of active clients.
                       % average saving
                       Insurance: % of clients that receive insurance services in relation to
                       the total of number of active clients.
                       Transfers, Remittances: % of clients that receive transfers or
                       remittances services in relation to the total of number of active
                       clients.
                       Other services: % of clients that receive other financial services in
                       relation to the total of number of active clients.
8. Access to Human     Education: % of clients that receive education services in relation to       Q4.3
and economic           the total of number of active clients.
Development Services
                       Health: % of clients that receive health services in relation to the total
                       of number of active clients
                       Microentreprises Development; % of clients that have received
                       technical assistance or management enterprise services in relation to
                       the total of number of active clients.
                       Economic Development: farmers organization, value chains
                       integration, local development
ธนาคารกรามีน: Progress out of Poverty
Index (PPI)
                                               ี้ ั
ขันแรก วัดคะแนน PPI ของลูกค ้าแต่ละคน จากดัชนีชวดความจน 10 ตัว
  ้
การคานวณ PPI (ต่อ)
            ่             ่                       ่    ่      ้
ขันทีสอง ดูวาคะแนน PPI มีคาความเป็ นไปได ้เท่าไรทีจะอยูเหนือเสนความจน
  ้ ่
การคานวณ PPI (ต่อ)
  ้ ่              ั ่            ้       ่ ่    ้
ขันทีสาม ประเมินสดสวนของลูกค ้าทังหมดทีอยูเหนือเสนความยากจน เมือได ้
                                                               ่
      ่
อัตราสวนนีแล ้วก็จะสามารถเปรียบเทียบปี ตอปี ได ้
          ้                             ่
จาก “ผลประกอบการด ้านสงคม” สู่
                      ั
                ั
 “ผลตอบแทนด ้านสงคม” (SROI)
ั
กรอบคิดในการวัดผลตอบแทนด ้านสงคม
• ผู ้บุกเบิก – REDF, World Bank, Acumen
  Fund, NEF
                                ้
• กรอบคิดทีเข ้าใจง่ายและปรับใชได ้กว ้างคือ
               ่
  กรอบการวัดของการประกวดแผนธุรกิจเพือ     ่
   ั
  สงคม GSVC (Global Social Venture
  Competition)
Theory of Change
Impact Value Chain
่ ู
จากผลผลิต (output) สูมลค่าทางการเงิน

More Related Content

Similar to Social Return on Investment

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
A3970d01
A3970d01A3970d01
A3970d01kikhu
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีlogbaz
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3pantapong
 
PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4Share Rora
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionLeading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionSasin SEC
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารmaruay songtanin
 

Similar to Social Return on Investment (20)

Triple Bottom Line
Triple Bottom LineTriple Bottom Line
Triple Bottom Line
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
CSR and Labor
CSR and LaborCSR and Labor
CSR and Labor
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
A3970d01
