SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 1 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
Sponsored
Recent
2013
First Met
Invest In Detroit
Homes
Fully remodeled. 3-4
bedroom homes with
Section 8 tenants.
Starting at $35,000.
210 people like this.
International Law
LL.M.
wcl.american.edu
Propel your career in
international law with
a Master of Laws.
Apply by 10/1!
Facebook friends since August
Mutual Friends 86 Photos 1 Likes 1 Events
·Photos 1
·Friends 86 Mutual
Ormsin Salinwan
Kruathes Paeng Jitsong ฉัน รักในหลวง
Tapanot
Maipanich WormfOrest Gym
Mameow
Mitrabhorn
Heng Puthong Nattwajee Jaksan
Likes
ThaiPBS
Auii Thestar Chacrit Sitdhiwej
September 15
สรุปการอภิปราย หัวข ้อ
องค์กรเอกชนและประชาชนสามารถร่วมกันอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างไร?
— with Ormsin Salinwan Kruathes and 19 others.
Unlike · Comment
You, Natsuda Rattamanee, Apitchaya Timpitak and 2 others like this.
Auii Thestar Samawit Kittikasamsil วีระยุทธ หอมชื?น
September 15 at 12:43pm · Like · 1
Tapanot Maipanich Chanon Teaworm
September 15 at 12:47pm via mobile · Like
Auii Thestar องค์กรเอกชน หรือที?เรียกกันติดปาก ว่า "NGOs" คือ รูปแบบหนึ?งของการรวมกลุ่ม
ของประชาชน ในแง่การรวมกลุ่มแล ้วจัดได ้ว่าเป็นองค์กรที?มิได ้ก่อตัLงขึLนมาเพื?อทําหน้าที?เป็นองค์กร
หรือกลไกการดําเนินงานของรัฐ แต่ดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ซึ?งส่วนใหญ่เป็นเรื?องเกี?ยวกับความเป็นอยู่
ของประชาชนและการพัฒนาสังคม การรวมตัวกันเช่นนีLเป็นสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน
ที?จะกระทําได ้
สําหรับความหมายในบริบทของสังคมไทยนัLน มีนักวิชาการ นักพัฒนา ให ้ความหมายกับ NGOs ที?
หลากหลาย ในการประชุมระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนที?ทํางานพัฒนาด ้านต่างๆ ในวันที? 4 พฤษภาคม
2546 ณ ห ้องประชุมคณะสังคมสังเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ได ้ให ้ความหมายขององค์กร
พัฒนาเอกชนโดยตรง แต่อธิบายลักษณะของคําว่า “องค์กรพัฒนาเอกชน” ไว ้ ดังนีL 1) เป็นองค์กรที?มี
วัตถุประสงค์เพื?อดําเนินงานพัฒนาสังคมโดยเน้นการพัฒนาคน และการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) เป็น
องค์กรที?จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่จดทะเบียนก็ได ้ และในกรณีที?ไม่ได ้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
จะต ้องมีการจัดองค์กรเป็นคณะทํางาน ขึLนมาดูแลรับผิดชอบในการดําเนินการอย่างมีระเบียบแบบแผน
ตามสมควร และ3) เป็นองค์การที?ดําเนินงานโดยอิสระมีกิจกรรมต่อเนื?อง และไม่แสวงหาผลประโยชน์
หรือกําไร (สื?อเพื?อการพัฒนา ค ้นเมื?อ 15 กันยายน 2556 จาก
http://www.thaingo.org/story/info_002.htm)
จากคํานิยมของนักวิชาการ และนักพัฒนานัLนมีความหลากหลาย และแตกต่างกันไป แต่ก็มีลักษณะบาง
ประการที?เป็นจุดร่วมกันอยู่ ทัLงนีLผู้เขียนจะไม่กําหนดนิยามให ้กับ NGOs แต่จะขอกําหนดคําอธิบาย
คุณลักษณะความเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน เพื?อเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาขอบเขตขององค์กร ดังนีL
1) เป็นองค์กรที?มีหน้าที?หรือการดําเนินกิจกรรมเพื?อประโยชน์ของส่วนรวม ในการช่วยเหลือคลี?คลาย
ปัญหาในสังคม และพัฒนาสังคม โดยมิใช่ผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม หรือประโยชน์ของสมาชิกในองค์กร
2) เป็นองค์กรที?ดําเนินการโดยอิสระอยู่นอกระบบโครงสร ้างราชการ ต ้องปราศจากการควบคุมหรือสั?ง
การ โดยรัฐบาลใดๆ รวมทัLงไม่เป็นส่วนหนึ?งของพรรคการเมือง แม ้องค์กรนัLนจะถูกจัดตัLงขึLนโดยรัฐหรือ
ได ้รับการสนับสนุนจากรัฐ
3) เป็นองค์กรที?มีสถานภาพทางกฎหมาย เป็นนิติบุคคล โดยการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล สมาคม หรือ
ไม่ได ้จดทะเบียนนิติบุคคลก็ได ้ แต่ถ ้าไม่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจะต ้องมีการจัดรูปองค์กรเป็นคณะ
กรรมการ หรือคณะบุคคลทําหน้าที?รับผิดชอบในการบริหารงาน
Share Friendship MoreYou and Auii Thestari Thestar Timeline Recent
Home Chacritpeople, places and things
11
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 2 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
4) เป็นองค์กรที?ไม่แสวงหากําไร หรือผลประโยชน์ใดๆ รวมทัLงไม่แบ่งปันผลประโยชน์ให ้แก่สมาชิก
(NGOs เป็นใคร ค ้นเมื?อวันที? 15 กันยายน 2556
จากhttp://suttiporn.blogspot.com/2006/06/ngos.html)
1. องค์กรพัฒนาเอกชนคือใคร
www.thaingo.org
ภูมิธรรม เวชยชัย ได ้ให ้ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน หมายถึง "องค์กรหรือ
มูลนิธิ หร... See More
September 15 at 1:04pm · Unlike · 1 · Remove Preview
Apitchaya Timpitak Satang Sandee Abojama Mam Kantima Mutchakit
September 15 at 1:07pm via mobile · Like
Apitchaya Timpitak Somsak Wongranght
September 15 at 1:09pm via mobile · Like
Auii Thestar ตัวอย่างความร่วมมือของ NGOs เพื?อช่วยเหลือชาวบ ้าน
บทความเรื?อง "สงครามชาวบ ้าน-รัฐทาสนายทุน ความรุนแรงรอบใหม่พืLนที?เหมืองแร่ โปแตช อุดรธานี
นับจากที?รัฐบาลไทยออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เมื?อวันที? ๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๓ เชิญชวนให ้
เอกชนยื?นคําขอสิทธิสํารวจและผลิตแร่โปแตชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริษัท อะกริ โปแตช จํากัด
บริษัทสัญชาติแคนนาดา (ต่อมาได ้เปลี?ยนชื?อเป็นบริษัทเอเชียแปรซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั?น จํากัด
หรือ เอพีพีซี) ได ้ทําสัญญาและได ้รับอนุญาตจากรัฐบาลไทย โดยกรมอุตสาหกรรมพืLนฐานและการ
เหมืองแร่ (เดิมคือกรมทรัพยากรธรณี) กระทรวงอุตสาหกรรม ให ้ประกอบกิจการเหมืองแร่ พัฒนา และ
หาประโยชน์จากแหล่งแร่ ที?บริษัทฯ ได ้ทําการเจาะสํารวจและมีความเป็นไปได ้ในเชิงพานิชย์ ตาม
สัญญาฉบับลงวันที? ๔ ตุลาคม ๒๕๒๗ และต่อมาเมื?อวันที? ๒๙ พฤศจิกาบน ๒๕๓๗ มีการแก ้ไขสัญญา
เพิ?มเติม
ต่อมาเมื?อวันที? ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ กระทรวงอุตสาหกรรมได ้ออกอาชญาบัตรพิเศษแก่บริษัทฯ
จํานวน ๕๓ แปลง ครอบคลุมเนืLอที? ๑๒๐,๐๐๐ ไร่ ในอําเภอเมืองอุดรธานีและอําเภอประจักษ์ศิลปาคม
จากการสํารวจนัLนพบว่าในจังหวัดอุดรธานี เป็นแหล่งแร่โปแตชที?มีความอุดมสมบูรณ์สูง เกรดดี เป็นแร่
โปแตชชนิดซิลไวท์ มีคุณภาพทัดเทียมกับที?พบในประเทศแคนาดา แร่ที?พบนีLอยู่ที?ระดับความลึก
ประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ เมตร และในแหล่งอุดรเหนือมีปริมาณแร่สํารองประมาณ ๗๐๐ ล ้านตัน และใน
แหล่งอุดรใต ้ มีปริมาณสํารอง ๓๐๐ ล ้านตัน บริษัทฯ จึงได ้ยื?นคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่โปแตช
เมื?อวันที? ๙ มิถุนายน ๒๕๔๗ ได ้รับจดทะเบียนคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่ใต ้ดินเพื?อผลิตแร่โปแตช
ในพืLนที?แหล่งอุดรใต ้ จํานวน ๒๒,๔๓๗ ไร่ ครอบคลุมอําเภอเมืองอุดรธานี และอําเภอประจักษ์ศิลปา
คม และเมื?อวันที? ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ได ้รับจดทะเบียนคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่ใต ้ดินเพื?อผลิต
โปแตชในแหล่งพืLนที?อุดรเหนือ จํานวน๕๒,๐๓๗ ไร่ ครอบคลุมอําเภอเมืองอุดรธานี อําเภอประจักษ์
ศิลปาคม และอําเภอหนองหาน รวมแล ้ว ๗๔,๔๗๔ ไร่ โดยหวังจะเปิดทําเหมืองแร่ใต ้ดินในพืLนที?
ทัLงหมด
September 15 at 1:15pm · Unlike · 1
Auii Thestar จากรายงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที?ได ้จัดทํารายงานตรวจสอบ
ปัญหาความขัดแย ้งจากโครงการเหมืองแร่โปแตชอุดรธานี เมื?อปี ๒๕๕๐ มีความเห็นว่าโครงการนีL
จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อราษฎร และคุณภาพสิ?งแวดล ้อมในวงกว ้างมาก พืLนที?การขุดทําเหมืองใต ้ดิน
นัLนซ ้อนทับกับพืLนที?ที?มีราษฎรอยู่อาศัย ทํากิน ชุมชน เป็นที?ตัLงของเมือง เกือบแปดหมื?นไร่ จึงสร ้าง
ความวิตกกังวลให ้กับราษฎรในหลายประการ เช่น การทําเหมืองใต ้ดินอยู่ด ้านล่างของที?อยู่อาศัย ทํากิน
มีทัLงชุมชนชนบทและชุมชนเมือง ราษฎรกลัวว่าหากเหมืองใต ้ดินถล่ม จะทําให ้ที?ดินด ้านบนถล่มตามไป
ด ้วย จะสร ้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ซึ?งการรับรองต่อระบบป้องกันมลพิษและรักษาสิ?ง
แวดล ้อมตามคํามั?นของผู้ประกอบการ ราษฎรไม่เชื?อมั?น เกรงว่าเมื?อทําเหมืองใต ้ดินแล ้ว การขุดเกลือ
นํLาเกลือ ฝุ่ นเกลือ จะส่งผลต่อสภาพแวดล ้อม ที?ดินทํากิน รวมถึงนํLาเกลืออาจไหลลงแหล่งนํLาสําคัญ
ทําให ้กลายเป็นนํLากร่อยหรือนํLาเค็ม และเมื?อคิดค่าใช ้จ่ายสําหรับระบบป้องกันมลพิษและรักษาสิ?ง
แวดล ้อมให ้ได ้ผลตามคํามั?นแล ้ว คาดว่าจะเป็นค่าใช ้จ่ายที?สูงมากกว่ารายได ้จากการขายแร่โปแตช
หากเกิดปัญหาการแพร่กระจายของดินเค็ม นํLาเค็ม และสภาพแวดล ้อมเสียหาย ฯลฯ ก่อให ้เกิดค่า ใช ้
จ่ายในการแก ้ไขปัญหาสูงมากซึ?ง เมื?อถึงเวลานัLนรัฐซึ?งหมายถึงคนไทยทัLงประเทศต ้องเข ้ามารับภาระใน
การแก ้ไขปัญหา
กรณีผลกระทบด ้านสิ?งแวดล ้อมจากกากแร่หรือกองเกลือซึ?งในรายงานผลกระทบสิ?งแวดล ้อมเดิมที?ผ่าน
ความเห็นชอบของ คชก. เมื?อปี 2543 นัLนระบุว่าจะมีกองเกลือที?มีความยาว ๑.๐๐๐ เมตร กว ้าง ๖๐๐
เมตรและสูง ๔๐ เมตร จํานวน ๒๐ ล ้านตัน ซึ?งกองเกลือดังกล่าวมีความสูงกว่าบ ้านเรือนของประชาชน
และต ้นไม ้ในพืLนที?โครงการ อันมีลักษณะเป็นภูเขาเกลือขนาดมหิมา และจะถูกทิLงไว ้โดยไม่มีสิ?งปกปิด
เป็นเวลา ๕๐ ปี เมื?อถึงฤดูแล ้งที?อากาศแห ้งและลมพัดแรงฝุ่ นผงเกลือก็จะฟุ้งกระจายไปในอากาศ เมื?อ
ถึงฤดูฝนในกรณีฝนตกหนักหรือเกินนํLาท่วม เกลือปริมาณ ๒๐ล ้านตัน จะถูกชะล ้างลงสู่ดินและแหล่งนํLา
ต่าง ๆ ในสภาพแวดล ้อม ทําให ้นาข ้าวเสียหายได ้อย่างรุนแรง ทําลายป่ าไม ้ และแหล่งนํLาธรรมชาติทุก
แหล่ง ไม่ว่าจะเป็นหนองนํLา อ่างเก็บนํLาหรือแม่นํLาลําคลองในบริเวณหลายตารางกิโลเมตรโดยรอบ
September 15 at 1:16pm · Unlike · 1
Auii Thestar นอกจากนีLจากรายงานของคณะกรรมการสิทธิฯ ยังอ ้างถึงคําชีLแจงของผู้ประกอบ
การ ว่าการทําเหมืองแร่โปแตชจะทําเพื?อใช ้ในประเทศไทยใช ้เพียง ๒๐ % ของที?ขุดได ้ อีก ๘๐ %
ส่งออก โดยคณะกรรมการสิทธิฯ เห็นว่า หากเทียบกับการซืLอแร่โปแตชจากต่างประเทศเข ้าใช ้๒๐ %
ค่าใช ้จ่ายเมื?อเทียบกับผลเสียต่างๆ ที?จะเกิดขึLนในอนาคต กับปัญหาความวิตกกังวล และความแตก
ความสามัคคีของราษฎรและสภาพแวดล ้อมที?เสียหาย จะมีความคุ้มค่ามากว่า เพราะการทําเหมือง
โปแตชนีLทําให ้รัฐมีรายได ้ปีละประมาณ ๖๐๐ ล ้านบาท คิดแล ้วไม่เกินร ้อยละ ๕ ของรายได ้ของผู้
ประกอบการเท่านัLน ตลอดทัLงการที?มีคนทํางานประมาณ ๙๐๐ คน นัLนนับเป็นการไม่คุ้มค่ากับผลเสีย
ต่างๆ เป็นต ้นว่า ดินเสีย มลพิษ ความเจ็บไข ้ได ้ป่ วย ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ
ตัLงแต่ขัLนตอนการดําเนินการสํารวจและยื?นคําขอประทานบัตรของ บริษัทฯ ได ้รับการคัดค ้านจาก
ประชาชนในท ้องที? โดยเมื?อปี ๒๕๔๕ ประชาชนในท ้องที?ตําบลโนนสูง และตําบลหนองไผ่ อําเภอเมือง
อุดรธานี ตําบลห ้วยสามพาด และตําบลนาม่วง อําเภอประจักษ์ศิลปาคมได ้รวมตัวกันตัLงกลุ่มอนุรักษ์สิ?ง
แวดล ้อมอุดรธานีขึLน และแสดงตัวเคลื?อนไหวคัดค ้านโครงการเหมืองแร่ใต ้ดินอย่างจริงจังทุกขัLนตอนจน
ปัญหาความขัดแย ้งในพืLนที?โครงการเหมืองแร่โปแตช
