SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
Descargar para leer sin conexión
1
 
 
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 4
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 10
วิสัยทัศน 11
คานิยมองคกร 11
พันธกิจ 12
วัตถุประสงค 12
เปาหมายหลัก 12
ยุทธศาสตร 13
ภารกิจ/บริการ 14
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18
การปลูกยางพารา 18
การบํารุงรักษา 31
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44
การแปรรูปผลผลิต 46
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 49
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 67
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4)
แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 78
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85
สวนที่ 3 กฎหมายสารบัญญัติ
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 92
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายอาญา 144
สวนที่ 4 กฎหมายวิธีสบัญญัติ
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 175
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 223
แนวขอสอบ 220
สวนที่ 5 กฎหมายมหาชน
พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 272
แนวขอสอบ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 298
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 306
แนวขอสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 315
พรบ.จัดตั้งศาลปกรองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม 318
3
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ
ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง
หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา
ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง
วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ
การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ
นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน
และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ
คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน
ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย
ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ
นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ
ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี
หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505
หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให
ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก
ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน
พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ
บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก
คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง
ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
4
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
5
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร
เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน
วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4
ยุทธศาสตร ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยมุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ เรงรัดใหมีการ
ปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ทดแทนสวนยางเกาที่ใหผลผลิต
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
6
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก
ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่
ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได
เปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย
กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง
แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ
ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น
เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ
หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ
ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด
เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170
กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต
แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
7
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ
ยางแผนดิบคุณภาพ 1
- แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต
- มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน
- บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 800-1,200 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
ยางแผนดิบคุณภาพ 2
- แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน
ยางไดบางเล็กนอย
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต
- ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด
- บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคล้ําหรืออาจมีรอยดางดําได
บางเล็กนอย
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 1,000-1,200 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
ยางแผนดิบคุณภาพ 3
- แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบาง
เล็กนอย
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต
- มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด
- แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงมีสีคล้ําคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
8
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481
(2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483
(3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ
รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม
พระราชบัญญัตินี้
“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน
ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง
“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง
แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
9
หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ
สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง
“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย
คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง
ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง
ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด
“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา
ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ
“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง
“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ
ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ
ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต
ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ
“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนด
“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ
จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก
ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ
การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ
รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน
ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน
“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
10
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
ในพระปรมาภิไธย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
สังวาลย
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค
ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503
เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน
โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือ
เจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น
พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะ
รัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการ
ทําสวนยาง พ.ศ. 2503”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.)
“ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ
กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละ
ไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน
“สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร
“สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึง
สองรอยหาสิบไร
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไร
ขึ้นไป
“เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผลจาก
ตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
11
“ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยาง
ในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐ
จากยาง
“การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มี
ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกา
ทั้งหมดหรือบางสวน
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึง
วันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
“เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปน
เจาพนักงานสงเคราะห
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง
“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการ
ทําสวนยาง
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่งสง
สมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจาย
ในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนิน
กิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่
จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืน
ตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับ
ใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มี
ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญในกรุงเทพมหานคร
เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง”
มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตน
ชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
ตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
12
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
1. พรบ.กองทุสงเคราะหการทําสวนยาง ฉบับที่ใชในปจจุบัน เปนฉบับพ.ศ.ใด
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2503 ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2513
ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530 ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2549
ตอบ ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530
2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ สวนยาง
ก. ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร
ข. ที่ดินแตละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน
ค. โดยเฉลี่ยปลูกยางไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละไรมีตน
ยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน
3. สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ข. สวนขนาดเล็ก
“สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร
4. สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอยหาสิบไร เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ค. สวนขนาดกลาง
“สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอย
หาสิบไร
13
5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ง. สวนขนาดใหญ
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป
6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป
ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป
ถัดไป
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30
กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา
ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
14
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ
กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ
วาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ
การยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน
กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม
ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น
อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับการยางสองคน
15
12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละกี่ป
ก. 1 ป ข. 2 ป
ค. 3 ป ง. 4 ป
ตอบ ข. 2 ป
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป
13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ก. รอยละหา
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน
ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน
รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ง. รอยละสิบ
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน
สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให
รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน
16
15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ข. รอยละยี่สิบ
17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ก. รอยละสิบ
เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวน
สงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้
ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ
ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละยี่สิบ
ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ
18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดง
ฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี
ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน
ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน
ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน
17
ภายในกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการ
จัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงิน
แผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี
19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร
ก.จําคุกไมเกินหกเดือน
ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ
ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน
สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทา
ของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
20.ผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือบุคคลที่
ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการเพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัดตองระวาง
โทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหาวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินยี่สิบวัน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสามสิบวัน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ใหกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห และบุคคลที่ไดรับมอบหมายเปนหนังสือจาก
คณะกรรมการ เขาไปในสวนยางที่เจาของสวนยางขอรับการสงเคราะห และที่ดินตอเนื่องกับ
สวนยางนั้น เพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัด
หากผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือ
บุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการปฏิบัติการ หรือไมปฏิบัติตามหนังสือเรียก
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
18
21. ผูรักษาการตามพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร
ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ
แตงตั้งเจาพนักงานสงเคราะหและออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
**************************************************************
19
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ
เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป
ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม
ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ
ตอบ ง. วันที่สิบ
ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ
ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน
ถัดไป
7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน
กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต
หรือการพักใชใบอนุญาต
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ค. สามสิบวัน
ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี
คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ
ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ
ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม
อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต
กรณี
8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
20
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ
พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ
ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว
9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต
ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ง. หกสิบวัน
ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น
อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ
ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง
แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย
10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย
สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย
11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่
ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก
กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา
ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
21
12.ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตน
ยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู
อนุญาต หากไมปฎิบัติตาม ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตา
ของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู
อนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
13. ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ
ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับไม
เกินเทาใด
ก. หาพันบาท ข. หนึ่งหมื่นบาท
ค. สองหมื่นบาท ง. หาหมื่นบาท
ตอบ ข. หนึ่งหมื่นบาท
ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ
ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตามตองระวางโทษปรับไม
เกินหนึ่งหมื่นบาท
14.ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํา
ยางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
22
ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปน
ผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
15. ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษปรับไม
เกินเทาใด
ก. หนึ่งพันบาท ข. สองพันบาท
ค. สามพันบาท ง. หาพันบาท
ตอบ ง. หาพันบาท
ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษ
ปรับไมเกินหาพันบาท
16. ใบอนุญาตนําเขาซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตน
ยางที่อาจใชเพาะพันธุได มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด
ก. 100 บาท ข. 500 บาท
ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท
ตอบ ค. 1000 บาท
17. ใบอนุญาตคายาง มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด
ก. 100 บาท ข. 500 บาท
ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท
ตอบ ค. 1000 บาท
18. ใบอนุญาตเปนผูนํายางเขามาในราชอาณาจักร มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด
ก. 100 บาท ข. 500 บาท
ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท
ตอบ ง. 5000 บาท
19. ใบผานดานศุลกากร (เก็บตามน้ําหนักของยางที่นําเขาหรือสงออก) มีอัตราคาธรรมเนียม
กิโลกรัมละเทาใด
23
สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ทรัพยสินและสวนของทรัพย
ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน
มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง”
มาตรา 138 “ทรัพยสินหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ
มีราคาและอาจถือเอาได”
จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วัตถุที่มี
รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวัตถุที่มีรูปรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตาม
มาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมี
ราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบุไวก็ตาม
“วัตถุมีรูปราง” หมายถึง สิ่งที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถึง
ขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนัก เชน เชื้อโรคแต
หากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว
ประเภทของทรัพย
1.อสังหาริมทรัพย
มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกับ
ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความ
รวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน
เดียวกับที่ดินนั้นดวย”
สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี
1.1ที่ดิน คือพื้นดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรือดินที่ขุด
ขึ้นมาแลว
1.2ทรัพยอันติดกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก
ก.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยธรรมชาติ เชน ไมยืนตนมีอายุ
ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไม
ลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย
24
ข.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยมนุษย เชน การสรางอาคาร
บานเรือน อนุสาวรีย หอนาฬิกา เปนตน
หลักที่ควรพิจารณา คือ การดูสภาพและเจตนาเปนสําคัญ โดยไมสนใจ
ระยะเวลาที่นํามาติด เชน รานคางานกาชาด แมจัดงานเพียง 10 วัน แตตัวอาคารรานคา
คงทนถาวรใชขายสินคาทุกป ก็ถือวาเปนอสังหาริมทรัพยแลว
1.3ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันหนึ่งอันเดียวกับที่ดิน คือ ทรัพยที่เปนสวนหนึ่ง
หรือประกอบเปนพื้นดิน เชน แมน้ํา หิน ทราย และแรธาตุซึ่งมีอยูตามธรรมชาติหรือมนุษย
นํามารวมไวกับที่ดินก็ตาม แตไมรวมถึงสังหาริมทรัพยที่ซอนฝงหรือจมอยูในดิน เชน วัตถุ
โบราณ ทอประปา เปนตน
1.4ทรัพยสินอันเกี่ยวกับที่ดินหรือติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน
เดียวกับที่ดิน ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน
สิทธิเก็บกิน การติดพันในอสังหาริมทรัพย และสิทธิจํานองอันเกี่ยวกับที่ดิน เปนตน
2.สังหาริมทรัพย
มาตรา 140 “สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอื่นนอกจาก
อสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้นดวย”
อะไรซึ่งไมใชอสังหาริมทรัพย ตองเปนสังหาริมทรัพยเสมอไป และเปน
สังหาริมทรัพยหรือไม ถาไมเขาหลักเกณฑอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 139 ตอบไดทันทีวา
เปนสังหาริมทรัพย
สามารถแยกออกไดเปน 2 กรณี
2.1ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนไหวได เชน
รถยนต แกว แหวน เงินทอง เปนตน
2.2สิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสิน คือการเนนตัวสิทธิ ซึ่งเปนนามธรรมที่เกี่ยวกับตัว
ทรัพยที่เปนรูปธรรม แตไมไดใชคําวา ทรัพยสิทธิ จึงเปนคนละกรณี สวนในตอนทายใชคําวา
ทรัพยสิน แสดงวาสิทธิตัวนี้ รวมทั้งทรัพยที่มีรูปราง และไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคา และอาจ
ถือเอาไดดวย เชน กรรมสิทธิ์รถยนต เปนตน
สิทธิในสังหาริมทรัพยที่ไมมีรูปราง ตองเปนสิทธิที่กฎหมายใหการรับรองแลว เชน
ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน
25
แนวขอสอบพรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
6.ผูมีอํานาจออกฎ กระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง ในฉบับนี้คือผูใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ประธานศาลฎีกา ง. ประธานศาลยุติธรรม