A3970d01A3970d01
A3970d01
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชี
 
ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
CSR-DPIM
CSR-DPIMCSR-DPIM
CSR-DPIM
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
CSR 2.0
CSR 2.0CSR 2.0
CSR 2.0
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3
 
PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious VisionLeading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
Leading the Change: Thaioil's Ambitious Vision
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Social Return on Investment

  • 1. ั ผลตอบแทนด ้านสงคม (social return on investment) สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ 29 กันยายน 2010
  • 4. “ภาพใหญ่” : การเปลียนผ่านไปสู่ “ระบอบทุน ่ นิยมทียั่งยืน” ่ “In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in the natural order of things for corporations to devour competing corporations, for industries to carve up and digest other industries, one emerging form of capitalism with a fork – sustainable capitalism – would certainly constitute real progress.” - John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple Bottom Line of 21st Century Business (1997) ถ้าวัดผลกระทบสุทธิด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ บริษทไม่ได้ ก็เปลี่ยนวิธีดาเนินธุรกิจไปสู่วิถี “ธุรกิจที่ยงยืน” ไม่ได้ ั ั่
  • 6. ่ “Triple Bottom Line” ไม่ใชกาไรของบริษัท  ี่ ่ TBL หมายถึงผลตอบแทนสุทธิทบริษัทสงมอบต่อระบอบ ั ่ิ ่ เศรษฐกิจ สงคม และสงแวดล ้อม ไม่ใชประโยชน์ทางธุรกิจที่ บริษัทได ้รับ  อย่างไรก็ด ี แนวคิดการทา “ธุรกิจอย่างยั่งยืน” เสนอว่า บริษัทจะ ได ้รับประโยชน์ทางธุรกิจจากกิจกรรมทีสร ้างผลตอบแทนต่อสงคม ่ ั ิ่ และสงแวดล ้อมในระยะยาว  ่ ยกตัวอย่างเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด : ผลตอบแทน ิ่ ด ้านสงแวดล ้อม = การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ ผลตอบแทนด ้านการเงิน = การลดต ้นทุนในการดาเนินธุรกิจ (เชน ่ ้ ค่าใชจ่ายเชอเพลิง) ื้  ดังนัน เงือนเวลา (time horizon) จึงเป็ นประเด็นสาคัญในการคิด ้ ่ ่ ่ ั เรือง triple bottom line : บริษัทจะต ้องเปลียนวิสยทัศน์ให ้มอง ยาวขึน ้
  • 7. ประวัตศาสตร์ฉบับย่อของการประเมินมูลค่า ิ ก่อนประวัตศาสตร์ ิ 1400AD 2000AD อนาคต INTUITION STORIES SYSTEMS financial accounting environmental and social accounting
  • 9. ี้ Triple Bottom Line ชโอกาสในวิกฤต ทีมา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance ่ Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 10. ผู ้ใช ้ (users) ของตัวชวดผลตอบแทนด ้านสงคม ี้ ั ั ี • บริษัท  ประเมินผลและวัดความคืบหน ้าของซเอสอาร์/ ธุรกิจทียั่งยืน, เปิ ดเผยข ้อมูล, ทาการตลาด & PR ่ ่ ี • ผู ้มีสวนได ้เสย (ผู ้บริโภค ชาวบ ้านในชุมชน เอ็นจีโอ)  อยากรู ้ว่าผลกระทบต่อตัวเองคืออะไร บริษัทสร ้างสรรค์ ั ิ่ สงคมและสงแวดล ้อมอย่างไร ่ ั • กองทุน/นักลงทุนเพือสงคม/องค์กรการกุศล (socially responsible investment funds (SRI funds), impact investors, foundations)  อยากเปรียบเทียบทางเลือก ในการลงทุนและประเมินผลตอบแทนจากการลงทุน
  • 11. บริษัทยักษ์ใหญ่เริ่มทา “sustainable livelihood business” เจาะลูกค้าในตลาดฐานปิระมิด (bottom-of-pyramid) 11 •11
  • 12. ประชาชนเรียกร ้องความรับผิดชอบ What do you think is the role of big business in society? – The Millennium Poll ทีมา: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon- ่ investment.html
