SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Descargar para leer sin conexión
รายงานโครงการดอนปู่ ตาภูมปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน
ิ
กลุ่ม พลพรรครักษ์ ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ องถิน)
่

รายชื่อสมาชิก
1. เด็กหญิงธนาพร

โหรเวช

ชั้น ม.2

6. เด็กหญิงไพริน

ทิพนัด

2. เด็กหญิงพัชรินทร์

ศรีวเิ ศษ

ชั้น ม.2

7. เด็กชายไชยพัฒน์

วงศ์ คาจันทร์ ชั้น ม.2

3. เด็กหญิงปาริฉัตร

สวัสดิ์ผล ชั้น ม.2

8. เด็กหญิงวิภาดา

มุ่งรายกลาง ชั้น ม.2

4. เด็กหญิงอริสรา

วินิจบุตร ชั้น ม.2

9. เด็กหญิงจันทรารัตน์ สาขามุละ ชั้น ม.3

5. เด็กหญิงสุ ดารัตน์

นงค์ พรมมา ชั้น ม.2

10. เด็กชายกฤษณะ

กิจนุกร

ชั้น ม.2

ชั้น ม.3

ครู ทปรึกษาโครงการหลัก : นายศิริวุฒิ บัวสมาน
ี่
ครู ทปรึกษาโครงการร่ วม : นางธีร์กญญา พลนันท์
ี่
ั

โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด
ั
สั งกัดสานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
้ ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
้
รายงานโครงการดอนปู่ ตาภูมปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน
ิ
กลุ่ม พลพรรครักษ์ ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ องถิน)
่

รายชื่อสมาชิก
1. เด็กหญิงธนาพร

โหรเวช

ชั้น ม.2

6. เด็กหญิงไพริน

ทิพนัด

2. เด็กหญิงพัชรินทร์

ศรีวเิ ศษ

ชั้น ม.2

7. เด็กชายไชยพัฒน์

วงศ์ คาจันทร์ ชั้น ม.2

3. เด็กหญิงปาริฉัตร

สวัสดิ์ผล ชั้น ม.2

8. เด็กหญิงวิภาดา

มุ่งรายกลาง ชั้น ม.2

4. เด็กหญิงอริสรา

วินิจบุตร ชั้น ม.2

9. เด็กหญิงจันทรารัตน์ สาขามุละ ชั้น ม.3

5. เด็กหญิงสุ ดารัตน์

นงค์ พรมมา ชั้น ม.2

10. เด็กชายกฤษณะ

กิจนุกร

ชั้น ม.2

ชั้น ม.3

ครู ทปรึกษาโครงการหลัก : นายศิริวุฒิ บัวสมาน
ี่
ครู ทปรึกษาโครงการร่ วม : นางธีร์กญญา พลนันท์
ี่
ั

โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด
ั
สั งกัดสานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
้ ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
้
ก

คานา
รายงาน เรื่ อง “ดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุ รักษ์ ป่าชุ มชน” (ประเด็นที่ศึกษา : วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่ น) นี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่ นในการอนุ รักษ์ป่าชุ มชนของชาวบ้าน
โดย

นักสารวจกลุ่ มพลพรรครั กษ์ดอนปู่ ตา โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรี สมเด็จ
ั

จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่ งท้องทุ่งปี ที่ 5 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร
จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการเรี ยนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่ งท้อง
ทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุ รักษ์ และขั้นแบ่งปั น โดยศึกษาเกี่ ยวกับความเชื่ อ พิธีกรรมและภูมิ
ปัญญาชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน สภาพปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ า
ดอนปู่ ตาและศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมี ชีวิตเบื้ องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก
อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
นัก สารวจกลุ่ มพลพรรครั กษ์ดอนปู่ ตา ขอขอบพระคุ ณ ท่ า นสุ รศัก ดิ์ ศรี ละมนตรี ผูอานวยการ
้
โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คณะ
ั
ผูบริ หาร คณะคุณครู โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยาทุกท่าน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์
้
ั
ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิ เวศเกษตรที่ให้การ
อบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณหัวหน้าศูนย์
ประสานงานป่ าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่อนุ เคราะห์วิทยากรและหนังสื อเกี่ ยวกับป่ าไม้ นายกองค์การบริ หาร
ส่ วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุ ทธิ บาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรู ญ ศรี ทอง ที่อนุ ญาตให้เข้าศึกษา
ในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ ต าบลสวนจิ ก ขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ยายทอง มงคลมะไฟ คุ ณ ยายกล
พันชวะนัส ที่ แนะนาเกี่ ยวกับเห็ ด คุ ณตาสุ ข พันโภคา ที่ แนะนาเกี่ ยวกับพืชสมุ นไพร คุ ณเรื อง วิลยพิท ย์
ั
คุ ณสมปอง ทิพนัด ขะจ้ าที่ แนะนาพิธีกรรม คุ ณพิสุทธิ์ เอกอานวย ที่แนะนาหนังสื อเกี่ ยวกับแมลงชนิ ด
ต่างๆ ในประเทศไทย ขอขอบพระคุณ คุณเกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์ ขอขอบคุณ กลุ่มสาระน่ารู ้จากแมลง ที่ให้
ความรู ้เกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ขอขอบคุณผูดูแลระบบของเว็บไซต์ www.malaeng.com ที่ให้ขอมูลเกี่ยวกับ
้
้
แมลงดีมาก และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้
หวัง เป็ นอย่า งยิ่ง ว่ารายงานฉบับ นี้ คงมี ป ระโยชน์ หรื อเป็ นแนวทางในการศึ กษาด้านภูมิปัญญา
ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผพฒนาให้ดียงขึ้น
ู้ ั
ิ่
คณะผู้จัดทา
30 พฤศจิกายน 2556
ข

สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

คานา

ก

สารบัญ

ข

1. บทคัดย่อโครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน

1

2. ทีมาและความสาคัญ
่

2

3. วัตถุประสงค์

3

4. ระยะเวลา

3

5. พืนทีดาเนินโครงการ
้ ่

3

6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ

3

7. ผลและสรุ ปผลการดาเนินงาน

5

บรรณานุกรม

9

อภิธานศัพท์

12

ภาคผนวก

14-204
1
1. บทคัดย่อโครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน
โครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุ รักษ์ป่าชุมชน โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา มีวตถุประสงค์
ั
เพื่อศึกษาและเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับความเชื่ อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการอนุ รักษ์ป่าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน
สภาพปั ญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ และเพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในป่ า
ดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4
ขั้นตอน ได้แก่ ค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปั น

จากการลงพื้นที่คนหาแหล่งศึกษาดอนปู่ ตาในเขตอาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า มีดอนปู่ ตา
้
ที่ยงคงสภาพป่ าและยัง มีการทาพิธีกรรมเกี่ ยวกับดอนปู่ ตาอยู่จานวน 4 ตาบล 12 หมู่บาน จากทั้งหมด 8
ั
้
ตาบล 82 หมู่บาน คิดเป็ นร้อยละ 14.63 ของหมู่บานทั้งหมดในอาเภอศรี สมเด็จ และจากกรณี ศึกษาดอนปู่ ตา
้
้
สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก พบว่า ชาวบ้านสวนจิกและบ้านสนามชัยมีความเชื่อถือศรัทธาในผีปู่ตาว่าเป็ น
่
วิญญาณของบรรพบุรุษที่สิงสถิตอยูในบริ เวณป่ าดอนปู่ ตาคอยปกปั กรักษาและคุมครองชาวบ้านที่ประพฤติดีให้
้
มีความร่ มเย็นเป็ นสุ ขและลงโทษผูที่ทาผิดข้อห้ามต่ างๆ เช่ น ห้ามตัดไม้ ห้ามล่ าสัตว์ ถ้าใครละเมิ ดก็จะมี อน
้
ั
เป็ นไป ทาให้เกิดความเกรงกลัว ทาให้ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต และเป็ น
แหล่งอาหารของชุมชนโดยชาวบ้านมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาผ่านพิธีกรรม ได้แก่ พิธีเลี้ยง พิธีเสี่ ยงทายและพิธี
บนบาน ซึ่งนับเป็ นภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของชุมชนชาวอีสานที่สืบทอดเกี่ยวโยงไปถึงความผูกพันระหว่างคน
กับป่ าอย่างแนบแน่น ทาให้ชุมชนเห็นความสาคัญและประโยชน์ของป่ าดอนปู่ ตาและต้องการอนุ รักษ์ภูมิปัญญา
ดอนปู่ ตานี้ไว้เป็ นสมบัติของท้องถิ่น ในปัจจุบนเยาวชนในหมู่บานดังกล่าวมีความเชื่ อถือผีปู่ตาแต่ไม่มีความรู้
ั
้