อุดรธานีเป็นที?รับรู้ในสังคมไทย และเผยให ้เห็นว่านโยบายการพัฒนาเหมืองแร่โปแตชในภาคอีสานไม่
ได ้มีเพียงในจังหวัดอุดรธานีเท่านัLนหากแต่มีโครงการลักษณะเดียวกันในอีก ๖ จังหวัดภาคอีสานรวม
แล ้วพืLนที?กว่า ๗ แสนไร่
ศาลได ้พิพากษาศาลยกฟ้องแกนนํากลุ่มอนุรักษ์ฯ ทัLง ๕ ด ้วยพิจารณาตามหลักการในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ที?ได ้กําหนดสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ?งแวดล ้อม ที?มี
สาระเรื?องความสัมพันธ์ทางอํานาจระหว่างรัฐกับประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง
แวดล ้อมโดยได ้เพิ?มอํานาจให ้ประชาชน ชุมชนท ้องถิ?นมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ?งแวดล ้อม ตลอดจนสามารถตรวจสอบการใช ้อํานาจของรัฐในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 3 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
แวดล ้อม และเห็นว่าบริษัทดําเนินการโดยฝ่ าฝืนต่อพระราชบัญญัติแร่ และฝ่ าฝืนรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๔๐ อันเป็นกฎหมายสูงสุดที?ใช ้ในการปกครองประเทศ ดังนัLนศาลจึงเห็น
ว่าการคัดค ้านการรังวัดปักหมุดของกลุ่มอนุรักษ์ฯ และเรียกร ้องการมีส่วนร่วมจึงเป็นการกระทําการอัน
เป็นการร่วมกันในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใช ้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง
แวดล ้อมอย่างสมดุลยั?งยืน อีกทัLงเป็นการใช ้สิทธิในการบํารุงรักษาและใช ้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษา คุณภาพ
สิ?งแวดล ้อมเพื?อให ้ดํารงอยู่ได ้อย่างปกติและต่อเนื?องในสิ?งแวดล ้อมที?จะไม่ก่อให ้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน
September 15 at 1:16pm · Unlike · 1
Auii Thestar ในคําพิพากษาศาลยังระบุว่าโครงการเหมืองแร่โปแตช เป็นโครงการที?แสวงหา
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ แม ้บริษัทจะอ ้างว่าดําเนินการไปตามที?ระบุไว ้ในสัญญากับรัฐบาล
ไทยแต่ประชาชนในพืLนที?โครงการฯ ก็จะเป็นผู้ที?ได ้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ หรือได ้รับผลกระทบ
จากสัญญาโดยตรงด ้วย จึงต ้องคํานึงถึงกฎหมายมหาชนอันเป็นกฎหมายที?บัญญัติถึงความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐกับประชาชนในรัฐนัLนประกอบด ้วย นอกจากนีLยังระบุว่าว่าในขณะที?ทําสัญญา ตลอดจนการ
ดําเนินการตามสัญญาในแต่ละขัLนตอนในเวลาต่อมาไม่มีการเปิดเผยให ้ประชาชนในพืLนที?และผู้ที?มีส่วน
เกี?ยวข ้องได ้รับทราบ เช่น ในช่วงของการสํารวจ หรือ ในช่วงของการทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ?ง
แวดล ้อม เป็นต ้น การเข ้าถึงสัญญาในครัLงนีLประชาชนต ้องใช ้สิทธิการเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสารของราชการ
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๕๙ และพระราชบัญญัติข ้อมูล
ข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๓๕ โดยคณะกรรมการวินิจฉัยฯ มีมติให ้กรมทรัพยากรธรณี
เปิดเผยข ้อมูลข่าวสารเกี?ยวกับสัญญาสัมปทานที?มีลักษณะผูกขาดตัดตอนของเหมืองแร่โปแตช จังหวัด
อุดรธานี ประชาชนและผู้เกี?ยวข ้องจึงมีโอกาสได ้ทราบข ้อเท็จจริงของสัญญาและขัLนตอนการดําเนินการ
ตามสัญญาตลอดจนผลกระทบที?จะเกิดขึLน และศาลยังระบุเพิ?มเติมว่าการดําเนินการเกี?ยวกับโครงการ
เหมืองแร่โปแตชของบริษัทฯ และหน่วยงานราชการที?เกี?ยวข ้องก็ดําเนินการในลักษณะไม่โปร่งใส สร ้าง
ความสงสัยคลางแคลงใจและความวิตกกังวลให ้แก่ชาวบ ้านหลายกรณี เช่น กรณีการทํารายงาน
วิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม และการให ้ความเห็นชอบหรือรับรองการทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ?งแวดล ้อม ก่อนที?พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที? ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จะประกาศใช ้บังคับ และนักวิชาการที?
เกี?ยวข ้องตลอดจนองค์กรเอกชนอื?นก็ได ้ร่วมคัดค ้านว่า การทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ?ง
แวดล ้อมก่อนที?กฎหมายบังคับใช ้เป็นการดําเนินการที?ไม่ชอบด ้วยกฎหมาย หรือเป็นการดําเนินการที?ไม่
ครอบคลุมพืLนที?โครงการทัLงหมด หรือเป็นการทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที?ไม่ตรงกับความเป็น
จริงที?จะเกิดขึLน ซึ?งนี?คือเหตุผลที?แท ้จริงที?ทําให ้บริษัทอิตาเลี?ยนไทยไม่อาจจะดันทุรังใช ้รายงานอีไอเอ
เดิมได ้แม ้จะผ่านความเห็นชอบของ คชก.ไปแล ้วก็ตาม
(บําเพ็ญ ไชยรักษ์ กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา "รายงานพิเศษ สงครามชาวบ ้าน -รัฐทาสนายทุน ความ
รุนแรงรอบใหม่พืLนที?เหมืองแร่โปแตช อุดรธานี" สืบค ้นเมื?อ 15 กันยายน 2556 จาก
http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=1727)
รายงานพิเศษ สงครามชาวบ้าน -รัฐทาสนายทุน ความรุนแรงรอบใหม่
พื?นทีAเหมืองแร่โปแตช อุดร�
www.thaingo.org
จุดเริ?มต ้นของความรุนแรง นับจากที?รัฐบาลไทยออกประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เมื?อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๓ เชิญชวนให ้เอกชนยื?นคําขอสิทธิสํา
รวจและผลิตแร่โปแตชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริษัท อะกริ โปแตช จํากัด
บริษัทสัญชาติแคนนาดา (ต่อมาได ้เปลี?ยนชื?อเป็นบริษัทเอเชียแปรซิฟิก โปแตช
คอร์เปอร์เรชั?น จํากัดหรือ เอพีพีซ...
September 15 at 1:16pm · Unlike · 1 · Remove Preview
Auii Thestar นายพุฒินันต์ สุขสม 5601034530
September 15 at 1:17pm · Unlike · 1
Myname Isnatt NGOs เป็นองค์กรที?ได ้รับการรับรองสิทธิ และได ้รับการสนับสนุนด ้านเงินทุน
รวมทัLงมีเสรีภาพในการแสดงออกค่อนข ้างมาก NGOs จึงเป็นเหมือนกระบอกเสียง และเป็นผู้นํา
ประชาชนหรือสังคมในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้ ทัLงการทํากิจกรรมในเชิงการต ้านการทําลาย และด ้าน
การฝืLนฟูสิ?งแวดล ้อม นอกจากนีLกิจกรรมของ NGOs ยังเป็นการปลุกจิตสํานึกของประชาชนทั?วไปให ้หัน
มาตระหนักถึงความสําคัญของสิ?งแวดล ้อม สถานการณ์ และปัญหาด ้านสิ?งแวดล ้อมที?เกิดขึLนหรือกําลัง
ดําเนินอยู่อีกด ้วย
อย่างไรก็ตาม การทํางานของ NGOs ที?จะทําให ้การอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมและทรัพยากรธรรมชาตินัLนเป็น
ไปอย่างยั?งยืนได ้ คงต ้องอาศัยความจริงใจ และการมีความรู้ความเข ้าใจในการดําเนินกิจกรรมต่างๆ
อย่างแท ้จริง และประชาชนเองก็ควรมีจิตสํานึกที?ดี และตระหนักอยู่เสมอว่าตนเองนัLน มีส่วนในการ
ทําลายสิ?งแวดล ้อมอยู่ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันก็เป็นกําลังสําคัญในการรักษาและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม
และทรัพยากรธรรมชาติด ้วยเช่นกัน
น.ส. จินติมา กริยาผล 5601034662
September 15 at 5:16pm · Unlike · 2
Pann Chandla-or บทบาทขององค์กรเอกชนและประชาชน ช่วยอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้โดย
1. สิ?งแวดล ้อมมีอยู่อย่างมากมาย รัฐแต่ฝ่ ายเดียว อาจมีบุคลากร เทคโนโลยี หรืองบประมาณไม่
เพียงพอที?จะสามารถจัดการและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างทั?วถึง การที?ให ้องค์กรเอกชนและประชาชน
เมื?อเข ้ามามีบทบาทในการจัดการและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม เปรียบเสมือนการเพิ?มเติมเครื?องไม ้ เครื?องมือ
ในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม เพิ?มเติมจากฝ่ ายรัฐ และทําให ้สามารถอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างทั?วถึง และ
มีประสิทธิภาพมากขึLน (อัชพร จารุจินดา บทบาทของภาคเอกชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ?งแวดล ้อม พ.ศ. 2535 ,รัฐสภาสาร ปีที? 12 ธันวาคม 2536 หน้า 31 และ อํานาจ วงศ์
บัณฑิต กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม หน้า 601)
2. รัฐจะกระทําการอันใดจําเป็นต ้องอาศัยอํานาจตามกฎหมาย กฎหมายในที?นี?ก็คือกฎหมายมหาชน ซึ?ง
ขอบเขตการใช ้บังคับย่อมจํากัดอยู่เฉพาะเขตอํานาจของแต่ละรัฐ (National Jurisdiction) แต่องค์กร
เอกชนและประชาชน นัLนไม่มีขอบเขตอํานาจ ในแต่ละประเทศสามารถสร ้างเครือข่ายความร่วมมือ
ติดต่อสื?อสารหรือแลกเปลี?ยนข ้อมูลทางวิชาการ ข่าวสาร งานวิจัยต่างๆ กันได ้โดยไร ้พรมแดน ด ้วย
สาเหตุนีLความรู้ ความสามารถขององค์กรเอกชนและประชาชนย่อมเพิ?มขึLน (As Experts) นอกจากนัLน
องค์กรเอกชนและประชาชนที?สนใจและมีความสามารถในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมในด ้านนัLนๆ ย่อมมี
ความเชี?ยวชาญ และทําให ้การอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึLน (Farhana
Yamin ,NGOs and Environmental Law: A Critical Evaluation of their Roles And
Responsibilities p.156 และอํานาจ วงศ์บัณฑิต กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม
หน้า 601)
3. บทบาทขององค์กรเอกชนและภาคประชาชนที?มากขึLนนัLน ทําให ้ภาครัฐต ้องระมัดระวังในการปฏิบัติ
งานมากขึLน เพราะจะทําให ้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของรัฐเพิ?มขึLนด ้วย (อํานาจ วงศ์บัณฑิต
กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม หน้า 601)
September 15 at 5:41pm · Unlike · 1
Pann Chandla-or อนึ?งสําหรับประเทศไทยนัLน ก็มีการยอมรับบทบาทขององค์กรเอกชนไว ้ใน
ระบบกฎหมายของไทย เช่น มาตรา 7 และ 8 ของพรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อม ก็ส่ง
เสริมการรวมกลุ่ม บทบาท และรองรับความมีตัวตนขององค์กรเอกชน เช่นเดียวกับภาคประชาชน
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 4 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ให ้การรับรอง เช่น รับรองสิทธิชุมชน ชุมชน
ท ้องถิ?น และชุมชนท ้องถิ?นดัLงเดิม (มาตรา 66) และกําหนดให ้รัฐต ้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน (มาตรา 87)
ตัวอย่างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที?น่าสนใจ เช่น บทบาทของชุมชนท ้องถิ?นในการอนุรักษ์ป่ า
ชุมชน ซึ?งประชาชน ในท ้องถิ?นได ้ผสานเอาความเชื?อ วัฒนธรรม ประเพณีโบราณ พร ้อมตัLงกฎหมู่บ ้าน
ขึLนมาเพื?อกําหนดแบบแผนความประพฤติของคนในหมู่บ ้านในการดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับป่ า เช่นการจัดเวร
ยามดูแลป่ า กําหนดจํานวนของป่ าที?ชาวบ ้านแต่ละคนจะเก็บได ้ เป็นต ้น ชาวบ ้านจึงเข ้ามามีบทบาทใน
การตัดสินใจ (Decision Making) ในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมอย่างมาก ความเชื?อ วัฒนธรรม ประเพณี
โบราณเหล่านีL แม ้อาจจะเป็นเรื?องงมงาย แต่อย่างน้อยก็ช่วยส่งเสริมให ้การอนุรักษ์ป่ าชุมชนเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพมากขึLน เช่นเดียวกับประเพณีการบวชป่ านั?นเอง (จักรพงษ์ พวงงามชื?น สวิชญา ศุภ
อุดมฤกษ์ ตรีรัตน์ และ นคเรศ รังควัต ,การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่ า
ชุมชน:กรณีศึกษา บ ้านทาป่ าเปา ตําบลทาปลาดุก อําเภอแม่ทา จังหวัดลําพูน วารสารวิจัยและพัฒนา
มจธ. ปีที? 36 ฉบับที? 2 เมษายน - มิถุนายน 2556 หน้า 215-234)
นายปัญญ์ จันทร์ลออ 5601034514
September 15 at 5:42pm · Unlike · 2
วีระยุทธ หอมชืAน การใช ้สิทธิทางศาลขององค์กรเอกชน โดลหลักแล ้วปัญหาเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อม
สามารถแบ่งได ้ 2 ประเภท คือ 1. ปัญหาเกี?ยวกับความเสียหายอันเกิดจากภาวะมลพิษตามมาตรา