  • 13. ั กองทุนที่ “รับผิดชอบต่อสงคม” มีขนาดไม่น ้อย กว่า $3 ล ้านล ้านเหรียญ เติบโต 10-15% ต่อปี Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds: • Screening • Shareholder Advocacy • Community Investment
  • 14. ข ้อตกลงระหว่างประเทศทีเกียวข ้อง ่ ่ (People) (Planet) (Profit) Social Environment Economics Johannesburg Action Plan Taxes Rio Declaration Antitrust laws and The International regulations Bill of Human The UN Rights Biodiversity UN Anti-Corruption Convention Convention Others, e.g. ISO Accounting 14000 & 26000 Standards
  • 15. มาตรฐานทีเกียวข ้องและดัชนีความยั่งยืน ่ ่ มาตรฐานทีมกระบวนการรับรอง (certification process) ่ ี • ISO 14000 • Fair Trade, FSC (ป่ าไม ้), MSC (ประมง) มาตรฐานทีขาดกระบวนการรับรอง (self-report) ่ • UN Global Compact • ISO 26000 • Principles of Responsible Investment (PRI) ดัชนีความยั่งยืน • Dow Jones Sustainability Index • FTSE4Good • Global Climate 100, Domini 400
  • 16. UN Global Compact (1999) ิ • สนับสนุนและเคารพในการปกป้ องสทธิมนุษยชนตาม ปฏิญญาสากล ่ • หมั่นตรวจตราดูแลมิให ้ธุรกิจของตนเข ้าไปมีสวนเกียวข ้องกับ ่ ิ การล่วงละเมิดสทธิมนุษยชน ิ • คุ ้มครองเสรีภาพในการสมาคมและยอมรับสทธิการเจรจา ต่อรองร่วมของลูกจ ้าง • พิทักษ์ เสรีภาพในการรวมกลุมของแรงงานและการรับรอง ่ ิ สทธิในการเจรจาต่อรองกับนายจ ้าง ้ • ขจัดการใชแรงงานเกณฑ์และแรงงานภาคบังคับทุกรูปแบบ ้ • ยกเลิกการใชแรงงานเด็ก • ขจัดการเลือกปฏิบตด ้านการจ ้างงานและการประกอบอาชพ ั ิ ี
  • 17. UN Global Compact (1999) (ต่อ) • สนับสนุนหลักความรอบคอบในการรับมือกับความท ้า ิ่ ทายด ้านสงแวดล ้อม ่ ่ ิ่ • ริเริมโครงการทีสงเสริมความรับผิดชอบต่อสงแวดล ้อม ่ ่ • สงเสริมการพัฒนาและเผยแพร่เทคโนโลยีทเป็ นมิตรต่อ ี่ ิ่ สงแวดล ้อม ั่ • ดาเนินธุรกิจด ้วยวิธทตอต ้านคอร์รัปชนทุกรูปแบบ ี ี่ ่ รวมทังการกรรโชกและการติดสนบน ้ ิ
  • 18. มาตรฐาน ISO 26000 ้ พัฒนาตังแต่ปี 2005 จะประกาศใชในปี 2010 มีหลักการ 7 ข ้อ ได ้แก่ ้ 1. ​หลักการปฏิบัตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) : ิ บริษัทจะต ้องปฏิบตตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ตางๆ ทีเกียวข ้องใน ั ิ ่ ่ ่ ิ ิ ระดับชาติและระดับสากล ทังในเชงรุกและเชงรับ ้ 2. หลักการเคารพต่อแนวปฏิบัตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of ิ respect for authoritative inter-government agreements or ั internationally recognized instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล ่ั ี้ ึ่ คาสง ประกาศ ข ้อตกลง มติ และข ้อชนาต่างๆ ซงไดรับการรับรองจาก ้ องค์กรสากลทีเกียวข ้องกับบริษัท ่ ่ 3. ้ ่ ้ ี ​หลักการใหความสาคัญกับผูมีสวนไดเสย ( Principle of recognition ้ ิ of stakeholders and concerns) บริษัทควรตระหนักในสทธิและผล ้ ่ ้ ี ประโยชน์ของผูมีสวนไดเสย โดยเปิ ดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น ้ ิ ่ เกียวกับกิจกรรมของบริษัท และการตัดสนใจใดๆ ก็ตามทีจะสงผล ่ ่ ้ ่ กระทบต่อผูมีสวนไดเสย ้ ี
  • 19. มาตรฐาน ISO 26000 (ต่อ) 4. หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได ้ (Principle of ่ accountability) การดาเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษัท ต ้อง สามารถตรวจสอบไดจากภายนอก ้ 5. หลักความโปร่งใส (Principle of transparency) บริษัทควร ้ ้ ่ ้ ี เปิ ดเผยข ้อมูลต่างๆใหผูมีสวนไดเสยฝ่ ายต่างๆ รวมถึงผูที่ ้ ่ ้ ั เกียวข ้องไดรับทราบอย่างชดเจนและทันท่วงที 6. ิ หลักความเคารพในสทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental human right) บริษัทควรดาเนินกิจการในทางที่ ิ สอดคล ้องกับปฏิญญาสากลว่าด ้วยสทธิมนุษยชน 7. หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for ื้ diversity) บริษัทควรจ ้างพนักงานโดยไม่มีการแบ่งแยกเชอชาติ ี ิ ื่ สผว ความเชอ อายุ เพศ 19