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 6)
7.ผูใดมิใชคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา "คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง”
ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการ
คณะกรรมการกฤษฎีกา และผูทรงคุณวุฒิอีกไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกาคน เปน
กรรมการ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 7)
8.คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป
ก. คราวละสองป ข. คราวละสามป
ค. คราวละสี่ป ง. คราวละหาป
ตอบ ข. คราวละสามป
ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดํารงตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่ง
พนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 8)
26
9.หนวยงานใดทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม
ก. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ตอบ ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของ
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหา
ขอมูลและกิจการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 10)
10.ในการจัดทํารายงานของคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พรบ.นี้ ตองนําเสนอตอ
คณะรัฐมนตรีอยางนอยปละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง ง. 4 ครั้ง
ตอบ ก. 1 ครั้ง
จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้ง
คราวตามความเหมาะสมแตอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติ
ราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปนธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (พรบ.วิธีปฏิบัติ
มาตรา 11)
11.ผูที่จะทําการพิจารณาทางปกครองไมไดคือขอใด
ก. เปนคูกรณีเอง ข. เปนคูหมั้นของคูกรณี
ค. เปนญาติของคูกรณี ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทําการพิจารณาทางปกครองไมได
(1) เปนคูกรณีเอง
(2) เปนคูหมั่นหรือคูสมรสของคูกรณี
27
(3) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นอง
หรือลูกพี่ลูกนองนับไดเพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียง
สองชั้น
(4) เปนหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตัวแทนของ
คูกรณี
(5) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี
(6) กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
(พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 13)
12.ที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไป ตองมีคะแนนเสียงเทาใดของ
กรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได
ก. ไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ข. ไมนอยกวาหนึ่งในสาม
ค. ไมนอยกวาสองในสาม ง. ไมนอยกวาสามในสี่
ตอบ ค. ไมนอยกวาสองในสาม
ถาที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอย
กวาสองในสามของกรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได มติ
ดังกลาวใหกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับใหเปนที่สุด (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 15)
13.ในกรณีที่มีการยื่นคําขอหลายคําขอนั้นมีขอความทํานองเดียวกัน สามารถที่จะระบุบุคคล
ใดเปนตัวแทนรวมได ในกรณีเชนนี้ตองมีผูลงชื่อรวมเกินกวากี่คน
ก. เกินสามสิบคน ข. เกินหาสิบคน
ค. เกินหารอยคน ง. เกินหนึ่งพันคน
ตอบ ข. เกินหาสิบคน
ในกรณีที่มีการยื่นคําขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกิน
หาสิบคนยื่นคําขอที่มีขอความอยางเดียวกันหรือทํานองเดียวกัน ถาในคําขอมีการระบุให
บุคคลใดเปนตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมีขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวา
ผูที่ถูกระบุชื่อดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณีเหลานั้น (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 25)
28
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (7)

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ สกย นิติกร E-BOOK

  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 4 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 10 วิสัยทัศน 11 คานิยมองคกร 11 พันธกิจ 12 วัตถุประสงค 12 เปาหมายหลัก 12 ยุทธศาสตร 13 ภารกิจ/บริการ 14 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18 การปลูกยางพารา 18 การบํารุงรักษา 31 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44 การแปรรูปผลผลิต 46 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 49 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 67 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 78 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85 สวนที่ 3 กฎหมายสารบัญญัติ สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 92 สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายอาญา 144 สวนที่ 4 กฎหมายวิธีสบัญญัติ สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 175 สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 223 แนวขอสอบ 220 สวนที่ 5 กฎหมายมหาชน พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 272 แนวขอสอบ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 298 พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 306 แนวขอสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 315 พรบ.จัดตั้งศาลปกรองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม 318
  • 3. 3 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
  • 4. 4 คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
  • 5. 5 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4 ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยมุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ เรงรัดใหมีการ ปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ทดแทนสวนยางเกาที่ใหผลผลิต ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
  • 6. 6 การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได เปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
  • 7. 7 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ ยางแผนดิบคุณภาพ 1 - แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน - บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 800-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม. ยางแผนดิบคุณภาพ 2 - แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน ยางไดบางเล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต - ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด - บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคล้ําหรืออาจมีรอยดางดําได บางเล็กนอย - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 1,000-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม. ยางแผนดิบคุณภาพ 3 - แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบาง เล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด - แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีคล้ําคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
  • 8. 8 พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม พระราชบัญญัตินี้ “ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง “ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
  • 9. 9 หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง “เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด “ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ “เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง “โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ “ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนด “ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน “ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