96 ของ พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อมแห่งชาติ 2535 และ 2. ปัญหาเกี?ยวกับการ
ทําลายทรัพยากรธรรมชาติตามมาตรา 97 ของ พรบ. เดียวกัน สิทธิการใช ้สิทธิทางศาลขององค์กร
เอกชนตามมาตรา 96 ในกรณีที?องค์กรเอกชนได ้รับความเสียแก่ทรัพย์สินสามารถฟ้องคดีได ้โดยอาศัย
สิทธิของตน แต่ในกรณีที?บุคคลอื?นได ้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย สุขภาพอนามัย หรือทรัพย์สิน
องค์กรเอกชนต ้องได ้รับมอบอํานาจให ้ฟ้องคดีแทนในฐานะผู้แทนปห่งคดีเท่านัLน ไม่สามารถฟ้องโดย
อาศัยสิทธิขินตนได ้ ส่วนกรณีความเสียตามมาตรา 97 รัฐเท่านัLนเป็นผู้เสีย และมีสิทธิฟ้องคดี องค์กร
เอกชน แม ้จะได ้จดทะเบียนตามหลักเกณฑ์ วิธีการตามมาตรา 7 และ 8 ของพรบ. ดังกล่าวแล ้วก็ตามก็
ไม่สามารถฟ้องคดีโดยอาศัยสิทธิของตนได ้เช่นกัน แต่ในกรณีของประเทศ สหรัฐอเมริกา ฝรั?งเศศ หรือ
เยอรมันองค์กรเอกชนที?ได ้จดทะเบียนตามหลักเกณฑ์ที?กําหมายกําหนดแล ้วสามารถฟ้องคดีได ้โดยไม่
ต ้องได ้รับมอบอํานาจแต่อย่างใด (ปณิดา พัฒนพงษ์, การฟ้องคดีสิ?งแวดล ้อมโดยองค์กรเอกชน,
Thesis, น. 78 ) ผู็เขียนเห็นว่าปํ าหมายไทยควรเปิดโอกาสให ้องค์กรเอกชนที?จดเบียนตาม พรบ. ดัง
กล่าวแล ้วให ้มีสิทธิฟ้องแทนผู้เสียหายในกรณี ม. 96 หรือกรณี ม. 97 ได ้เพราะองค์กรเอกชนจะมี
ความรู้ ความชํานาญในด ้านนัLนโดยเฉพาะอันเกิดจากประสบการณ์ในการทํางาน แต่ทัLงนีLต ้องกําหนด
เงื?อนไข หรือคุณสมบัติให ้ชัดเจนและรัดกุมเพื?อป้องกันการสมยอมในการดําเนินคดีระหว่างผู้ทําละเมิด
กับองค์กรเอกชนอันจะเกิดความเสียหายต่อรูปคดี
September 15 at 6:41pm · Unlike · 1
วีระยุทธ หอมชืAน นายวีระยุทธ หอมชื?น 5601034563
September 15 at 6:42pm · Unlike · 1
Paeng Jitsong การมีส่วนร่วมของประชาชน ย ้อนไปอธิบายจากหลักการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory democracy) ระบอบการปกครองแบบนีLมีการเผย
แพร่ในโลกตะวันตกในทศวรรษที?1960 เป็นที?นิยมใน กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ กลุ่มพิทักษ์สตรี
ขบวนการนักศึกษา เป็นต ้น
ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ประชาชนสามารถเข ้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครอง
อาจแบ่งได ้เป็น 3 ระดับ คือ
1. "การมีส่วนร่วมในระดับเบืLองต ้น"
เช่น ร่วมแสดงความคิดเห็นในทางการเมือง, ร่วมพูดคุยอภิปรายเรื?องราวทางการเมืองและสถานการณ์
ปัจจุบัน, ร่วมลงชื?อเพื?อเสนอเรื?องราวหรือประชาพิจารณ์เกี?ยวกับเรื?องใดเรื?องหนึ?งในทางการเมือง, รวม
กลุ่มเล็ก ๆ เพื?อแสดงความคิดเห็นในทางการเมือง, เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
2. "การมีส่วนร่วมในระดับกลาง"
เช่น ร่วมเดินขบวนเพื?อเรียกร ้องความเป็นธรรม, ร่วมปราศรัยในการชุมนุมเรียกร ้องเรื?องราว, ร่วมลงชื?อ
เพื?อเสนอให ้ฝ่ ายที?มีอํานาจตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ?ง, ร่วมอดข ้าวประท ้วงหรือร่วมกระทําการอย่างใด
อย่างหนึ?งเพื?อเรียกร ้อง
3. "การมีส่วนร่วมในระดับสูง"
เช่น ร่วมลงสมัครรับเลือกตัLงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา, ร่วมก่อตัLง
พรรคการเมือง, ร่วมก่อตัLงรัฐบาล
สําหรับการเข ้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจทางการเมือง ตามคําอธิบายของรุสโซ ในหนังสือ
สัญญาประชาคมนัLน สรุปได ้ว่าต ้องมีความรู้ มีทักษะ และมีความรู้สึก
"ความรู้" - จะต ้องให ้ความรู้แก่ประชาชน ประชาชนจะต ้องสามารถเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร ประชาชนต ้อง
เป็นตัวของตัวเอง ไม่ถูกใครชักจูงได ้ง่าย
"ทักษะ" – การเข ้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจเป็นทักษะที?ต ้องฝึกฝน ประชาชนต ้องทราบ
ความต ้องการของตนเอง เพื?อจะได ้เลือกตัดสินใจได ้ ทักษะการมีส่วนร่วมต ้องฝึกฝนตัLงแต่ในเด็กจนถึง
ผู้ใหญ่ ฝึกฝนในครอบครัว ในโรงเรียน และในสังคม
"ความรู้สึก" – ประชาชนต ้องมีการพัฒนาความรู้สึกเป็นเจ ้าของชุมชนทางการเมือง ต ้องมีความรู้สึก
อิสระในการตัดสินใจ รู้สึกเป็นนายของตัวเอง
การพัฒนาทัLงสามด ้านนีLจะทําให ้ประชาชนรู้สึกเข ้าใจ พอใจ ว่าตนมีอํานาจ มีอิทธิพล มีพลังที?จะก่อให ้
เกิดการเปลี?ยนแปลงทางการเมืองได ้
(วัชรินทร์ ชาญศิลป์ , ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของไทย, วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
น.ส.ธมนวรรณ จิตสงค์ 5601034613
21 hours ago · Edited · Unlike · 1
Ake Nirvana ปัจจุบัน องค์กรเอกชนทํางานควบคู่กัน ทัLงงานในระดับชุมชนและงานในระดับ
นโยบาย มีการศึกษาวิเคราะห์ รวบรวมข ้อมูล ปัญหาที?มีผลกระทบมาจากนโยบาย รวมทัLงจัดทําข ้อ
เสนอทางออกในการแก ้ไขปัญหาร่วมกับองค์กรชาวบ ้าน เพื?อนําไปเผยแพร่ให ้คนในสังคมรับรู้ และนํา
เสนอต่อผู้ที?มีหน้าที?รับผิดชอบในการแก ้ไขปัญหาในระดับนโยบาย.(ชัชวาล ทองดีเลิศ, "บันทึกลับ
NGO" บริษัท กลางเวียงการพิมพ์ จํากัด, เชียงใหม่ ๒๕๔๓) (
www.thaingo.org/story/info_009.html สืบค ้นเมื?อ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๖)
ในความเห็นส่วนตัวแล ้ว เห็นว่า สิ?งสําคัญประการหนึ?งที?องค์กรเอกชนและประชาชนสามารถร่วมกัน
อนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้ ก็คือ การแลกเปลี?ยนข ้อมูล ข ้อเท็จจริง ซึ?งกันและกัน ตลอดจนแสดงความคิด
เห็นร่วมกัน เพื?อศึกษาวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย ต่างๆ เกี?ยวกับการกระทําโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ที?อาจมี
ผลกระทบต่อสิ?งแวดล ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ?งในโครงการของภาครัฐที?จะมาสร ้างในพืLนที?ชุมชน โดย
องค์กรเอกชนควรให ้ความรู้และข ้อเท็จจริงที?ถูกต ้อง เพียงพอ ชัดเจน แก่ประชาชนในพืLนที?ที?จะได ้รับ
ผลกระทบ และประชาชนก็ควรจะมีความชัดเจนในความต ้องการว่า ต ้องการให ้มีกิจกรรม หรือโครงการ
ใดๆ ในพืLนที?ของตนหรือไม่ อย่างไร เพื?อจะได ้มีผลการศึกษาวิเคราะห์ข ้อมูลผลกระทบสิ?งแวดล ้อมใน
การเจรจาต่อรองกับภาครัฐว่า สมควรที?จะก่อสร ้างโครงการ หรือไม่ เพียงใด หรือโครงการใดที?ก่อสร ้าง
ไปแล ้วควรหยุด เลิก หรือไม่ อันเป็นการตรวจสอบการใช ้อํานาจรัฐวิธีหนึ?งโดยประชาชนและองค์กรที?
ไม่ใช่หน่วยงานราชการ
อีกประการหนึ?ง คือ ร่วมกันศึกษา พัฒนา และใช ้ทรัพยากรธรรมชาติที?มีอยู่ในท ้องถิ?นให ้เกิดประโยชน์
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 5 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
สูงสุด ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรที?มีอยู่เฉพาะถิ?น ตราบเท่าที?มันควรจะอยู่ได ้ กล่าวคือ คอยปกป้อง
รักษา และให ้มันเสื?อมสลายไปตามกาลเวลา ตามธรรมชาติ มิให ้ต ้องเสื?อมสลายหรือถูกทําลายด ้วย
นํLามือมนุษย์ โดยในกรณีนีL องค์เอกชนต ้องให ้ความรู้ที?ถูกต ้องแก่ประชาชน ต ้องบอกกล่าวแก่ประชาชน
ในพืLนที?ว่า สิ?งแวดล ้อม ทรัพยากร มีคุณค่าประโยชน์แก่ชุมชนมากเพียงใด เพื?อให ้ประชาชนได ้ตระหนัก
ถึงคุณค่าเหล่านัLน ทัLงนีL ควรเน้นให ้ประชาชนรักบ ้านเกิด รักแผ่นดินเกิด ซึ?งประเด็นนีLสําคัญที?สุด หาก
ประชาชนมีจิตสํานึกรักบ ้านเกิดแล ้ว ความตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ
ความหวงแหนทรัพยากรท ้องถิ?นก็จะตามมาในลําดับต่อไป
สาเหตุหนึ?งที?ประชาชนบางส่วนไม่เห็นความสําคัญ ไม่ตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม คือ การเข ้า
ครอบงําของระบบทุนนิยม ซึ?งเป็นระบบที?ให ้คุณค่าของคนแค่เพียงภายนอก ฉาบฉวยด ้วยวัตถุนิยม เน้น
ความสัมพันธ์เชิงผลประโยชน์ จนทําให ้ประชาชนบางส่วนมองข ้ามสิ?งแวดล ้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ
ที?มีคุณค่ามหาศาลแก่มวลมนุษยชาติไป และให ้ความสําคัญกับสิ?งจอมปลอมดังกล่าวมากเกินไป อัน
เป็นการเปิดช่องทางให ้กลุ่มนายทุน หรือนักการเมืองกระทําการแสวงหาผลประโยชน์จากสิ?งแวดล ้อม
หรือทรัพยากรธรรมชาติ
---กิติพงศ์ สุทธินนท์ 5601034761-----
September 15 at 9:35pm · Unlike · 1
Vayuwan Chaiyadecha เมื?อประมาณเดือนพฤษภาคมที?ผ่านมา เครือข่ายลุ่มนํLาภาคเหนือ ภาค
อีสานและ ภาคประชาชนส่วนต่างๆ ได ้จัดเวทีภายใต ้หัวข ้อ"การจัดการนํLา ผู้นําต ้องฟังเสียงจากราก
หญ ้า"ขึLน เพื?อนําเสนอข ้อมูลข ้อเท็จจริงจากชาวบ ้านในแต่ละพืLนที?ซึ?งถูกละเลย โดยเฉพาะประเด็นด ้าน
สิ?งแวดล ้อม สังคม และสิทธิมนุษยชน โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ(กป.พอช.เหนือ)กล่าวถึง
แผนการจัดการนํLาโดยภาครัฐ เงินกู้ 3.5 แสนล ้านและได ้ตัLงคําถามกลับไปยังรัฐบาลในประเด็น วิสัย
ทัศน์การแก ้ไขปัญหาการจัดการนํLา, ทางเลือกและประสิทธิภาพการแก ้ไขปัญหา และสิทธิของ
ประชาชนในทรัพยากรนํLา ภายใต ้แนวทางการจัดการนํLาที?เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ?งจะเห็นได ้ว่า การจัดเวที
ในลักษณะดังกล่าวขึLนมาเพื?อต ้องการเปิดโอกาสให ้ประชาชนเข ้าไปมีส่วนร่วมในการคิด ร่วมกําหนด
ทิศทางการจัดการนํLาในพืLนที?ของตนเอง และกระตุ้นในประชาชนตระหนักถึงปัญหาด ้านสิ?งแวดล ้อมมาก
ขึLน ซึ?งเป็นตัวอย่างกิจกรรมหนึ?งที?มีการประสานความร่วมมือกันระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชน (ngo)
และประชาชนในพืLนที?เอง ในการร่วมกันการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม :ที?มา
http://www.prachatalk.com
ประชาทอล์ค | เว็บของคุณ
www.prachatalk.com
เว็บไซต์ เว็บบอร์ด Blog เพื?อสังคม ผู้รักในเสรีภาพ และประชาธิปไตย
September 15 at 9:44pm · Unlike · 1 · Remove Preview
Vayuwan Chaiyadecha วยุวรรณ ไชยะเดชะ 5601034753
September 15 at 9:45pm · Unlike · 1
Ormsin Salinwan Kruathes เนื?องจากการแก ้ปัญญาด ้านสิ?งแวดล ้อมไม่สามารถทําได ้โดยรัฐ
ฝ่ ายเดียวแต่ต ้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการแก ้ปัญหา(public paticipation) จึง
ทําให ้ เกิดสิทธิการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื?องเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อม หรือ the rights to
participate in environmental decision-making อันเป็นสิทธิขัLนพืLนฐานในการอนุรักษ์สิ?ง
แวดล ้อมซึ?งการประสบความสําเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชนนัLนขึLนอยู่กับว่าประชาชนได ้รับข ้อมูล
ข่าวสารที?ถูกต ้องแม่นยําและครอบคลุมมากน้อยเพียงใด(access to infomation) ซึ?งการคุ้มครอง
สิทธิดังกล่าวจึงนํากฎหมายเข ้ามาปกป้องไว ้เป็นพิเศษในการรับรู้และการเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร และ
เสรีภาพของข ้อมูลข่าวสาร
การรับรองสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนานาชาติ ปรากฏใน
Rio Declaration on Environmenta and Development 1992
Principle 10 “ Environmental issue are best handled with participation of all
concerned citizens, at the relevant level”
วิธีการที?จะจัดการปัญหาเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อมได ้ดีที?สุดก็โดย การร่วมกันของทุกคนที?เกี?ยวข ้อง ตามแต่
กําลังของตัวเอง
การจัดการในระดับประเทศ ประชาชนมีสิทธิที?จะได ้เข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร(access to information)
เกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อมที?จัดทําขึLนโดยเจ ้าหน้าที?ของรัฐ ซึ?งรวมถึงข ้อมูลเกี?ยวกับ วัตถุดิบอันตราย และ
กิจกรรมต่างๆ
การจัดการในระดับุท ้องถิ?น การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจ (decisio- making
process) รัฐจะต ้องอํานวยความสะดวกและสนับสนุน ให ้ประชาชนได ้ตระหนักและเห็นความสําคัญ
ของการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ โดยรัฐต ้องการเผยแพร่ข ้อมูลให ้ทั?วถีง สร ้างประสิทธิภาพใน
การดําเนินการพิจารณาคดีทางตุลาการ และการบริหารจัดการทางปกครองรวมถึงการจ่ายค่าชดเชยและ
การเยี?ยวยา
ในอนุสัญญาริโอ ได ้สร ้างความเชื?อมโยงระหว่างสิทธิของประชาชน (Public rights) เอาไว ้ 3 หลัก
ได ้แก่
1. การเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร Access to information
2. การมีส่วนร่วมของประชาชน Public Participation
3. หลัการเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรม Access to justice
(Rio Declaration on Environment and Development, 1992)
ซึ?งต่อมาหลักทัLง 3 หลักนีLได ้ถูกรับรองอีกครัLงใน the UNECE Convention on Access to
infomation, Publicpaticipation in Decision-making and Access to Jistice in
Environmental Matters. หรือ Aarhus Convention 1998
(Aarhus Convention and its Protocol on PRTRs – Your Right to a Healthy
Community, UNECE, 1998)
September 15 at 10:03pm · Unlike · 1
Ormsin Salinwan Kruathes จากเนืLอหาของหลักจากข ้อที? 10 แห่งปฏิญญาริโอเป็นเรื?อง
สําคัญที?จะทําให ้ประชากรโลกสามารถพิทักษ์สิ?งแวดล ้อมของโลกได ้ ตามเนืLอหาที?ระบุการที?
ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ข ้อมูลข่าวสารเรื?องสิ?งแวดล ้อมและมลพิษ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใน
ระดับต่างๆ และสามารถเรียกร ้องทางกฎหมายให ้ได ้รับความยุติธรรมในเรื?องสิ?งแวดล ้อมได ้ องค์กรภาค
ประชาสังคมกลุ่มหนึ?งตึงได ้ริเริ?มสิ?งที?เรียกว่า The Access Imitative เพื?อติดตามตรวจสอบผลการ
ดําเนินงานองหลักการข ้อหนึ?งของปฏิญญาริโอ แกนหลักขององค์กรกลุ่มนีL (อันประกอบด ้วย World
Resources Institute ในสหรัฐอเมริกา, EMLAในฮังการี, Participa ในชิลี, ACODE ในยูกานดา
และสถาบันสิ?งแวดล ้อมไทย ได ้ร่วมกันพัฒนาตัวชีLวัดขึLนมาชุดหนึ?งเพื?อวัดผลการดําเนินงานในระดับ
ประเทศในเรื?อง 3 เรื?องที?เป็นหัวใจของหลักการข ้อที? 10 ของปฏิญญาริโอ ได ้แก่
1. การรับรู้ข ้อมูลข่าวสารด ้านสิ?งแวดล ้อม
2. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ ตัLงแต่ระดับนโยบาย แผนโครงการ รวมไปถึงการมีส่วน
ร่วมในการประเมิณผลกระทบสิ?งแวดล ้อม
3. การมีกฎหมายรองรับสิทธิของประชากรในการมีส่วนร่วมและกฎหมายเยียวยาความเสียหายด ้านสิ?ง
แวดล ้อม
ซี?งหลังจากได ้พัฒนาตัวชีLวัดชุดนีLขึLนมาแล ้ว ก็ได ้มีการทดลองใช ้ตัวชีLวัดชุดนีLในประเทศต่างๆรวมถึง
17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar
Page 6 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
ประเทศไทย ผลจากการศึกษาพบว่าประเทศส่วนใหญ่มีความก ้าวหน้าในด ้านต่างๆ 3 ด ้านนีLไม่เท่ากัน
โดยปรากฏว่าประเทศเหล่านีLมีความก ้าวหน้าในเรื?องการให ้ข ้อมูลข่าวสารสูงกว่าในอีก 2 เรื?อง คือ การมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการได ้รับความยุติธรรมด ้านสิ?งแวดล ้อม ซึ?งมีความก ้าวหน้าในอันดับรองลง
มาตามลําดับ นอกจากนีLยังพบว่ายังมีช่องว่างอยู่มากระหว่างสิ?งที?ตราไว ้เป็นกฎหมายและการปฏิบัติจริง
ในประเทศไทย สถาบันสิ?งแวดล ้อมไทย สถาบันพระปกเกล ้า สํานักงานคณะกรรมการประสานงาน
องค์กรพัฒนาเอกชน และนักวิจัยอิสระ ได ้ร่วมกันทําการศึกษาและทดสอบตัวชีLวัดดังกล่าว โดยใช ้กรณี
ศึกษา
เช่น การให ้ข ้อมูลข่าวสารเรื?องรถบรรทุกสารเคมีควํ?าบนทางด่วนในกรุงเทพฯ การให ้ข ้อมูลข่าวสารใน
เรื?องคุณภาพนํLาดื?มและคุณภาพอากาศ การจัดทําและเผยแพร่รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ?งแวดล ้อม
ของประเทศ การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที?หิน
กรูดและโครงการบําบัดนํLาเสียรวมจังหวัดสมุทรปราการ(คลองด่าน) เป็นต ้น
(สมฤดี นิโครวัฒนยิ?งยง,โจฮันเนสเบอร์กซัมมิท การประชุมโลกเพื?อการพัฒนาอย่างยั?งยืน เราได ้อะไร
?,หนังสือพิมพ์มติชน, 14 กันยายน 2545)
September 15 at 10:04pm · Unlike · 1
Ormsin Salinwan Kruathes นางสาวสลิลวรรณ เครือเทศน์ 5601034779
September 15 at 10:04pm · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak องค์เอกชนและประชาชนสามารถร่วมกันอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างไร?
ถ ้าพิจารณาจะพบว่า คําว่า “การมีส่วนร่วมของประชาชน” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Public
Participation” ดังนัLนคําว่า “ประชาชน” ในความหมายที?แท ้จริงของประเทศที?พัฒนาแล ้ว เช่น
สหรัฐอเมริกา ญี?ปุ่ น แคนาดา และออสเตรเลีย จะหมายถึงหน่วยงานของภาครัฐบาล ภาคเอกชน
องค์กรเอกชน กลุ่มคน และประชาชนทั?วไป ที?อาจได ้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์จากการมีโครงการ
หรือกิจการ ซึ?งได ้มีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม
ในประเทศที?พัฒนาแล ้วต่างก็มีวิธีการ “การมีส่วนร่วมของประชาชน” แตกต่างกันแต่โดยหลักการแล ้วจะ
เหมือนกันคือให ้ประชาชนมีสิทธิที?จะเข ้าร่วมแสดงความคิดเห็นคัดค ้านหรือเห็นด ้วยสําหรับโครงการ
หรือกิจการ
สําหรับประเทศไทยในช่วงที?ผ่านมาหลังจากที?ประชาชนได ้เริ?มเรียนรู้ถึงขัLนตอนการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ?งแวดล ้อมปรากฎว่าได ้มีการจัด Public Hearing โดยใช ้คําว่า “ไต่สวนสาธารณะ” หรือ “ประชา
พิจารณ์” และอื?น ๆ ซึ?งการจัดแต่ละครัLงนัLนไม่ได ้แยกขัLนตอนของการมีส่วนร่วม จะพยายามโยงเรื?อง
ด ้านเทคนิคต่อเนื?องกับด ้านเศรษฐกิจและสังคมซึ?งทุกครัLงที?มีการจัดประชาพิจารณ์จะไม่สามารถสรุปถึง
ผลดีหรือผลเสียอย่างแท ้จริงของโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ได ้ เพราะในการจัดประชาพิจารณ์หลายครัLง
จะมีการเตรียมผู้ฟัง โดยในบางครัLงเจ ้าของโครงการหรือผู้ประกอบการจะได ้เตรียมผู้เข ้าร่วมฟังไว ้
เป็นการล่วงหน้า ซึ?งส่วนใหญ่เป็นผู้สนับสนุนโครงการ แต่เมื?อผู้คัดค ้านโครงการหรือกิจการเป็นผู้จัดการ
ประชาพิจารณ์ก็จะพยายามเชิญองค์กรหรือประชาชนที?มีแนวโน้มคัดค ้านโครงการหรือกิจการเข ้าร่วม
เป็นผลให ้สรุปสุดท ้ายคัดค ้านโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ทําให ้บางครัLงการจัดการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนก็เป็นเสมือนเครื?องมือของผู้ที?ได ้รับผลประโยชน์และเสียประโยชน์แต่ละกลุ่ม และที?สําคัญคือ
การให ้ข่าวสารหลังจากมีการประชาพิจารณ์แต่ละครัLง จะเป็นผู้จัดการประชาพิจารณ์เป็นผู้ให ้ข่าว ทําให ้
ประชาชนโดยทั?วไปที?สนใจในโครงการหรือกิจการดังกล่าวเกิดความสับสนเพราะการจัดประชาพิจารณ์
บางครัLงเป็นการสนับสนุน บางครัLงเป็นการคัดค ้านโครงการหรือกิจการนัLน ๆ
September 15 at 11:53pm · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงถือว่าเป็นเรื?องสําคัญและมีความจําเป็นมาก
ต่อการพัฒนาหรือการคุ้มครองและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อมของประเทศต่อไปในอนาคตเพราะการ
ที?จะให ้ประชาชนเข ้ามีส่วนร่วม จําเป็นจะต ้องมีการให ้ข่าวสารที?แท ้จริงและถูกต ้องโดยมีการกําหนดขัLน
ตอนการมีส่วนร่วมอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
ที?สําคัญที?สุดที?ผู้ตัดสินใจจะต ้องเข ้าใจและยอมรับสําหรับสังคมไทย คือ เมื?อมีผู้เสียผลประโยชน์ คน
เหล่านัLนจะออกมาคัดค ้านและต่อต ้านโครงการหรือกิจการทุกรูปแบบและทุกวิถีทาง โดยจะพยายาม
ชีLนําให ้ประชาชนคนอื?นหรือกลุ่มอื?นได ้เห็นถึงผลกระทบหรือความเดือดร ้อนที?เกิดขึLนกับตนเองหรือกลุ่ม
ของตนเองซึ?งในบางครัLงอาจจะมีผู้เสียประโยชน์จากโครงการไม่มากเมื?อเทียบกับจํานวนประชาชนที?ได ้
รับประโยชน์และคนกลุ่มนีLสามารถสร ้างการคัดค ้านให ้เป็นข่าวใหญ่โตตามสื?อประเภทต่าง ๆ ในขณะ
เดียวกันผู้ที?ได ้รับประโยชน์จากโครงการจะนิ?งเฉยเพราะทราบดีอยู่แล ้วว่าอย่างไรเสียตนเองก็ได ้รับผล
ประโยชน์ จึงไม่ยอมออกมาชีLแจงหรือสนับสนุนโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ทําให ้ประชาชนกลุ่มอื?นหรือ
ในพืLนที?อื?นจะได ้ยินและฟังข่าวสารของผู้ได ้รับผลกระทบหรือผู้เสียประโยชน์เท่านัLน ซึ?งจะเป็นการเบี?ยง
เบนความเข ้าใจและการยอมรับในกิจการหรือโครงการนัLน ๆ (แหล่งอ ้างอิง : ดร.ทวีวงศ์ ศรีบุรี. EIA การ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม. พิมพ์ครัLงที? 2. กรุงเทพ : มายด์พับลิซซิ?งจํากัด, 2541)
September 15 at 11:54pm · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak แม ้ภาครัฐจะให ้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนมาเป็นเวลา
นานแล ้วซึ?งจะเห็นได ้จากในรัฐธรรมนูญ ปี 2540 หรือตามพระราชบัญญัติต่างๆเช่น พระราชบัญญัติ
การผังเมือง พ.ศ.2518 , พระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482 แต่เราก็ยังคงเห็นการไม่
ยอมรับ การคัดค ้านการพัฒนาโครงการของรัฐจากประชาชนผู้ได ้รับผลกระทบอยู่เสมอมาโดยเฉพาะ
อย่างยิ?งในโครงการขนาดใหญ่ ปัญหาในการดําเนินการมีส่วนร่วมของประชาชนนัLน มีทัLงปัญหาจากภาค
รัฐ และภาคประชาชน ไม่ว่าจะเป็นความไม่เข ้าใจกันในเรื?องรูปแบบและเทคนิคการมีส่วนร่วม ความไม่
ไว ้วางใจของประชาชนในการดําเนินโครงการของรัฐ กลุ่มอิทธิพลที?มีบทบาทสูงในการควบคุม
ประชาชนในพืLนที? หรือแม ้กระทั?งการที?หน่วยงานเจ ้าของโครงการไม่ให ้ความสําคัญที?แท ้จริงในการรับ
ฟังความคิดเห็นของประชาชน การรับฟังความคิดเห็นไม่ครอบคลุมผู้ได ้รับผลกระทบที?แท ้จริง ตราบใด
ที?ทัLงภาครัฐและภาคประชาชน ยังมองไม่เห็นถึงประโยชน์และคุณค่าที?แท ้จริงของการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนยังไม่เข ้าใจกระบวนการของการมีส่วนร่วมที?ถูกต ้องและยังคงเห็นประโยชน์ตนเองมากกว่า
ประโยชน์ส่วนรวมการดําเนินการมีส่วนร่วมของประชาชนของประเทศไทยในการพัฒนาโครงการขนาด
ใหญ่ของรัฐก็จะยังคงอยู่ในวังวนของความขัดแย ้งต่อต ้าน ขัดขวางการพัฒนา ทัLงๆ ที?บางโครงการหาก
มีการดําเนินการแล ้ว จะเกิดประโยชน์ต่อสังคมและประชาชนอย่างกว ้างขวาง
ดังนัLนเพื?อให ้บ ้านเมืองของเราเจริญก ้าวหน้าไปได ้ในทิศทางที?ทุกภาคส่วนสามารถประสานประโยชน์
และมีความสุข ประชาชนจะต ้องรักษาสิทธิและโอกาสของตนเองในการเข ้าไปรับรู้ข ้อมูลรายละเอียด
ของโครงการ,ให ้ความเห็น, บอกความต ้องการปัญหาและข ้อขัดข ้องของตนเองและคอยติดตามตรวจ
สอบเกี?ยวกับโครงการที?อาจมีผลกระทบต่อตนเองและสังคมทัLงทางตรงและทางอ ้อม ซึ?งถ ้าโครงการ
พัฒนาทุกโครงการผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนที?จริงจัง และการให ้ข ้อมูลรอบด ้านทัLง
ผลดีผลเสียอย่างจริงใจจากผู้ประกอบการจะทําให ้โครงการดีๆทุกโครงการบรรลุความสําเร็จอย่างราบ
รื?นสร ้างความเจริญก ้าวหน้าต่อประเทศชาติและ ประชาชนอย่างยั?งยืน (พิมพ์ใจ ยุทธบรรดล
http://www.teamgroup.co.th/.../downloads/category/2.html...)
September 15 at 11:54pm · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak น.ส. อภิชญา ทิมพิทักษ์ 5601034621
September 15 at 11:55pm · Unlike · 1
Chutinan Rasmee ปัญหาในการดําเนินโครงการของรัฐส่วนมาก มักเป็นการดําเนินการแบบที?
เรียกว่า D-A-D Syndrome(Decide-Announce-Defend)หรือเรียกว่ากลุ่มอาการ "ตัดสิน
ประกาศและปกป้อง" กล่าวคือการที?รัฐตัดสินใจทําอะไรแล ้วค่อยแจ ้งให ้ประชาชนทราบแล ้วจึงปกป้อง
สิ?งที?ตนประกาศออกไปว่ามันดีอย่างไร
ซึ?งการกระทํานีLได ้ก่อให ้เกิดปัญหาขัดแย ้งบ่อยครัLง แม ้กระทั?งกับประเทศที?พัฒนาแล ้วเช่นสหรัฐอเมริกา
ก็ตาม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