  • 20. “ความรับผิดชอบ” ตาม ISO 26000 1. มีการกา​ ับ​ ​ ลกิจการทีด​(Organization governance)​​ ริษัท ก ดแ ู ่ ี บ ควรกาหนดหน ้าทีใหคณะกรรมการฝ่ ายจัดการ ผูถือหุ ้น และผูมีสวนได ้ ่ ้ ้ ้ ่ ี ่ เสยสามารถสอดสองดูแลผลงานและการดาเนินธุรกิจของบริษัทได ้ เพือ ่ แสดงถึงความโปร่งใส พร ้อมรับการตรวจสอบ และสามารถชแจงใหผูมี ี้ ้ ้ ่ ้ ี สวนไดเสยไดรับทราบผลการปฏิบตงานได ้ ้ ั ิ นึ ถึ สิ ึ่ 2. ​คา​ ง​ ง​ ทธิมนุษยชน​(Human rights) ซงเป็ นสทธิขันพืนฐาน ิ ้ ้ ิ ิ ของมนุษย์ โดยสทธิดังกล่าวควรครอบคลุมถึงสทธิความเป็ นพลเมือง ิ ิ ั สทธิทางการเมือง สทธิทางเศรษฐกิจ สงคม และวัฒนธรรม และสทธิ ิ ตามกฎหมายระหว่างประเทศด ้วย 3. ​ขอปฏิบ ัติดานแรงงาน​(Labor practices)​​บริษัทต ้องตระหนักว่า ้ ้ ่ ิ แรงงานไม่ใชสนค ้า ไม่ควรปฏิบตเสมือนแรงงานเป็ นปั จจัยการผลิต ั ิ แ ่ิ 4. การดู​ ลสงแวดล้อม​(Environment)​บริษัทจะต ้องคานึงถึง ​ ่ หลักการป้ องกันปั ญหามลพิษ สงเสริมการบริโภคอย่างยั่งยืน ้ (sustainable consumption) และการใชทรัพยากรอย่างมีประสทธิภาพ ิ ในการผลิตและบริการ
  • 21. “ความรับผิดชอบ” ตาม ISO 26000 (ต่อ) 5. ​การดา​ นินธุรกิจอย่าง​ ปน​ รรม​(Fair operating เ เ ็ ธ ึ่ practices)​ธุรกิจควรแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและเปิ ดกว ้าง ซงจะ ่ ่ ิ ิ ชวยสงเสริมประสทธิภาพในการลดต ้นทุนสนค ้าและบริการ สงเสริม่ ่ นวัตกรรมใหม่ๆ ในการทาธุรกิจ ตลอดจนชวยขยายการเติบโตทาง เศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชพในระยะยาว ี ่ 6. ​ใส​ จต่อ​ ​ ริ​ ภค​(Consumer issues)​​ ริษัทจะต ้องเปิ ด ใ ผบ โ ู้ บ ้ ้ ้ ้ ิ โอกาสใหผูบริโภคไดรับทราบข ้อมูลในการใชสนค ้าและบริการ อย่างเหมาะสม และต ้องใหความสาคัญกับการพัฒนาสนค ้าและ ้ ิ ่ ั บริการทีเป็ นประโยชน์ตอสงคม โดยคานึงถึงความปลอดภัยในการ ่ ้ ิ ใชงานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบว่าสนค ้าไม่เป็ นไปตาม ้ ่ ิ เกณฑ์ทกาหนด จะต ้องมีกลไกในการเรียกคืนสนค ้า และเคารพใน ี่ กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค ่ ั 7. การแบ่งปันสูสงคม​ ละ​ ุมชน​(Contribution to the แ ช community and society)​ 21
  • 22. ้ี ั ิ่ กรอบตัวชวดด ้านสงแวดล ้อม
  • 23. ้ี ั ่ กรอบตัวชวดด ้านการมีสวนร่วมกับชุมชน
  • 24. ิ่ ตัวอย่างรูปแบบการเปิ ดเผยข ้อมูลสงแวดล ้อม ่ ั ทีมา: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพกับปญหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดย ศุภกิจ นัน ่ ทะวรการ และ เดชรัต สุขกาเนิด มูลนิธนโยบายสุขภาวะ ิ
  • 25. การเปิ ดเผยข ้อมูลระดับโรงงานในอเมริกา ่ ั ทีมา: การประเมินผลกระทบทางสุขภาพกับปญหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดย ศุภกิจ นัน ่ ทะวรการ และ เดชรัต สุขกาเนิด มูลนิธนโยบายสุขภาวะ ิ
  • 26. ปั ญหาในภาคปฏิบต ิ ั • อัตราการตอบแบบสารวจยังตามาก (<20%) ่ • ปั ญหาเรืองความถูกต ้องของข ้อมูล ่ • บริษัททีผลงานไม่ดออกแบบตัววัดของตัวเองได ้ ่ ี • มาตรฐานทีอตสาหกรรมคิดเองอาจ “อ่อน” เกินไป ่ ุ ี • ผลงาน “ดี” บางครังอาจเป็ นผลเสยต่อสงคม ้ ั ้ • การห ้ามใชแรงงานเด็ก  ในประเทศยากจน เด็ก อาจไม่ได ้ไปโรงเรียน เด็กผู ้หญิงกลายเป็ นโสเภณี ่ ้ • กระบวนการผลิตทีไม่ใชสารตะกัว  บริษัทอาจ ่ ้ ใชกระบวนการผลิตอืนทีทาลายสงแวดล ้อม ่ ่ ิ่ มากกว่าก็ได ้
  • 27. Reliability & Comparability • Reliability: เชอถือได ้แค่ไหน? (ถ ้าใช ้ ื่ แบบสารวจ ถามคาถามเดิม จะได ้คาตอบ เดิมหรือไม่?) • Comparability: เปรียบเทียบข ้ามบริษัท ได ้หรือไม่? ข ้ามอุตสาหกรรม? ข ้าม ประเทศ?