  • 10. 10 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สังวาลย ผูสําเร็จราชการแทนพระองค ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือ เจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะ รัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการ ทําสวนยาง พ.ศ. 2503” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.) “ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละ ไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึง สองรอยหาสิบไร “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไร ขึ้นไป “เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผลจาก ตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
  • 11. 11 “ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยาง ในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐ จากยาง “การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกา ทั้งหมดหรือบางสวน “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึง วันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น “เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปน เจาพนักงานสงเคราะห “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการ ทําสวนยาง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่งสง สมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจาย ในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนิน กิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่ จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืน ตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับ ใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญในกรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตน ชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกร ตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
  • 12. 12 แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 1. พรบ.กองทุสงเคราะหการทําสวนยาง ฉบับที่ใชในปจจุบัน เปนฉบับพ.ศ.ใด ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2503 ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2513 ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530 ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2549 ตอบ ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ สวนยาง ก. ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร ข. ที่ดินแตละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน ค. โดยเฉลี่ยปลูกยางไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละไรมีตน ยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน 3. สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ข. สวนขนาดเล็ก “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร 4. สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอยหาสิบไร เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ค. สวนขนาดกลาง “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอย หาสิบไร
  • 13. 13 5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป ถัดไป “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ
  • 14. 14 ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ วาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ การยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับการยางสองคน
  • 15. 15 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง คราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป 13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน
  • 16. 16 15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ 16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ข. รอยละยี่สิบ 17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ก. รอยละสิบ เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวน สงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้ ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละยี่สิบ ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ 18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดง ฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน
  • 17. 17 ภายในกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการ จัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงิน แผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี 19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร ก.จําคุกไมเกินหกเดือน ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทา ของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 20.ผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือบุคคลที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการเพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัดตองระวาง โทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหาวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินยี่สิบวัน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามสิบวัน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ใหกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห และบุคคลที่ไดรับมอบหมายเปนหนังสือจาก คณะกรรมการ เขาไปในสวนยางที่เจาของสวนยางขอรับการสงเคราะห และที่ดินตอเนื่องกับ สวนยางนั้น เพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัด หากผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือ บุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการปฏิบัติการ หรือไมปฏิบัติตามหนังสือเรียก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 18. 18 21. ผูรักษาการตามพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ แตงตั้งเจาพนักงานสงเคราะหและออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ **************************************************************
  • 19. 19 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน ถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต กรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน
  • 20. 20 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
  • 21. 21 12.ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตน ยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู อนุญาต หากไมปฎิบัติตาม ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตา ของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู อนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 13. ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับไม เกินเทาใด ก. หาพันบาท ข. หนึ่งหมื่นบาท ค. สองหมื่นบาท ง. หาหมื่นบาท ตอบ ข. หนึ่งหมื่นบาท ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตามตองระวางโทษปรับไม เกินหนึ่งหมื่นบาท 14.ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํา ยางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 22. 22 ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปน ผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 15. ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษปรับไม เกินเทาใด ก. หนึ่งพันบาท ข. สองพันบาท ค. สามพันบาท ง. หาพันบาท ตอบ ง. หาพันบาท ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษ ปรับไมเกินหาพันบาท 16. ใบอนุญาตนําเขาซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตน ยางที่อาจใชเพาะพันธุได มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท ตอบ ค. 1000 บาท 17. ใบอนุญาตคายาง มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท ตอบ ค. 1000 บาท 18. ใบอนุญาตเปนผูนํายางเขามาในราชอาณาจักร มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท ตอบ ง. 5000 บาท 19. ใบผานดานศุลกากร (เก็บตามน้ําหนักของยางที่นําเขาหรือสงออก) มีอัตราคาธรรมเนียม กิโลกรัมละเทาใด