และเข้า ใจในพิธี ก รรมมากนัก เพราะจัดขึ้ นปี ละ 1 ครั้ งเท่ า นั้น และถ้าหากไม่ อนุ รัก ษ์ภูมิ ปั ญญานี้ ไ ว้ใ น
อนาคตอาจสู ญหายไปจากชุ ม ชนได้ จากการศึ กษาความหลากหลายของสิ่ ง มี ชีวิ ต เบื้ อ งต้น พบว่ า มี พื ช
มากกว่า 10 ชนิด สมุนไพร 6 ชนิด ผลไม้ป่า 8 ชนิด เห็ด มากกว่า 13 ชนิด แมลง 15 ชนิด และนก 6 ชนิด
แสดงว่าดอนปู่ ตาแห่ งนี้มีความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตและมีความอุดมสมบูรณ์ อันเป็ นผลมาจากภูมิปัญญาใน
การอนุรักษ์ดอนปู่ ตาแห่ งนี้เอาไว้

2. ทีมาและความสาคัญ
่
จากการที่กลุ่มของพวกเราเดินทางมาโรงเรี ยน ระหว่างทางผ่านหมู่บานต่างๆ พวกเราพบว่า ในแต่
้
ละหมู่บานจะมีป่าขนาดเล็กบ้าง ป่ าขนาดใหญ่บาง พวกเราจึงไปถามคุณครู และชาวบ้านจนทราบว่า ป่ าที่มี
้
้
่
อยูประจาในแต่ละหมู่บานนั้น เรี ยกว่า “ดอนปู่ ตา” เป็ นสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ ซึ่ งเป็ นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชน
้
ั
คนอี สานที่สามารถรั กษาป่ าชุ มชนไว้ให้ชวลู กชั่วหลาน โดยมี ความเชื่ อ และพิธีกรรมที่ น่าสนใจ ซึ่ งเป็ น
ั่
2
กุศโลบายอันแยบยลในการที่จะรักษาป่ าให้เป็ นที่สาธารณะประโยชน์ร่วมกัน ซึ่ งป่ าดอนปู่ ตามีกระจายอยู่
ทัวไปทุ กหมู่บานในภาคอี สาน แต่ยงขาดการเอาใจใส่ จากทางหน่ วยงานราชการ ทาให้ป่าดอนปู่ ตาบาง
้
ั
่
หมู่บานถูกบุกรุ กแผ้วถางทาเป็ นที่ดินส่ วนตัว ทั้งๆ ที่ป่าดอนปู่ ตาเป็ นแหล่งรวบรวมความหลากหลายทาง
้
ชีวภาพ ทั้งพันธุ์พืช สัตว์และสิ่ งมีชีวตชนิดต่างๆ ซึ่ งเป็ นสิ่ งรักษาความสมดุลของธรรมชาติ
ิ
ดังนั้น พวกเราจึงตั้งกลุ่ มเยาวชนขึ้นมาชื่ อว่า “พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา” ศึกษาเรื่ อง “ดอนปู่ ตาภูมิ
ปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน” เพื่อที่จะศึกษาเรี ยนรู้ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการรักษา
ป่ าชุมชน ศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต รู ปแบบการอนุ รักษ์ป่า ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ าดอน
ปู่ ตาของชาวบ้าน
3. วัตถุประสงค์ :
1) เพื่อศึกษาและเรี ยนรู ้เกี่ยวกับความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่
ตา/ป่ าชุมชน สภาพปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ าดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวน
จิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
2) เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก
อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
4. ระยะเวลา :
5 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 30 พฤศจิกายน 2556
5. พืนทีดาเนินโครงการ :
้ ่
ดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ :
ขั้นที่ 1 การค้ นหา (1 สัปดาห์)
1.1 สอบถามสมาชิกในกลุ่ม เพื่อนนักเรี ยน คุณครู และชาวบ้านว่าที่ชุมชน/หมู่บานใดมีป่าดอนปู่ ตา
้
1.2 ค้นหาพื้นที่ป่าดอนปู่ ตาในอาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดอย่างคร่ าวๆ จากแผนที่ดาวเทียมใน
Google Earth แล้วทาเครื่ องหมายกาหนดว่าชุมชน/หมู่บานใดมีป่าดอนปู่ ตา
้
1.3 เดิ นทางไปสารวจพื้นที่ชุมชน/หมู่บานที่ทาเครื่ องหมายไว้ในแผนที่ที่คาดว่าจะมีป่าดอนปู่ ตา
้
พร้อมสอบถามชาวบ้านอย่างคร่ าวๆ เกี่ยวกับความเชื่อ พิธีกรรม และวิธีการในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา
3
1.4 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายที่เหมาะสมในการศึกษาว่า
มีอะไรบ้างที่น่าสนใจและน่าศึกษา
ขั้นที่ 2 การสารวจ (12 สัปดาห์)
2.1 ประชุ มครู ที่ปรึ กษาและสมาชิ กในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา เพื่อวางแผนการสารวจพื้นที่