  • 28. Validity (ความถูกต ้อง) ี้ ่ ้ ั • ตัวชวัดทีใชสะท ้อนผลงานทีสาคัญต่อสงคมหรือไม่? ่ ั ั ี้ • ปั จจุบนยังมีตวชวัดน ้อยตัวทีสะท ้อนผลประกอบการ ่ ั ทางสงคมของคูค ้าและห่วงโซอปทาน ่ ่ ุ • ตัวอย่าง – จานวนตัวแทนชนกลุมน ้อยในคณะกรรมการบริษัท  บอก ่ ได ้หรือไม่วาบริษัทปฏิบตตอชนกลุมน ้อยอย่างไร? ่ ั ิ ่ ่ – ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีปล่อยในแต่ละปี  สะท ้อน ่ ิ ผลกระทบภายนอกเชงลบทังหมดของโรงงานได ้หรือไม่? ้ – จานวนกรรมการในคณะกรรมการบริษัท  บอกคุณภาพของ ธรรมาภิบาลบริษัทได ้หรือไม่?
  • 29. ตัวอย่างบริษัททีมผลประกอบการด ้าน ่ ี ั สงคมโดดเด่น : The Body Shop
  • 31. จาก “พันธกิจ” สู่ “คุณค่า” (values)
  • 37. ั “ผลประกอบการด ้านสงคม” ของ สถาบันไมโครไฟแนนซ ์
  • 38. มาตรฐานในการประเมิน “ผลงาน” ของ MFI • “มาตรฐาน” อุตสาหกรรม (industry benchmarks) – Mix Microbanking Bulletin (MBB) • ผลการประกอบการด ้านการเงิน (financial performance) – Microfinance Consensus Guidelines & Appraisal Guide โดย CGAP ั • ผลการประกอบการด ้านสงคม (social performance) – ยังไม่ถงขันมี “มาตรฐาน” แต่มแนวทางทีสรุปโดยกลุม MFI ึ ้ ี ่ ่ ่ ต่างๆ เชน Social Performance Task Force, ForolacFR, ฯลฯ – Progress Out of Poverty Index (PPI) ของ Grameen Foundation
  • 39. “มาตรฐาน” อุตสาหกรรม MFI • Mix Microbanking Bulletin -http://www.mixmbb.org/ รวบรวมและข ้อมูลตีพมพ์ ิ รายงานรายไตรมาส จาก MFI ประมาณ 900 แห่งทั่วโลก
  • 42. ั “ผลงานด ้านสงคม” ของ MFI ั กรอบการประเมินผลงานด้านสงคม​(social performance) 1. เจตนาและการออกแบบองค์กร​(INTENT AND DESIGN) ั ั พันธกิจ (mission) ขององค์กรคืออะไร มีเป้ าหมายทางสงคมชดเจนหรือไม่ มี ระบบทีถกออกแบบมาให ้บรรลุเป้ าหมายเหล่านันหรือไม่ ่ ู ้ ​​ 2. กิจกรรมขององค์กร​(ACTIVITIES) MFI ทากิจกรรมอะไรบ ้างเพือบรรลุพันธกิจทีตงไว ้ ่ ่ ั้ ​​ 3. ผลผลิต​(OUTPUT) MFI ให ้บริการกับคนจนและคนจนเรือรังหรือไม่ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ถูก ้ ออกแบบมาเพือตอบสนองความต ้องการของคนเหล่านีหรือไม่ ่ ้ ​​ 4. ผลล ัพธ์​/ ผลกระทบ​(OUTCOME /​IMPACT) ่ ั ลูกค ้าของ MFI มีฐานะความเป็ นอยูทางสงคมและเศรษฐกิจดีขนหรือไม่ ึ้
  • 44. what constitutes “social performance” Social Performance Task Force (SPTF) – ปั ญหา moral hazard  “credit ease” KEY Indicators above the dash lines – agree to do Indicators below the dash lines or in dash line boxes – agree to work on (definitions, tools) Specific indicators A-D – agree to work on in specific contexts
  • 45. ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม ั • ForolacFR (http://www.forolacfr.org/) เป็ นเครือข่ายของ MFI ประมาณ 50 แห่งในทวีปอเมริกาใต ้ และคาริบเบียน จัดทาชุดดัชนีวัด social performance เป็ นโครงการนาร่องในปี 2008 (1) Basic Indicators for Social Performance Management Indicator Algorithm SPTF reference FOCUS 1. Outreach to Outreach poor: % of new poor clients in relation to Q18 poverty and the total number of clients. To promote the vulnerability segregation for different poor levels Outreach to women: % of women clients in relation Q17 to the total number of active clients Outreach to the rural area: % of clients in rural areas Q17 in relation to the total number f active clients CLIENT SATISFACTION 2. Client Satisfaction Desertion Rate of client= = (No. of active clients at Q19 initial time + No. of new clients – No. of active clients at final time)/(No. of clients at initial time + No. of new clients) Cost of service: Real interest rate in relation to the ~Q12 average national interest rate of the sector.