Más contenido relacionado

Destacado

2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow
2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow
2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
Apprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativoApprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativomassimo82
 
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
Week 11 class (23 august 2010) slideshow
Week 11 class (23 august 2010) slideshowWeek 11 class (23 august 2010) slideshow
Week 11 class (23 august 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
Presentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniquesPresentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniquesChacrit Sitdhiwej
 
Week 12 class (7 september 2010) slideshow
Week 12 class (7 september 2010) slideshowWeek 12 class (7 september 2010) slideshow
Week 12 class (7 september 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Spacefaceise
 
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมบทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากChacrit Sitdhiwej
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshow2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshowChacrit Sitdhiwej
 

Destacado (16)

2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow
2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow
2553 la786 week 2 class (24 june 2010) slideshow
 
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
 
Apprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativoApprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativo
 
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow
2553 la260 week 3 class (19 july 2010) slideshow
 
Week 11 class (23 august 2010) slideshow
Week 11 class (23 august 2010) slideshowWeek 11 class (23 august 2010) slideshow
Week 11 class (23 august 2010) slideshow
 
Bridges
BridgesBridges
Bridges
 
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
 
Presentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniquesPresentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniques
 
Week 12 class (7 september 2010) slideshow
Week 12 class (7 september 2010) slideshowWeek 12 class (7 september 2010) slideshow
Week 12 class (7 september 2010) slideshow
 
February look at teaching
February look at teachingFebruary look at teaching
February look at teaching
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
 
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมบทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
 
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
 
2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshow2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshow
 

Más de Chacrit Sitdhiwej

ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองChacrit Sitdhiwej
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายChacrit Sitdhiwej
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมChacrit Sitdhiwej
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)Chacrit Sitdhiwej
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)Chacrit Sitdhiwej
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์Chacrit Sitdhiwej
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยChacrit Sitdhiwej
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดChacrit Sitdhiwej
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยChacrit Sitdhiwej
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 

Más de Chacrit Sitdhiwej (20)

ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
 
The public face
The public faceThe public face
The public face
 
the many faces
the many facesthe many faces
the many faces
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมาย
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัย
 