  • 23. 23 สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ทรัพยสินและสวนของทรัพย ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง” มาตรา 138 “ทรัพยสินหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ มีราคาและอาจถือเอาได” จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วัตถุที่มี รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวัตถุที่มีรูปรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตาม มาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมี ราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบุไวก็ตาม “วัตถุมีรูปราง” หมายถึง สิ่งที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถึง ขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนัก เชน เชื้อโรคแต หากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว ประเภทของทรัพย 1.อสังหาริมทรัพย มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกับ ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความ รวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน เดียวกับที่ดินนั้นดวย” สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี 1.1ที่ดิน คือพื้นดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรือดินที่ขุด ขึ้นมาแลว 1.2ทรัพยอันติดกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก ก.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยธรรมชาติ เชน ไมยืนตนมีอายุ ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไม ลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย
  • 24. 24 ข.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยมนุษย เชน การสรางอาคาร บานเรือน อนุสาวรีย หอนาฬิกา เปนตน หลักที่ควรพิจารณา คือ การดูสภาพและเจตนาเปนสําคัญ โดยไมสนใจ ระยะเวลาที่นํามาติด เชน รานคางานกาชาด แมจัดงานเพียง 10 วัน แตตัวอาคารรานคา คงทนถาวรใชขายสินคาทุกป ก็ถือวาเปนอสังหาริมทรัพยแลว 1.3ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันหนึ่งอันเดียวกับที่ดิน คือ ทรัพยที่เปนสวนหนึ่ง หรือประกอบเปนพื้นดิน เชน แมน้ํา หิน ทราย และแรธาตุซึ่งมีอยูตามธรรมชาติหรือมนุษย นํามารวมไวกับที่ดินก็ตาม แตไมรวมถึงสังหาริมทรัพยที่ซอนฝงหรือจมอยูในดิน เชน วัตถุ โบราณ ทอประปา เปนตน 1.4ทรัพยสินอันเกี่ยวกับที่ดินหรือติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน เดียวกับที่ดิน ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน การติดพันในอสังหาริมทรัพย และสิทธิจํานองอันเกี่ยวกับที่ดิน เปนตน 2.สังหาริมทรัพย มาตรา 140 “สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอื่นนอกจาก อสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้นดวย” อะไรซึ่งไมใชอสังหาริมทรัพย ตองเปนสังหาริมทรัพยเสมอไป และเปน สังหาริมทรัพยหรือไม ถาไมเขาหลักเกณฑอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 139 ตอบไดทันทีวา เปนสังหาริมทรัพย สามารถแยกออกไดเปน 2 กรณี 2.1ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนไหวได เชน รถยนต แกว แหวน เงินทอง เปนตน 2.2สิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสิน คือการเนนตัวสิทธิ ซึ่งเปนนามธรรมที่เกี่ยวกับตัว ทรัพยที่เปนรูปธรรม แตไมไดใชคําวา ทรัพยสิทธิ จึงเปนคนละกรณี สวนในตอนทายใชคําวา ทรัพยสิน แสดงวาสิทธิตัวนี้ รวมทั้งทรัพยที่มีรูปราง และไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคา และอาจ ถือเอาไดดวย เชน กรรมสิทธิ์รถยนต เปนตน สิทธิในสังหาริมทรัพยที่ไมมีรูปราง ตองเปนสิทธิที่กฎหมายใหการรับรองแลว เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน
  • 25. 25 แนวขอสอบพรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 6.ผูมีอํานาจออกฎ กระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง ในฉบับนี้คือผูใด ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ประธานศาลฎีกา ง. ประธานศาลยุติธรรม ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 6) 7.ผูใดมิใชคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา "คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา และผูทรงคุณวุฒิอีกไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกาคน เปน กรรมการ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 7) 8.คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. คราวละสองป ข. คราวละสามป ค. คราวละสี่ป ง. คราวละหาป ตอบ ข. คราวละสามป ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดํารงตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่ง พนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 8)
  • 26. 26 9.หนวยงานใดทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม ก. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตอบ ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหา ขอมูลและกิจการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 10) 10.ในการจัดทํารายงานของคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พรบ.นี้ ตองนําเสนอตอ คณะรัฐมนตรีอยางนอยปละกี่ครั้ง ก. 1 ครั้ง ข. 2 ครั้ง ค. 3 ครั้ง ง. 4 ครั้ง ตอบ ก. 1 ครั้ง จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้ง คราวตามความเหมาะสมแตอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติ ราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปนธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (พรบ.วิธีปฏิบัติ มาตรา 11) 11.ผูที่จะทําการพิจารณาทางปกครองไมไดคือขอใด ก. เปนคูกรณีเอง ข. เปนคูหมั้นของคูกรณี ค. เปนญาติของคูกรณี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทําการพิจารณาทางปกครองไมได (1) เปนคูกรณีเอง (2) เปนคูหมั่นหรือคูสมรสของคูกรณี
  • 27. 27 (3) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นอง หรือลูกพี่ลูกนองนับไดเพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียง สองชั้น (4) เปนหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตัวแทนของ คูกรณี (5) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี (6) กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 13) 12.ที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไป ตองมีคะแนนเสียงเทาใดของ กรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได ก. ไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ข. ไมนอยกวาหนึ่งในสาม ค. ไมนอยกวาสองในสาม ง. ไมนอยกวาสามในสี่ ตอบ ค. ไมนอยกวาสองในสาม ถาที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอย กวาสองในสามของกรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได มติ ดังกลาวใหกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับใหเปนที่สุด (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 15) 13.ในกรณีที่มีการยื่นคําขอหลายคําขอนั้นมีขอความทํานองเดียวกัน สามารถที่จะระบุบุคคล ใดเปนตัวแทนรวมได ในกรณีเชนนี้ตองมีผูลงชื่อรวมเกินกวากี่คน ก. เกินสามสิบคน ข. เกินหาสิบคน ค. เกินหารอยคน ง. เกินหนึ่งพันคน ตอบ ข. เกินหาสิบคน ในกรณีที่มีการยื่นคําขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกิน หาสิบคนยื่นคําขอที่มีขอความอยางเดียวกันหรือทํานองเดียวกัน ถาในคําขอมีการระบุให บุคคลใดเปนตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมีขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวา ผูที่ถูกระบุชื่อดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณีเหลานั้น (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 25)
  • 28. 28 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740