  • 46. ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม (ต่อ) ั (1) Basic Indicators for Social Performance (continued) RESULTS 3. Employment Employment consolidation: Secure full-time job positions in ~QC Creation relation to total of clients served Employment creation: New full-time job positions created in QC relation to the total number of clients served 4. Social Capital Social Capital Support: % of clients served with methodologies Q4.1 that generate social capital (common banks, credit networks) in relation to the total of active clients. % of clients that lead or participate in social organizations in relation to the total number of active clients 5. Capital and Assets Active Assets: % of loans to the investment of fixed assets in Creation relation to the total number of active loans. Long-term loans: % of loans of long term loans in relation to the total of active loans. SOCIAL RESPONSIBILITY 6. Surplus Assignation Reinvestment: % of surplus reinvestment Community Support: % of surplus used in supporting social or community projects. Employers Training: % of surplus used in training employers of MFIs
  • 47. ForolacFR: ดัชนีวดผลงานด ้านสงคม (ต่อ) ั (2) Social Performance Indicators related to a context Management Algorithm Indicators 7. Services Savings: % of clients that receive voluntary savings services in relation Q4.2 Diversification to the total of number of active clients. % average saving Insurance: % of clients that receive insurance services in relation to the total of number of active clients. Transfers, Remittances: % of clients that receive transfers or remittances services in relation to the total of number of active clients. Other services: % of clients that receive other financial services in relation to the total of number of active clients. 8. Access to Human Education: % of clients that receive education services in relation to Q4.3 and economic the total of number of active clients. Development Services Health: % of clients that receive health services in relation to the total of number of active clients Microentreprises Development; % of clients that have received technical assistance or management enterprise services in relation to the total of number of active clients. Economic Development: farmers organization, value chains integration, local development
  • 48. ธนาคารกรามีน: Progress out of Poverty Index (PPI) ี้ ั ขันแรก วัดคะแนน PPI ของลูกค ้าแต่ละคน จากดัชนีชวดความจน 10 ตัว ้
  • 49. การคานวณ PPI (ต่อ) ่ ่ ่ ่ ้ ขันทีสอง ดูวาคะแนน PPI มีคาความเป็ นไปได ้เท่าไรทีจะอยูเหนือเสนความจน ้ ่
  • 50. การคานวณ PPI (ต่อ) ้ ่ ั ่ ้ ่ ่ ้ ขันทีสาม ประเมินสดสวนของลูกค ้าทังหมดทีอยูเหนือเสนความยากจน เมือได ้ ่ ่ อัตราสวนนีแล ้วก็จะสามารถเปรียบเทียบปี ตอปี ได ้ ้ ่
  • 51. จาก “ผลประกอบการด ้านสงคม” สู่ ั ั “ผลตอบแทนด ้านสงคม” (SROI)
  • 52. ั กรอบคิดในการวัดผลตอบแทนด ้านสงคม • ผู ้บุกเบิก – REDF, World Bank, Acumen Fund, NEF ้ • กรอบคิดทีเข ้าใจง่ายและปรับใชได ้กว ้างคือ ่ กรอบการวัดของการประกวดแผนธุรกิจเพือ ่ ั สงคม GSVC (Global Social Venture Competition)
  • 55. ่ ู จากผลผลิต (output) สูมลค่าทางการเงิน