Edm
EdmEdm
Edm
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 

สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

  • 1. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 1 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar Sponsored Recent 2013 First Met Invest In Detroit Homes Fully remodeled. 3-4 bedroom homes with Section 8 tenants. Starting at $35,000. 210 people like this. International Law LL.M. wcl.american.edu Propel your career in international law with a Master of Laws. Apply by 10/1! Facebook friends since August Mutual Friends 86 Photos 1 Likes 1 Events ·Photos 1 ·Friends 86 Mutual Ormsin Salinwan Kruathes Paeng Jitsong ฉัน รักในหลวง Tapanot Maipanich WormfOrest Gym Mameow Mitrabhorn Heng Puthong Nattwajee Jaksan Likes ThaiPBS Auii Thestar Chacrit Sitdhiwej September 15 สรุปการอภิปราย หัวข ้อ องค์กรเอกชนและประชาชนสามารถร่วมกันอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างไร? — with Ormsin Salinwan Kruathes and 19 others. Unlike · Comment You, Natsuda Rattamanee, Apitchaya Timpitak and 2 others like this. Auii Thestar Samawit Kittikasamsil วีระยุทธ หอมชื?น September 15 at 12:43pm · Like · 1 Tapanot Maipanich Chanon Teaworm September 15 at 12:47pm via mobile · Like Auii Thestar องค์กรเอกชน หรือที?เรียกกันติดปาก ว่า "NGOs" คือ รูปแบบหนึ?งของการรวมกลุ่ม ของประชาชน ในแง่การรวมกลุ่มแล ้วจัดได ้ว่าเป็นองค์กรที?มิได ้ก่อตัLงขึLนมาเพื?อทําหน้าที?เป็นองค์กร หรือกลไกการดําเนินงานของรัฐ แต่ดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ซึ?งส่วนใหญ่เป็นเรื?องเกี?ยวกับความเป็นอยู่ ของประชาชนและการพัฒนาสังคม การรวมตัวกันเช่นนีLเป็นสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน ที?จะกระทําได ้ สําหรับความหมายในบริบทของสังคมไทยนัLน มีนักวิชาการ นักพัฒนา ให ้ความหมายกับ NGOs ที? หลากหลาย ในการประชุมระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนที?ทํางานพัฒนาด ้านต่างๆ ในวันที? 4 พฤษภาคม 2546 ณ ห ้องประชุมคณะสังคมสังเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ได ้ให ้ความหมายขององค์กร พัฒนาเอกชนโดยตรง แต่อธิบายลักษณะของคําว่า “องค์กรพัฒนาเอกชน” ไว ้ ดังนีL 1) เป็นองค์กรที?มี วัตถุประสงค์เพื?อดําเนินงานพัฒนาสังคมโดยเน้นการพัฒนาคน และการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) เป็น องค์กรที?จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่จดทะเบียนก็ได ้ และในกรณีที?ไม่ได ้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะต ้องมีการจัดองค์กรเป็นคณะทํางาน ขึLนมาดูแลรับผิดชอบในการดําเนินการอย่างมีระเบียบแบบแผน ตามสมควร และ3) เป็นองค์การที?ดําเนินงานโดยอิสระมีกิจกรรมต่อเนื?อง และไม่แสวงหาผลประโยชน์ หรือกําไร (สื?อเพื?อการพัฒนา ค ้นเมื?อ 15 กันยายน 2556 จาก http://www.thaingo.org/story/info_002.htm) จากคํานิยมของนักวิชาการ และนักพัฒนานัLนมีความหลากหลาย และแตกต่างกันไป แต่ก็มีลักษณะบาง ประการที?เป็นจุดร่วมกันอยู่ ทัLงนีLผู้เขียนจะไม่กําหนดนิยามให ้กับ NGOs แต่จะขอกําหนดคําอธิบาย คุณลักษณะความเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน เพื?อเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาขอบเขตขององค์กร ดังนีL 1) เป็นองค์กรที?มีหน้าที?หรือการดําเนินกิจกรรมเพื?อประโยชน์ของส่วนรวม ในการช่วยเหลือคลี?คลาย ปัญหาในสังคม และพัฒนาสังคม โดยมิใช่ผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม หรือประโยชน์ของสมาชิกในองค์กร 2) เป็นองค์กรที?ดําเนินการโดยอิสระอยู่นอกระบบโครงสร ้างราชการ ต ้องปราศจากการควบคุมหรือสั?ง การ โดยรัฐบาลใดๆ รวมทัLงไม่เป็นส่วนหนึ?งของพรรคการเมือง แม ้องค์กรนัLนจะถูกจัดตัLงขึLนโดยรัฐหรือ ได ้รับการสนับสนุนจากรัฐ 3) เป็นองค์กรที?มีสถานภาพทางกฎหมาย เป็นนิติบุคคล โดยการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล สมาคม หรือ ไม่ได ้จดทะเบียนนิติบุคคลก็ได ้ แต่ถ ้าไม่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจะต ้องมีการจัดรูปองค์กรเป็นคณะ กรรมการ หรือคณะบุคคลทําหน้าที?รับผิดชอบในการบริหารงาน Share Friendship MoreYou and Auii Thestari Thestar Timeline Recent Home Chacritpeople, places and things 11
  • 2. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 2 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar 4) เป็นองค์กรที?ไม่แสวงหากําไร หรือผลประโยชน์ใดๆ รวมทัLงไม่แบ่งปันผลประโยชน์ให ้แก่สมาชิก (NGOs เป็นใคร ค ้นเมื?อวันที? 15 กันยายน 2556 จากhttp://suttiporn.blogspot.com/2006/06/ngos.html) 1. องค์กรพัฒนาเอกชนคือใคร www.thaingo.org ภูมิธรรม เวชยชัย ได ้ให ้ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน หมายถึง "องค์กรหรือ มูลนิธิ หร... See More September 15 at 1:04pm · Unlike · 1 · Remove Preview Apitchaya Timpitak Satang Sandee Abojama Mam Kantima Mutchakit September 15 at 1:07pm via mobile · Like Apitchaya Timpitak Somsak Wongranght September 15 at 1:09pm via mobile · Like Auii Thestar ตัวอย่างความร่วมมือของ NGOs เพื?อช่วยเหลือชาวบ ้าน บทความเรื?อง "สงครามชาวบ ้าน-รัฐทาสนายทุน ความรุนแรงรอบใหม่พืLนที?เหมืองแร่ โปแตช อุดรธานี นับจากที?รัฐบาลไทยออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เมื?อวันที? ๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๓ เชิญชวนให ้ เอกชนยื?นคําขอสิทธิสํารวจและผลิตแร่โปแตชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริษัท อะกริ โปแตช จํากัด บริษัทสัญชาติแคนนาดา (ต่อมาได ้เปลี?ยนชื?อเป็นบริษัทเอเชียแปรซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั?น จํากัด หรือ เอพีพีซี) ได ้ทําสัญญาและได ้รับอนุญาตจากรัฐบาลไทย โดยกรมอุตสาหกรรมพืLนฐานและการ เหมืองแร่ (เดิมคือกรมทรัพยากรธรณี) กระทรวงอุตสาหกรรม ให ้ประกอบกิจการเหมืองแร่ พัฒนา และ หาประโยชน์จากแหล่งแร่ ที?บริษัทฯ ได ้ทําการเจาะสํารวจและมีความเป็นไปได ้ในเชิงพานิชย์ ตาม สัญญาฉบับลงวันที? ๔ ตุลาคม ๒๕๒๗ และต่อมาเมื?อวันที? ๒๙ พฤศจิกาบน ๒๕๓๗ มีการแก ้ไขสัญญา เพิ?มเติม ต่อมาเมื?อวันที? ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ กระทรวงอุตสาหกรรมได ้ออกอาชญาบัตรพิเศษแก่บริษัทฯ จํานวน ๕๓ แปลง ครอบคลุมเนืLอที? ๑๒๐,๐๐๐ ไร่ ในอําเภอเมืองอุดรธานีและอําเภอประจักษ์ศิลปาคม จากการสํารวจนัLนพบว่าในจังหวัดอุดรธานี เป็นแหล่งแร่โปแตชที?มีความอุดมสมบูรณ์สูง เกรดดี เป็นแร่ โปแตชชนิดซิลไวท์ มีคุณภาพทัดเทียมกับที?พบในประเทศแคนาดา แร่ที?พบนีLอยู่ที?ระดับความลึก ประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ เมตร และในแหล่งอุดรเหนือมีปริมาณแร่สํารองประมาณ ๗๐๐ ล ้านตัน และใน แหล่งอุดรใต ้ มีปริมาณสํารอง ๓๐๐ ล ้านตัน บริษัทฯ จึงได ้ยื?นคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่โปแตช เมื?อวันที? ๙ มิถุนายน ๒๕๔๗ ได ้รับจดทะเบียนคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่ใต ้ดินเพื?อผลิตแร่โปแตช ในพืLนที?แหล่งอุดรใต ้ จํานวน ๒๒,๔๓๗ ไร่ ครอบคลุมอําเภอเมืองอุดรธานี และอําเภอประจักษ์ศิลปา คม และเมื?อวันที? ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ ได ้รับจดทะเบียนคําขอประทานบัตรทําเหมืองแร่ใต ้ดินเพื?อผลิต โปแตชในแหล่งพืLนที?อุดรเหนือ จํานวน๕๒,๐๓๗ ไร่ ครอบคลุมอําเภอเมืองอุดรธานี อําเภอประจักษ์ ศิลปาคม และอําเภอหนองหาน รวมแล ้ว ๗๔,๔๗๔ ไร่ โดยหวังจะเปิดทําเหมืองแร่ใต ้ดินในพืLนที? ทัLงหมด September 15 at 1:15pm · Unlike · 1 Auii Thestar จากรายงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที?ได ้จัดทํารายงานตรวจสอบ ปัญหาความขัดแย ้งจากโครงการเหมืองแร่โปแตชอุดรธานี เมื?อปี ๒๕๕๐ มีความเห็นว่าโครงการนีL จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อราษฎร และคุณภาพสิ?งแวดล ้อมในวงกว ้างมาก พืLนที?การขุดทําเหมืองใต ้ดิน นัLนซ ้อนทับกับพืLนที?ที?มีราษฎรอยู่อาศัย ทํากิน ชุมชน เป็นที?ตัLงของเมือง เกือบแปดหมื?นไร่ จึงสร ้าง ความวิตกกังวลให ้กับราษฎรในหลายประการ เช่น การทําเหมืองใต ้ดินอยู่ด ้านล่างของที?อยู่อาศัย ทํากิน มีทัLงชุมชนชนบทและชุมชนเมือง ราษฎรกลัวว่าหากเหมืองใต ้ดินถล่ม จะทําให ้ที?ดินด ้านบนถล่มตามไป ด ้วย จะสร ้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ซึ?งการรับรองต่อระบบป้องกันมลพิษและรักษาสิ?ง แวดล ้อมตามคํามั?นของผู้ประกอบการ ราษฎรไม่เชื?อมั?น เกรงว่าเมื?อทําเหมืองใต ้ดินแล ้ว การขุดเกลือ นํLาเกลือ ฝุ่ นเกลือ จะส่งผลต่อสภาพแวดล ้อม ที?ดินทํากิน รวมถึงนํLาเกลืออาจไหลลงแหล่งนํLาสําคัญ ทําให ้กลายเป็นนํLากร่อยหรือนํLาเค็ม และเมื?อคิดค่าใช ้จ่ายสําหรับระบบป้องกันมลพิษและรักษาสิ?ง แวดล ้อมให ้ได ้ผลตามคํามั?นแล ้ว คาดว่าจะเป็นค่าใช ้จ่ายที?สูงมากกว่ารายได ้จากการขายแร่โปแตช หากเกิดปัญหาการแพร่กระจายของดินเค็ม นํLาเค็ม และสภาพแวดล ้อมเสียหาย ฯลฯ ก่อให ้เกิดค่า ใช ้ จ่ายในการแก ้ไขปัญหาสูงมากซึ?ง เมื?อถึงเวลานัLนรัฐซึ?งหมายถึงคนไทยทัLงประเทศต ้องเข ้ามารับภาระใน การแก ้ไขปัญหา กรณีผลกระทบด ้านสิ?งแวดล ้อมจากกากแร่หรือกองเกลือซึ?งในรายงานผลกระทบสิ?งแวดล ้อมเดิมที?ผ่าน ความเห็นชอบของ คชก. เมื?อปี 2543 นัLนระบุว่าจะมีกองเกลือที?มีความยาว ๑.๐๐๐ เมตร กว ้าง ๖๐๐ เมตรและสูง ๔๐ เมตร จํานวน ๒๐ ล ้านตัน ซึ?งกองเกลือดังกล่าวมีความสูงกว่าบ ้านเรือนของประชาชน และต ้นไม ้ในพืLนที?โครงการ อันมีลักษณะเป็นภูเขาเกลือขนาดมหิมา และจะถูกทิLงไว ้โดยไม่มีสิ?งปกปิด เป็นเวลา ๕๐ ปี เมื?อถึงฤดูแล ้งที?อากาศแห ้งและลมพัดแรงฝุ่ นผงเกลือก็จะฟุ้งกระจายไปในอากาศ เมื?อ ถึงฤดูฝนในกรณีฝนตกหนักหรือเกินนํLาท่วม เกลือปริมาณ ๒๐ล ้านตัน จะถูกชะล ้างลงสู่ดินและแหล่งนํLา ต่าง ๆ ในสภาพแวดล ้อม ทําให ้นาข ้าวเสียหายได ้อย่างรุนแรง ทําลายป่ าไม ้ และแหล่งนํLาธรรมชาติทุก แหล่ง ไม่ว่าจะเป็นหนองนํLา อ่างเก็บนํLาหรือแม่นํLาลําคลองในบริเวณหลายตารางกิโลเมตรโดยรอบ September 15 at 1:16pm · Unlike · 1 Auii Thestar นอกจากนีLจากรายงานของคณะกรรมการสิทธิฯ ยังอ ้างถึงคําชีLแจงของผู้ประกอบ การ ว่าการทําเหมืองแร่โปแตชจะทําเพื?อใช ้ในประเทศไทยใช ้เพียง ๒๐ % ของที?ขุดได ้ อีก ๘๐ % ส่งออก โดยคณะกรรมการสิทธิฯ เห็นว่า หากเทียบกับการซืLอแร่โปแตชจากต่างประเทศเข ้าใช ้๒๐ % ค่าใช ้จ่ายเมื?อเทียบกับผลเสียต่างๆ ที?จะเกิดขึLนในอนาคต กับปัญหาความวิตกกังวล และความแตก ความสามัคคีของราษฎรและสภาพแวดล ้อมที?เสียหาย จะมีความคุ้มค่ามากว่า เพราะการทําเหมือง โปแตชนีLทําให ้รัฐมีรายได ้ปีละประมาณ ๖๐๐ ล ้านบาท คิดแล ้วไม่เกินร ้อยละ ๕ ของรายได ้ของผู้ ประกอบการเท่านัLน ตลอดทัLงการที?มีคนทํางานประมาณ ๙๐๐ คน นัLนนับเป็นการไม่คุ้มค่ากับผลเสีย ต่างๆ เป็นต ้นว่า ดินเสีย มลพิษ ความเจ็บไข ้ได ้ป่ วย ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ ตัLงแต่ขัLนตอนการดําเนินการสํารวจและยื?นคําขอประทานบัตรของ บริษัทฯ ได ้รับการคัดค ้านจาก ประชาชนในท ้องที? โดยเมื?อปี ๒๕๔๕ ประชาชนในท ้องที?ตําบลโนนสูง และตําบลหนองไผ่ อําเภอเมือง อุดรธานี ตําบลห ้วยสามพาด และตําบลนาม่วง อําเภอประจักษ์ศิลปาคมได ้รวมตัวกันตัLงกลุ่มอนุรักษ์สิ?ง แวดล ้อมอุดรธานีขึLน และแสดงตัวเคลื?อนไหวคัดค ้านโครงการเหมืองแร่ใต ้ดินอย่างจริงจังทุกขัLนตอนจน ปัญหาความขัดแย ้งในพืLนที?โครงการเหมืองแร่โปแตช อุดรธานีเป็นที?รับรู้ในสังคมไทย และเผยให ้เห็นว่านโยบายการพัฒนาเหมืองแร่โปแตชในภาคอีสานไม่ ได ้มีเพียงในจังหวัดอุดรธานีเท่านัLนหากแต่มีโครงการลักษณะเดียวกันในอีก ๖ จังหวัดภาคอีสานรวม แล ้วพืLนที?กว่า ๗ แสนไร่ ศาลได ้พิพากษาศาลยกฟ้องแกนนํากลุ่มอนุรักษ์ฯ ทัLง ๕ ด ้วยพิจารณาตามหลักการในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ที?ได ้กําหนดสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ?งแวดล ้อม ที?มี สาระเรื?องความสัมพันธ์ทางอํานาจระหว่างรัฐกับประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง แวดล ้อมโดยได ้เพิ?มอํานาจให ้ประชาชน ชุมชนท ้องถิ?นมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ?งแวดล ้อม ตลอดจนสามารถตรวจสอบการใช ้อํานาจของรัฐในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง
  • 3. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 3 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar แวดล ้อม และเห็นว่าบริษัทดําเนินการโดยฝ่ าฝืนต่อพระราชบัญญัติแร่ และฝ่ าฝืนรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๔๐ อันเป็นกฎหมายสูงสุดที?ใช ้ในการปกครองประเทศ ดังนัLนศาลจึงเห็น ว่าการคัดค ้านการรังวัดปักหมุดของกลุ่มอนุรักษ์ฯ และเรียกร ้องการมีส่วนร่วมจึงเป็นการกระทําการอัน เป็นการร่วมกันในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใช ้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ?ง แวดล ้อมอย่างสมดุลยั?งยืน อีกทัLงเป็นการใช ้สิทธิในการบํารุงรักษาและใช ้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษา คุณภาพ สิ?งแวดล ้อมเพื?อให ้ดํารงอยู่ได ้อย่างปกติและต่อเนื?องในสิ?งแวดล ้อมที?จะไม่ก่อให ้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน September 15 at 1:16pm · Unlike · 1 Auii Thestar ในคําพิพากษาศาลยังระบุว่าโครงการเหมืองแร่โปแตช เป็นโครงการที?แสวงหา ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ แม ้บริษัทจะอ ้างว่าดําเนินการไปตามที?ระบุไว ้ในสัญญากับรัฐบาล ไทยแต่ประชาชนในพืLนที?โครงการฯ ก็จะเป็นผู้ที?ได ้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ หรือได ้รับผลกระทบ จากสัญญาโดยตรงด ้วย จึงต ้องคํานึงถึงกฎหมายมหาชนอันเป็นกฎหมายที?บัญญัติถึงความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับประชาชนในรัฐนัLนประกอบด ้วย นอกจากนีLยังระบุว่าว่าในขณะที?ทําสัญญา ตลอดจนการ ดําเนินการตามสัญญาในแต่ละขัLนตอนในเวลาต่อมาไม่มีการเปิดเผยให ้ประชาชนในพืLนที?และผู้ที?มีส่วน เกี?ยวข ้องได ้รับทราบ เช่น ในช่วงของการสํารวจ หรือ ในช่วงของการทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ?ง แวดล ้อม เป็นต ้น การเข ้าถึงสัญญาในครัLงนีLประชาชนต ้องใช ้สิทธิการเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสารของราชการ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๕๙ และพระราชบัญญัติข ้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๓๕ โดยคณะกรรมการวินิจฉัยฯ มีมติให ้กรมทรัพยากรธรณี เปิดเผยข ้อมูลข่าวสารเกี?ยวกับสัญญาสัมปทานที?มีลักษณะผูกขาดตัดตอนของเหมืองแร่โปแตช จังหวัด อุดรธานี ประชาชนและผู้เกี?ยวข ้องจึงมีโอกาสได ้ทราบข ้อเท็จจริงของสัญญาและขัLนตอนการดําเนินการ ตามสัญญาตลอดจนผลกระทบที?จะเกิดขึLน และศาลยังระบุเพิ?มเติมว่าการดําเนินการเกี?ยวกับโครงการ เหมืองแร่โปแตชของบริษัทฯ และหน่วยงานราชการที?เกี?ยวข ้องก็ดําเนินการในลักษณะไม่โปร่งใส สร ้าง ความสงสัยคลางแคลงใจและความวิตกกังวลให ้แก่ชาวบ ้านหลายกรณี เช่น กรณีการทํารายงาน วิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม และการให ้ความเห็นชอบหรือรับรองการทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ?งแวดล ้อม ก่อนที?พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที? ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จะประกาศใช ้บังคับ และนักวิชาการที? เกี?ยวข ้องตลอดจนองค์กรเอกชนอื?นก็ได ้ร่วมคัดค ้านว่า การทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ?ง แวดล ้อมก่อนที?กฎหมายบังคับใช ้เป็นการดําเนินการที?ไม่ชอบด ้วยกฎหมาย หรือเป็นการดําเนินการที?ไม่ ครอบคลุมพืLนที?โครงการทัLงหมด หรือเป็นการทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที?ไม่ตรงกับความเป็น จริงที?จะเกิดขึLน ซึ?งนี?คือเหตุผลที?แท ้จริงที?ทําให ้บริษัทอิตาเลี?ยนไทยไม่อาจจะดันทุรังใช ้รายงานอีไอเอ เดิมได ้แม ้จะผ่านความเห็นชอบของ คชก.ไปแล ้วก็ตาม (บําเพ็ญ ไชยรักษ์ กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา "รายงานพิเศษ สงครามชาวบ ้าน -รัฐทาสนายทุน ความ รุนแรงรอบใหม่พืLนที?เหมืองแร่โปแตช อุดรธานี" สืบค ้นเมื?อ 15 กันยายน 2556 จาก http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=1727) รายงานพิเศษ สงครามชาวบ้าน -รัฐทาสนายทุน ความรุนแรงรอบใหม่ พื?นทีAเหมืองแร่โปแตช อุดร� www.thaingo.org จุดเริ?มต ้นของความรุนแรง นับจากที?รัฐบาลไทยออกประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม เมื?อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๓ เชิญชวนให ้เอกชนยื?นคําขอสิทธิสํา รวจและผลิตแร่โปแตชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริษัท อะกริ โปแตช จํากัด บริษัทสัญชาติแคนนาดา (ต่อมาได ้เปลี?ยนชื?อเป็นบริษัทเอเชียแปรซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั?น จํากัดหรือ เอพีพีซ... September 15 at 1:16pm · Unlike · 1 · Remove Preview Auii Thestar นายพุฒินันต์ สุขสม 5601034530 September 15 at 1:17pm · Unlike · 1 Myname Isnatt NGOs เป็นองค์กรที?ได ้รับการรับรองสิทธิ และได ้รับการสนับสนุนด ้านเงินทุน รวมทัLงมีเสรีภาพในการแสดงออกค่อนข ้างมาก NGOs จึงเป็นเหมือนกระบอกเสียง และเป็นผู้นํา ประชาชนหรือสังคมในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้ ทัLงการทํากิจกรรมในเชิงการต ้านการทําลาย และด ้าน การฝืLนฟูสิ?งแวดล ้อม นอกจากนีLกิจกรรมของ NGOs ยังเป็นการปลุกจิตสํานึกของประชาชนทั?วไปให ้หัน มาตระหนักถึงความสําคัญของสิ?งแวดล ้อม สถานการณ์ และปัญหาด ้านสิ?งแวดล ้อมที?เกิดขึLนหรือกําลัง ดําเนินอยู่อีกด ้วย อย่างไรก็ตาม การทํางานของ NGOs ที?จะทําให ้การอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมและทรัพยากรธรรมชาตินัLนเป็น ไปอย่างยั?งยืนได ้ คงต ้องอาศัยความจริงใจ และการมีความรู้ความเข ้าใจในการดําเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างแท ้จริง และประชาชนเองก็ควรมีจิตสํานึกที?ดี และตระหนักอยู่เสมอว่าตนเองนัLน มีส่วนในการ ทําลายสิ?งแวดล ้อมอยู่ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันก็เป็นกําลังสําคัญในการรักษาและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม และทรัพยากรธรรมชาติด ้วยเช่นกัน น.ส. จินติมา กริยาผล 5601034662 September 15 at 5:16pm · Unlike · 2 Pann Chandla-or บทบาทขององค์กรเอกชนและประชาชน ช่วยอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้โดย 1. สิ?งแวดล ้อมมีอยู่อย่างมากมาย รัฐแต่ฝ่ ายเดียว อาจมีบุคลากร เทคโนโลยี หรืองบประมาณไม่ เพียงพอที?จะสามารถจัดการและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างทั?วถึง การที?ให ้องค์กรเอกชนและประชาชน เมื?อเข ้ามามีบทบาทในการจัดการและอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม เปรียบเสมือนการเพิ?มเติมเครื?องไม ้ เครื?องมือ ในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม เพิ?มเติมจากฝ่ ายรัฐ และทําให ้สามารถอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างทั?วถึง และ มีประสิทธิภาพมากขึLน (อัชพร จารุจินดา บทบาทของภาคเอกชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ?งแวดล ้อม พ.ศ. 2535 ,รัฐสภาสาร ปีที? 12 ธันวาคม 2536 หน้า 31 และ อํานาจ วงศ์ บัณฑิต กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม หน้า 601) 2. รัฐจะกระทําการอันใดจําเป็นต ้องอาศัยอํานาจตามกฎหมาย กฎหมายในที?นี?ก็คือกฎหมายมหาชน ซึ?ง ขอบเขตการใช ้บังคับย่อมจํากัดอยู่เฉพาะเขตอํานาจของแต่ละรัฐ (National Jurisdiction) แต่องค์กร เอกชนและประชาชน นัLนไม่มีขอบเขตอํานาจ ในแต่ละประเทศสามารถสร ้างเครือข่ายความร่วมมือ ติดต่อสื?อสารหรือแลกเปลี?ยนข ้อมูลทางวิชาการ ข่าวสาร งานวิจัยต่างๆ กันได ้โดยไร ้พรมแดน ด ้วย สาเหตุนีLความรู้ ความสามารถขององค์กรเอกชนและประชาชนย่อมเพิ?มขึLน (As Experts) นอกจากนัLน องค์กรเอกชนและประชาชนที?สนใจและมีความสามารถในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมในด ้านนัLนๆ ย่อมมี ความเชี?ยวชาญ และทําให ้การอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึLน (Farhana Yamin ,NGOs and Environmental Law: A Critical Evaluation of their Roles And Responsibilities p.156 และอํานาจ วงศ์บัณฑิต กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม หน้า 601) 3. บทบาทขององค์กรเอกชนและภาคประชาชนที?มากขึLนนัLน ทําให ้ภาครัฐต ้องระมัดระวังในการปฏิบัติ งานมากขึLน เพราะจะทําให ้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของรัฐเพิ?มขึLนด ้วย (อํานาจ วงศ์บัณฑิต กฎหมายสิ?งแวดล ้อม พิมพ์ครัLงที? 2 แก ้ไขเพิ?มเติม หน้า 601) September 15 at 5:41pm · Unlike · 1 Pann Chandla-or อนึ?งสําหรับประเทศไทยนัLน ก็มีการยอมรับบทบาทขององค์กรเอกชนไว ้ใน ระบบกฎหมายของไทย เช่น มาตรา 7 และ 8 ของพรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อม ก็ส่ง เสริมการรวมกลุ่ม บทบาท และรองรับความมีตัวตนขององค์กรเอกชน เช่นเดียวกับภาคประชาชน
  • 4. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 4 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ให ้การรับรอง เช่น รับรองสิทธิชุมชน ชุมชน ท ้องถิ?น และชุมชนท ้องถิ?นดัLงเดิม (มาตรา 66) และกําหนดให ้รัฐต ้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน (มาตรา 87) ตัวอย่างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที?น่าสนใจ เช่น บทบาทของชุมชนท ้องถิ?นในการอนุรักษ์ป่ า ชุมชน ซึ?งประชาชน ในท ้องถิ?นได ้ผสานเอาความเชื?อ วัฒนธรรม ประเพณีโบราณ พร ้อมตัLงกฎหมู่บ ้าน ขึLนมาเพื?อกําหนดแบบแผนความประพฤติของคนในหมู่บ ้านในการดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับป่ า เช่นการจัดเวร ยามดูแลป่ า กําหนดจํานวนของป่ าที?ชาวบ ้านแต่ละคนจะเก็บได ้ เป็นต ้น ชาวบ ้านจึงเข ้ามามีบทบาทใน การตัดสินใจ (Decision Making) ในการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมอย่างมาก ความเชื?อ วัฒนธรรม ประเพณี โบราณเหล่านีL แม ้อาจจะเป็นเรื?องงมงาย แต่อย่างน้อยก็ช่วยส่งเสริมให ้การอนุรักษ์ป่ าชุมชนเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากขึLน เช่นเดียวกับประเพณีการบวชป่ านั?นเอง (จักรพงษ์ พวงงามชื?น สวิชญา ศุภ อุดมฤกษ์ ตรีรัตน์ และ นคเรศ รังควัต ,การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่ า ชุมชน:กรณีศึกษา บ ้านทาป่ าเปา ตําบลทาปลาดุก อําเภอแม่ทา จังหวัดลําพูน วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที? 36 ฉบับที? 2 เมษายน - มิถุนายน 2556 หน้า 215-234) นายปัญญ์ จันทร์ลออ 5601034514 September 15 at 5:42pm · Unlike · 2 วีระยุทธ หอมชืAน การใช ้สิทธิทางศาลขององค์กรเอกชน โดลหลักแล ้วปัญหาเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อม สามารถแบ่งได ้ 2 ประเภท คือ 1. ปัญหาเกี?ยวกับความเสียหายอันเกิดจากภาวะมลพิษตามมาตรา 96 ของ พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อมแห่งชาติ 2535 และ 2. ปัญหาเกี?ยวกับการ ทําลายทรัพยากรธรรมชาติตามมาตรา 97 ของ พรบ. เดียวกัน สิทธิการใช ้สิทธิทางศาลขององค์กร เอกชนตามมาตรา 96 ในกรณีที?องค์กรเอกชนได ้รับความเสียแก่ทรัพย์สินสามารถฟ้องคดีได ้โดยอาศัย สิทธิของตน แต่ในกรณีที?บุคคลอื?นได ้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย สุขภาพอนามัย หรือทรัพย์สิน องค์กรเอกชนต ้องได ้รับมอบอํานาจให ้ฟ้องคดีแทนในฐานะผู้แทนปห่งคดีเท่านัLน ไม่สามารถฟ้องโดย อาศัยสิทธิขินตนได ้ ส่วนกรณีความเสียตามมาตรา 97 รัฐเท่านัLนเป็นผู้เสีย และมีสิทธิฟ้องคดี องค์กร เอกชน แม ้จะได ้จดทะเบียนตามหลักเกณฑ์ วิธีการตามมาตรา 7 และ 8 ของพรบ. ดังกล่าวแล ้วก็ตามก็ ไม่สามารถฟ้องคดีโดยอาศัยสิทธิของตนได ้เช่นกัน แต่ในกรณีของประเทศ สหรัฐอเมริกา ฝรั?งเศศ หรือ เยอรมันองค์กรเอกชนที?ได ้จดทะเบียนตามหลักเกณฑ์ที?กําหมายกําหนดแล ้วสามารถฟ้องคดีได ้โดยไม่ ต ้องได ้รับมอบอํานาจแต่อย่างใด (ปณิดา พัฒนพงษ์, การฟ้องคดีสิ?งแวดล ้อมโดยองค์กรเอกชน, Thesis, น. 78 ) ผู็เขียนเห็นว่าปํ าหมายไทยควรเปิดโอกาสให ้องค์กรเอกชนที?จดเบียนตาม พรบ. ดัง กล่าวแล ้วให ้มีสิทธิฟ้องแทนผู้เสียหายในกรณี ม. 96 หรือกรณี ม. 97 ได ้เพราะองค์กรเอกชนจะมี ความรู้ ความชํานาญในด ้านนัLนโดยเฉพาะอันเกิดจากประสบการณ์ในการทํางาน แต่ทัLงนีLต ้องกําหนด เงื?อนไข หรือคุณสมบัติให ้ชัดเจนและรัดกุมเพื?อป้องกันการสมยอมในการดําเนินคดีระหว่างผู้ทําละเมิด กับองค์กรเอกชนอันจะเกิดความเสียหายต่อรูปคดี September 15 at 6:41pm · Unlike · 1 วีระยุทธ หอมชืAน นายวีระยุทธ หอมชื?น 5601034563 September 15 at 6:42pm · Unlike · 1 Paeng Jitsong การมีส่วนร่วมของประชาชน ย ้อนไปอธิบายจากหลักการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory democracy) ระบอบการปกครองแบบนีLมีการเผย แพร่ในโลกตะวันตกในทศวรรษที?1960 เป็นที?นิยมใน กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ กลุ่มพิทักษ์สตรี ขบวนการนักศึกษา เป็นต ้น ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ประชาชนสามารถเข ้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครอง อาจแบ่งได ้เป็น 3 ระดับ คือ 1. "การมีส่วนร่วมในระดับเบืLองต ้น" เช่น ร่วมแสดงความคิดเห็นในทางการเมือง, ร่วมพูดคุยอภิปรายเรื?องราวทางการเมืองและสถานการณ์ ปัจจุบัน, ร่วมลงชื?อเพื?อเสนอเรื?องราวหรือประชาพิจารณ์เกี?ยวกับเรื?องใดเรื?องหนึ?งในทางการเมือง, รวม กลุ่มเล็ก ๆ เพื?อแสดงความคิดเห็นในทางการเมือง, เป็นสมาชิกพรรคการเมือง 2. "การมีส่วนร่วมในระดับกลาง" เช่น ร่วมเดินขบวนเพื?อเรียกร ้องความเป็นธรรม, ร่วมปราศรัยในการชุมนุมเรียกร ้องเรื?องราว, ร่วมลงชื?อ เพื?อเสนอให ้ฝ่ ายที?มีอํานาจตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ?ง, ร่วมอดข ้าวประท ้วงหรือร่วมกระทําการอย่างใด อย่างหนึ?งเพื?อเรียกร ้อง 3. "การมีส่วนร่วมในระดับสูง" เช่น ร่วมลงสมัครรับเลือกตัLงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา, ร่วมก่อตัLง พรรคการเมือง, ร่วมก่อตัLงรัฐบาล สําหรับการเข ้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจทางการเมือง ตามคําอธิบายของรุสโซ ในหนังสือ สัญญาประชาคมนัLน สรุปได ้ว่าต ้องมีความรู้ มีทักษะ และมีความรู้สึก "ความรู้" - จะต ้องให ้ความรู้แก่ประชาชน ประชาชนจะต ้องสามารถเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร ประชาชนต ้อง เป็นตัวของตัวเอง ไม่ถูกใครชักจูงได ้ง่าย "ทักษะ" – การเข ้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจเป็นทักษะที?ต ้องฝึกฝน ประชาชนต ้องทราบ ความต ้องการของตนเอง เพื?อจะได ้เลือกตัดสินใจได ้ ทักษะการมีส่วนร่วมต ้องฝึกฝนตัLงแต่ในเด็กจนถึง ผู้ใหญ่ ฝึกฝนในครอบครัว ในโรงเรียน และในสังคม "ความรู้สึก" – ประชาชนต ้องมีการพัฒนาความรู้สึกเป็นเจ ้าของชุมชนทางการเมือง ต ้องมีความรู้สึก อิสระในการตัดสินใจ รู้สึกเป็นนายของตัวเอง การพัฒนาทัLงสามด ้านนีLจะทําให ้ประชาชนรู้สึกเข ้าใจ พอใจ ว่าตนมีอํานาจ มีอิทธิพล มีพลังที?จะก่อให ้ เกิดการเปลี?ยนแปลงทางการเมืองได ้ (วัชรินทร์ ชาญศิลป์ , ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของไทย, วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) น.ส.ธมนวรรณ จิตสงค์ 5601034613 21 hours ago · Edited · Unlike · 1 Ake Nirvana ปัจจุบัน องค์กรเอกชนทํางานควบคู่กัน ทัLงงานในระดับชุมชนและงานในระดับ นโยบาย มีการศึกษาวิเคราะห์ รวบรวมข ้อมูล ปัญหาที?มีผลกระทบมาจากนโยบาย รวมทัLงจัดทําข ้อ เสนอทางออกในการแก ้ไขปัญหาร่วมกับองค์กรชาวบ ้าน เพื?อนําไปเผยแพร่ให ้คนในสังคมรับรู้ และนํา เสนอต่อผู้ที?มีหน้าที?รับผิดชอบในการแก ้ไขปัญหาในระดับนโยบาย.(ชัชวาล ทองดีเลิศ, "บันทึกลับ NGO" บริษัท กลางเวียงการพิมพ์ จํากัด, เชียงใหม่ ๒๕๔๓) ( www.thaingo.org/story/info_009.html สืบค ้นเมื?อ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๖) ในความเห็นส่วนตัวแล ้ว เห็นว่า สิ?งสําคัญประการหนึ?งที?องค์กรเอกชนและประชาชนสามารถร่วมกัน อนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้ ก็คือ การแลกเปลี?ยนข ้อมูล ข ้อเท็จจริง ซึ?งกันและกัน ตลอดจนแสดงความคิด เห็นร่วมกัน เพื?อศึกษาวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย ต่างๆ เกี?ยวกับการกระทําโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ที?อาจมี ผลกระทบต่อสิ?งแวดล ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ?งในโครงการของภาครัฐที?จะมาสร ้างในพืLนที?ชุมชน โดย องค์กรเอกชนควรให ้ความรู้และข ้อเท็จจริงที?ถูกต ้อง เพียงพอ ชัดเจน แก่ประชาชนในพืLนที?ที?จะได ้รับ ผลกระทบ และประชาชนก็ควรจะมีความชัดเจนในความต ้องการว่า ต ้องการให ้มีกิจกรรม หรือโครงการ ใดๆ ในพืLนที?ของตนหรือไม่ อย่างไร เพื?อจะได ้มีผลการศึกษาวิเคราะห์ข ้อมูลผลกระทบสิ?งแวดล ้อมใน การเจรจาต่อรองกับภาครัฐว่า สมควรที?จะก่อสร ้างโครงการ หรือไม่ เพียงใด หรือโครงการใดที?ก่อสร ้าง ไปแล ้วควรหยุด เลิก หรือไม่ อันเป็นการตรวจสอบการใช ้อํานาจรัฐวิธีหนึ?งโดยประชาชนและองค์กรที? ไม่ใช่หน่วยงานราชการ อีกประการหนึ?ง คือ ร่วมกันศึกษา พัฒนา และใช ้ทรัพยากรธรรมชาติที?มีอยู่ในท ้องถิ?นให ้เกิดประโยชน์
  • 5. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 5 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar สูงสุด ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรที?มีอยู่เฉพาะถิ?น ตราบเท่าที?มันควรจะอยู่ได ้ กล่าวคือ คอยปกป้อง รักษา และให ้มันเสื?อมสลายไปตามกาลเวลา ตามธรรมชาติ มิให ้ต ้องเสื?อมสลายหรือถูกทําลายด ้วย นํLามือมนุษย์ โดยในกรณีนีL องค์เอกชนต ้องให ้ความรู้ที?ถูกต ้องแก่ประชาชน ต ้องบอกกล่าวแก่ประชาชน ในพืLนที?ว่า สิ?งแวดล ้อม ทรัพยากร มีคุณค่าประโยชน์แก่ชุมชนมากเพียงใด เพื?อให ้ประชาชนได ้ตระหนัก ถึงคุณค่าเหล่านัLน ทัLงนีL ควรเน้นให ้ประชาชนรักบ ้านเกิด รักแผ่นดินเกิด ซึ?งประเด็นนีLสําคัญที?สุด หาก ประชาชนมีจิตสํานึกรักบ ้านเกิดแล ้ว ความตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ ความหวงแหนทรัพยากรท ้องถิ?นก็จะตามมาในลําดับต่อไป สาเหตุหนึ?งที?ประชาชนบางส่วนไม่เห็นความสําคัญ ไม่ตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม คือ การเข ้า ครอบงําของระบบทุนนิยม ซึ?งเป็นระบบที?ให ้คุณค่าของคนแค่เพียงภายนอก ฉาบฉวยด ้วยวัตถุนิยม เน้น ความสัมพันธ์เชิงผลประโยชน์ จนทําให ้ประชาชนบางส่วนมองข ้ามสิ?งแวดล ้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ ที?มีคุณค่ามหาศาลแก่มวลมนุษยชาติไป และให ้ความสําคัญกับสิ?งจอมปลอมดังกล่าวมากเกินไป อัน เป็นการเปิดช่องทางให ้กลุ่มนายทุน หรือนักการเมืองกระทําการแสวงหาผลประโยชน์จากสิ?งแวดล ้อม หรือทรัพยากรธรรมชาติ ---กิติพงศ์ สุทธินนท์ 5601034761----- September 15 at 9:35pm · Unlike · 1 Vayuwan Chaiyadecha เมื?อประมาณเดือนพฤษภาคมที?ผ่านมา เครือข่ายลุ่มนํLาภาคเหนือ ภาค อีสานและ ภาคประชาชนส่วนต่างๆ ได ้จัดเวทีภายใต ้หัวข ้อ"การจัดการนํLา ผู้นําต ้องฟังเสียงจากราก หญ ้า"ขึLน เพื?อนําเสนอข ้อมูลข ้อเท็จจริงจากชาวบ ้านในแต่ละพืLนที?ซึ?งถูกละเลย โดยเฉพาะประเด็นด ้าน สิ?งแวดล ้อม สังคม และสิทธิมนุษยชน โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ(กป.พอช.เหนือ)กล่าวถึง แผนการจัดการนํLาโดยภาครัฐ เงินกู้ 3.5 แสนล ้านและได ้ตัLงคําถามกลับไปยังรัฐบาลในประเด็น วิสัย ทัศน์การแก ้ไขปัญหาการจัดการนํLา, ทางเลือกและประสิทธิภาพการแก ้ไขปัญหา และสิทธิของ ประชาชนในทรัพยากรนํLา ภายใต ้แนวทางการจัดการนํLาที?เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ?งจะเห็นได ้ว่า การจัดเวที ในลักษณะดังกล่าวขึLนมาเพื?อต ้องการเปิดโอกาสให ้ประชาชนเข ้าไปมีส่วนร่วมในการคิด ร่วมกําหนด ทิศทางการจัดการนํLาในพืLนที?ของตนเอง และกระตุ้นในประชาชนตระหนักถึงปัญหาด ้านสิ?งแวดล ้อมมาก ขึLน ซึ?งเป็นตัวอย่างกิจกรรมหนึ?งที?มีการประสานความร่วมมือกันระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชน (ngo) และประชาชนในพืLนที?เอง ในการร่วมกันการอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อม :ที?มา http://www.prachatalk.com ประชาทอล์ค | เว็บของคุณ www.prachatalk.com เว็บไซต์ เว็บบอร์ด Blog เพื?อสังคม ผู้รักในเสรีภาพ และประชาธิปไตย September 15 at 9:44pm · Unlike · 1 · Remove Preview Vayuwan Chaiyadecha วยุวรรณ ไชยะเดชะ 5601034753 September 15 at 9:45pm · Unlike · 1 Ormsin Salinwan Kruathes เนื?องจากการแก ้ปัญญาด ้านสิ?งแวดล ้อมไม่สามารถทําได ้โดยรัฐ ฝ่ ายเดียวแต่ต ้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการแก ้ปัญหา(public paticipation) จึง ทําให ้ เกิดสิทธิการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื?องเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อม หรือ the rights to participate in environmental decision-making อันเป็นสิทธิขัLนพืLนฐานในการอนุรักษ์สิ?ง แวดล ้อมซึ?งการประสบความสําเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชนนัLนขึLนอยู่กับว่าประชาชนได ้รับข ้อมูล ข่าวสารที?ถูกต ้องแม่นยําและครอบคลุมมากน้อยเพียงใด(access to infomation) ซึ?งการคุ้มครอง สิทธิดังกล่าวจึงนํากฎหมายเข ้ามาปกป้องไว ้เป็นพิเศษในการรับรู้และการเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร และ เสรีภาพของข ้อมูลข่าวสาร การรับรองสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนานาชาติ ปรากฏใน Rio Declaration on Environmenta and Development 1992 Principle 10 “ Environmental issue are best handled with participation of all concerned citizens, at the relevant level” วิธีการที?จะจัดการปัญหาเกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อมได ้ดีที?สุดก็โดย การร่วมกันของทุกคนที?เกี?ยวข ้อง ตามแต่ กําลังของตัวเอง การจัดการในระดับประเทศ ประชาชนมีสิทธิที?จะได ้เข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร(access to information) เกี?ยวกับสิ?งแวดล ้อมที?จัดทําขึLนโดยเจ ้าหน้าที?ของรัฐ ซึ?งรวมถึงข ้อมูลเกี?ยวกับ วัตถุดิบอันตราย และ กิจกรรมต่างๆ การจัดการในระดับุท ้องถิ?น การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจ (decisio- making process) รัฐจะต ้องอํานวยความสะดวกและสนับสนุน ให ้ประชาชนได ้ตระหนักและเห็นความสําคัญ ของการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ โดยรัฐต ้องการเผยแพร่ข ้อมูลให ้ทั?วถีง สร ้างประสิทธิภาพใน การดําเนินการพิจารณาคดีทางตุลาการ และการบริหารจัดการทางปกครองรวมถึงการจ่ายค่าชดเชยและ การเยี?ยวยา ในอนุสัญญาริโอ ได ้สร ้างความเชื?อมโยงระหว่างสิทธิของประชาชน (Public rights) เอาไว ้ 3 หลัก ได ้แก่ 1. การเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสาร Access to information 2. การมีส่วนร่วมของประชาชน Public Participation 3. หลัการเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรม Access to justice (Rio Declaration on Environment and Development, 1992) ซึ?งต่อมาหลักทัLง 3 หลักนีLได ้ถูกรับรองอีกครัLงใน the UNECE Convention on Access to infomation, Publicpaticipation in Decision-making and Access to Jistice in Environmental Matters. หรือ Aarhus Convention 1998 (Aarhus Convention and its Protocol on PRTRs – Your Right to a Healthy Community, UNECE, 1998) September 15 at 10:03pm · Unlike · 1 Ormsin Salinwan Kruathes จากเนืLอหาของหลักจากข ้อที? 10 แห่งปฏิญญาริโอเป็นเรื?อง สําคัญที?จะทําให ้ประชากรโลกสามารถพิทักษ์สิ?งแวดล ้อมของโลกได ้ ตามเนืLอหาที?ระบุการที? ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ข ้อมูลข่าวสารเรื?องสิ?งแวดล ้อมและมลพิษ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใน ระดับต่างๆ และสามารถเรียกร ้องทางกฎหมายให ้ได ้รับความยุติธรรมในเรื?องสิ?งแวดล ้อมได ้ องค์กรภาค ประชาสังคมกลุ่มหนึ?งตึงได ้ริเริ?มสิ?งที?เรียกว่า The Access Imitative เพื?อติดตามตรวจสอบผลการ ดําเนินงานองหลักการข ้อหนึ?งของปฏิญญาริโอ แกนหลักขององค์กรกลุ่มนีL (อันประกอบด ้วย World Resources Institute ในสหรัฐอเมริกา, EMLAในฮังการี, Participa ในชิลี, ACODE ในยูกานดา และสถาบันสิ?งแวดล ้อมไทย ได ้ร่วมกันพัฒนาตัวชีLวัดขึLนมาชุดหนึ?งเพื?อวัดผลการดําเนินงานในระดับ ประเทศในเรื?อง 3 เรื?องที?เป็นหัวใจของหลักการข ้อที? 10 ของปฏิญญาริโอ ได ้แก่ 1. การรับรู้ข ้อมูลข่าวสารด ้านสิ?งแวดล ้อม 2. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ ตัLงแต่ระดับนโยบาย แผนโครงการ รวมไปถึงการมีส่วน ร่วมในการประเมิณผลกระทบสิ?งแวดล ้อม 3. การมีกฎหมายรองรับสิทธิของประชากรในการมีส่วนร่วมและกฎหมายเยียวยาความเสียหายด ้านสิ?ง แวดล ้อม ซี?งหลังจากได ้พัฒนาตัวชีLวัดชุดนีLขึLนมาแล ้ว ก็ได ้มีการทดลองใช ้ตัวชีLวัดชุดนีLในประเทศต่างๆรวมถึง
  • 6. 17/09/13 7:53 AM(1) You and Auii Thestar Page 6 of 15https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar ประเทศไทย ผลจากการศึกษาพบว่าประเทศส่วนใหญ่มีความก ้าวหน้าในด ้านต่างๆ 3 ด ้านนีLไม่เท่ากัน โดยปรากฏว่าประเทศเหล่านีLมีความก ้าวหน้าในเรื?องการให ้ข ้อมูลข่าวสารสูงกว่าในอีก 2 เรื?อง คือ การมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการได ้รับความยุติธรรมด ้านสิ?งแวดล ้อม ซึ?งมีความก ้าวหน้าในอันดับรองลง มาตามลําดับ นอกจากนีLยังพบว่ายังมีช่องว่างอยู่มากระหว่างสิ?งที?ตราไว ้เป็นกฎหมายและการปฏิบัติจริง ในประเทศไทย สถาบันสิ?งแวดล ้อมไทย สถาบันพระปกเกล ้า สํานักงานคณะกรรมการประสานงาน องค์กรพัฒนาเอกชน และนักวิจัยอิสระ ได ้ร่วมกันทําการศึกษาและทดสอบตัวชีLวัดดังกล่าว โดยใช ้กรณี ศึกษา เช่น การให ้ข ้อมูลข่าวสารเรื?องรถบรรทุกสารเคมีควํ?าบนทางด่วนในกรุงเทพฯ การให ้ข ้อมูลข่าวสารใน เรื?องคุณภาพนํLาดื?มและคุณภาพอากาศ การจัดทําและเผยแพร่รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ?งแวดล ้อม ของประเทศ การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที?หิน กรูดและโครงการบําบัดนํLาเสียรวมจังหวัดสมุทรปราการ(คลองด่าน) เป็นต ้น (สมฤดี นิโครวัฒนยิ?งยง,โจฮันเนสเบอร์กซัมมิท การประชุมโลกเพื?อการพัฒนาอย่างยั?งยืน เราได ้อะไร ?,หนังสือพิมพ์มติชน, 14 กันยายน 2545) September 15 at 10:04pm · Unlike · 1 Ormsin Salinwan Kruathes นางสาวสลิลวรรณ เครือเทศน์ 5601034779 September 15 at 10:04pm · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak องค์เอกชนและประชาชนสามารถร่วมกันอนุรักษ์สิ?งแวดล ้อมได ้อย่างไร? ถ ้าพิจารณาจะพบว่า คําว่า “การมีส่วนร่วมของประชาชน” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Public Participation” ดังนัLนคําว่า “ประชาชน” ในความหมายที?แท ้จริงของประเทศที?พัฒนาแล ้ว เช่น สหรัฐอเมริกา ญี?ปุ่ น แคนาดา และออสเตรเลีย จะหมายถึงหน่วยงานของภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรเอกชน กลุ่มคน และประชาชนทั?วไป ที?อาจได ้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์จากการมีโครงการ หรือกิจการ ซึ?งได ้มีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม ในประเทศที?พัฒนาแล ้วต่างก็มีวิธีการ “การมีส่วนร่วมของประชาชน” แตกต่างกันแต่โดยหลักการแล ้วจะ เหมือนกันคือให ้ประชาชนมีสิทธิที?จะเข ้าร่วมแสดงความคิดเห็นคัดค ้านหรือเห็นด ้วยสําหรับโครงการ หรือกิจการ สําหรับประเทศไทยในช่วงที?ผ่านมาหลังจากที?ประชาชนได ้เริ?มเรียนรู้ถึงขัLนตอนการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ?งแวดล ้อมปรากฎว่าได ้มีการจัด Public Hearing โดยใช ้คําว่า “ไต่สวนสาธารณะ” หรือ “ประชา พิจารณ์” และอื?น ๆ ซึ?งการจัดแต่ละครัLงนัLนไม่ได ้แยกขัLนตอนของการมีส่วนร่วม จะพยายามโยงเรื?อง ด ้านเทคนิคต่อเนื?องกับด ้านเศรษฐกิจและสังคมซึ?งทุกครัLงที?มีการจัดประชาพิจารณ์จะไม่สามารถสรุปถึง ผลดีหรือผลเสียอย่างแท ้จริงของโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ได ้ เพราะในการจัดประชาพิจารณ์หลายครัLง จะมีการเตรียมผู้ฟัง โดยในบางครัLงเจ ้าของโครงการหรือผู้ประกอบการจะได ้เตรียมผู้เข ้าร่วมฟังไว ้ เป็นการล่วงหน้า ซึ?งส่วนใหญ่เป็นผู้สนับสนุนโครงการ แต่เมื?อผู้คัดค ้านโครงการหรือกิจการเป็นผู้จัดการ ประชาพิจารณ์ก็จะพยายามเชิญองค์กรหรือประชาชนที?มีแนวโน้มคัดค ้านโครงการหรือกิจการเข ้าร่วม เป็นผลให ้สรุปสุดท ้ายคัดค ้านโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ทําให ้บางครัLงการจัดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนก็เป็นเสมือนเครื?องมือของผู้ที?ได ้รับผลประโยชน์และเสียประโยชน์แต่ละกลุ่ม และที?สําคัญคือ การให ้ข่าวสารหลังจากมีการประชาพิจารณ์แต่ละครัLง จะเป็นผู้จัดการประชาพิจารณ์เป็นผู้ให ้ข่าว ทําให ้ ประชาชนโดยทั?วไปที?สนใจในโครงการหรือกิจการดังกล่าวเกิดความสับสนเพราะการจัดประชาพิจารณ์ บางครัLงเป็นการสนับสนุน บางครัLงเป็นการคัดค ้านโครงการหรือกิจการนัLน ๆ September 15 at 11:53pm · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงถือว่าเป็นเรื?องสําคัญและมีความจําเป็นมาก ต่อการพัฒนาหรือการคุ้มครองและรักษาคุณภาพสิ?งแวดล ้อมของประเทศต่อไปในอนาคตเพราะการ ที?จะให ้ประชาชนเข ้ามีส่วนร่วม จําเป็นจะต ้องมีการให ้ข่าวสารที?แท ้จริงและถูกต ้องโดยมีการกําหนดขัLน ตอนการมีส่วนร่วมอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ที?สําคัญที?สุดที?ผู้ตัดสินใจจะต ้องเข ้าใจและยอมรับสําหรับสังคมไทย คือ เมื?อมีผู้เสียผลประโยชน์ คน เหล่านัLนจะออกมาคัดค ้านและต่อต ้านโครงการหรือกิจการทุกรูปแบบและทุกวิถีทาง โดยจะพยายาม ชีLนําให ้ประชาชนคนอื?นหรือกลุ่มอื?นได ้เห็นถึงผลกระทบหรือความเดือดร ้อนที?เกิดขึLนกับตนเองหรือกลุ่ม ของตนเองซึ?งในบางครัLงอาจจะมีผู้เสียประโยชน์จากโครงการไม่มากเมื?อเทียบกับจํานวนประชาชนที?ได ้ รับประโยชน์และคนกลุ่มนีLสามารถสร ้างการคัดค ้านให ้เป็นข่าวใหญ่โตตามสื?อประเภทต่าง ๆ ในขณะ เดียวกันผู้ที?ได ้รับประโยชน์จากโครงการจะนิ?งเฉยเพราะทราบดีอยู่แล ้วว่าอย่างไรเสียตนเองก็ได ้รับผล ประโยชน์ จึงไม่ยอมออกมาชีLแจงหรือสนับสนุนโครงการหรือกิจการนัLน ๆ ทําให ้ประชาชนกลุ่มอื?นหรือ ในพืLนที?อื?นจะได ้ยินและฟังข่าวสารของผู้ได ้รับผลกระทบหรือผู้เสียประโยชน์เท่านัLน ซึ?งจะเป็นการเบี?ยง เบนความเข ้าใจและการยอมรับในกิจการหรือโครงการนัLน ๆ (แหล่งอ ้างอิง : ดร.ทวีวงศ์ ศรีบุรี. EIA การ วิเคราะห์ผลกระทบสิ?งแวดล ้อม. พิมพ์ครัLงที? 2. กรุงเทพ : มายด์พับลิซซิ?งจํากัด, 2541) September 15 at 11:54pm · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak แม ้ภาครัฐจะให ้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนมาเป็นเวลา นานแล ้วซึ?งจะเห็นได ้จากในรัฐธรรมนูญ ปี 2540 หรือตามพระราชบัญญัติต่างๆเช่น พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ.2518 , พระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482 แต่เราก็ยังคงเห็นการไม่ ยอมรับ การคัดค ้านการพัฒนาโครงการของรัฐจากประชาชนผู้ได ้รับผลกระทบอยู่เสมอมาโดยเฉพาะ อย่างยิ?งในโครงการขนาดใหญ่ ปัญหาในการดําเนินการมีส่วนร่วมของประชาชนนัLน มีทัLงปัญหาจากภาค รัฐ และภาคประชาชน ไม่ว่าจะเป็นความไม่เข ้าใจกันในเรื?องรูปแบบและเทคนิคการมีส่วนร่วม ความไม่ ไว ้วางใจของประชาชนในการดําเนินโครงการของรัฐ กลุ่มอิทธิพลที?มีบทบาทสูงในการควบคุม ประชาชนในพืLนที? หรือแม ้กระทั?งการที?หน่วยงานเจ ้าของโครงการไม่ให ้ความสําคัญที?แท ้จริงในการรับ ฟังความคิดเห็นของประชาชน การรับฟังความคิดเห็นไม่ครอบคลุมผู้ได ้รับผลกระทบที?แท ้จริง ตราบใด ที?ทัLงภาครัฐและภาคประชาชน ยังมองไม่เห็นถึงประโยชน์และคุณค่าที?แท ้จริงของการมีส่วนร่วมของ ประชาชนยังไม่เข ้าใจกระบวนการของการมีส่วนร่วมที?ถูกต ้องและยังคงเห็นประโยชน์ตนเองมากกว่า ประโยชน์ส่วนรวมการดําเนินการมีส่วนร่วมของประชาชนของประเทศไทยในการพัฒนาโครงการขนาด ใหญ่ของรัฐก็จะยังคงอยู่ในวังวนของความขัดแย ้งต่อต ้าน ขัดขวางการพัฒนา ทัLงๆ ที?บางโครงการหาก มีการดําเนินการแล ้ว จะเกิดประโยชน์ต่อสังคมและประชาชนอย่างกว ้างขวาง ดังนัLนเพื?อให ้บ ้านเมืองของเราเจริญก ้าวหน้าไปได ้ในทิศทางที?ทุกภาคส่วนสามารถประสานประโยชน์ และมีความสุข ประชาชนจะต ้องรักษาสิทธิและโอกาสของตนเองในการเข ้าไปรับรู้ข ้อมูลรายละเอียด ของโครงการ,ให ้ความเห็น, บอกความต ้องการปัญหาและข ้อขัดข ้องของตนเองและคอยติดตามตรวจ สอบเกี?ยวกับโครงการที?อาจมีผลกระทบต่อตนเองและสังคมทัLงทางตรงและทางอ ้อม ซึ?งถ ้าโครงการ พัฒนาทุกโครงการผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนที?จริงจัง และการให ้ข ้อมูลรอบด ้านทัLง ผลดีผลเสียอย่างจริงใจจากผู้ประกอบการจะทําให ้โครงการดีๆทุกโครงการบรรลุความสําเร็จอย่างราบ รื?นสร ้างความเจริญก ้าวหน้าต่อประเทศชาติและ ประชาชนอย่างยั?งยืน (พิมพ์ใจ ยุทธบรรดล http://www.teamgroup.co.th/.../downloads/category/2.html...) September 15 at 11:54pm · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak น.ส. อภิชญา ทิมพิทักษ์ 5601034621 September 15 at 11:55pm · Unlike · 1 Chutinan Rasmee ปัญหาในการดําเนินโครงการของรัฐส่วนมาก มักเป็นการดําเนินการแบบที? เรียกว่า D-A-D Syndrome(Decide-Announce-Defend)หรือเรียกว่ากลุ่มอาการ "ตัดสิน ประกาศและปกป้อง" กล่าวคือการที?รัฐตัดสินใจทําอะไรแล ้วค่อยแจ ้งให ้ประชาชนทราบแล ้วจึงปกป้อง สิ?งที?ตนประกาศออกไปว่ามันดีอย่างไร ซึ?งการกระทํานีLได ้ก่อให ้เกิดปัญหาขัดแย ้งบ่อยครัLง แม ้กระทั?งกับประเทศที?พัฒนาแล ้วเช่นสหรัฐอเมริกา ก็ตาม