เป้ าหมาย ทั้งขั้นตอน วิธีการ กาหนดการสารวจภาคสนาม ตลอดจนการแบ่งหน้าที่ในการทางาน
2.2 ครู ที่ปรึ กษาเชิญวิทยากรจากศูนย์ประสานงานป่ าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ
กับสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตาและผูที่สนใจเกี่ยวกับการสื บค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจย
้
ั
ที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ วิธีการสัมภาษณ์ วิธีการศึกษาภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน การ
บันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ขอมูล การเขียนรายงาน การนาเสนอข้อมูล และวิธีการสารวจความหลากหลาย
้
ของสิ่ งมีชีวตในป่ าดอนปู่ ตาทั้ง พืช สัตว์ แมลง เห็ด ไลเคน และสิ่ งมีชีวตอื่นๆ
ิ
ิ
2.3 ส่ ง หนัง สื อ ขออนุ ญ าตองค์ก ารปกครองส่ วนท้อ งถิ่ น ก านัน และผูใ หญ่ บ ้า น/ผูน าชุ ม ชน/
้
้
คณะกรรมการหมู่บานที่ดูแลรับผิดชอบ เพื่อขอเข้าสารวจป่ าดอนปู่ ตาและสัมภาษณ์ชาวบ้าน ตลอดจนการ
้
เข้าร่ วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมและกิจกรรมต่างๆ ในป่ าดอนปู่ ตา
2.4 ลงพื้นที่สารวจภาคสนามตามกาหนดการที่วางแผนไว้ โดยสัมภาษณ์ความเชื่ อ พิธีกรรมและ
ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้ประโยชน์ รู ปแบบ/การอนุ รักษ์ ปั ญหา อุปสรรคและวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ในป่ าดอนปู่ ตา และสารวจเกี่ ยวกับความหลากหลายของสิ่ งมี ชีวิตในป่ าดอนปู่ ตาทั้ง พืช สัตว์ แมลง เห็ ด
ไลเคน และสิ่ งมีชีวตอื่นๆ
ิ
2.5 นาผลการสารวจมาจัดกระทาข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล สรุ ปและอภิปรายผล เขียนรายงานพร้อมเข้า
้
รู ปเล่มให้สวยงามและจัดทาสิ่ งประดิษฐ์และหนังสื อเล่มเล็ก
2.6 ส่ งหนังสื อขอบคุณหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการศึกษาครั้งนี้
ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์ (4 สัปดาห์)
3.1 อนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้ าป่ าต้ นไม้ สายธารแห่ งเมล็ดพันธุ์ร่วมใจกัน
่ ั
บวชป่ า” เพื่อเป็ นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนาง
เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถฯ เพื่อเป็ นการสร้างจิตสานึ กและจิตสาธารณะในการอนุ รักษ์ดอนปู่ ตา ต้นไม้
และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็ นการบูรณาการการเรี ยนรู ้สิ่งแวดล้อมร่ วมกันระหว่างหมู่บาน วัด
้
และโรงเรี ยน (บวร) และเป็ นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุ มชนด้านการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม
4
โดยทอดถวาย ณ วัดบ้านสวนจิก อาศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด และมีการปลูกต้นไม้ พร้ อมกับการบวชป่ า
ดอนปู่ ตาร่ วมกับเจ้าคณะอาเภอศรี สมเด็จ พระสงฆ์วดบ้านสวนจิก กานันตาบลสวนจิก ผูใหญ่บานบ้านสวน
ั
้
้
จิก อาสาสมัครสาธารณะสุ ขประจาหมู่บาน(อสม.) ตาบลสวนจิก ชาวบ้านสวนจิก ชาวบ้านสนามชัยและ
้
หมู่บานใกล้เคียง นักเรี ยนชุ มนุ มนักสารวจแห่ งท้องทุ่ง กลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว.
้
คณะครู -อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา
ั
3.2 อนุรักษ์ภูมิปัญญาโดยแต่งบทเพลง สรภัญญะ ผญา และ กลอนลา เกี่ยวกับการอนุ รักษ์ป่าดอน
ปู่ ตา และจัดทาลงในแผ่น CD/DVD นาไปให้ผนาชุมชนและสถานีวทยาชุมชนเปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟังสร้าง
ู้
ิ
ความตระหนัก โดยรณรงค์ให้ชาวบ้านในชุมชนเห็นประโยชน์และความสาคัญของป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน
ตนเอง เพื่อให้เกิดความหวงแหนและช่วยกันอนุ รักษ์ไว้ให้ลูกหลาน โดยจัดกิจกรรมผ่านการจัดนิ ทรรศการ
และหอกระจายเสี ยง/วิทยุชุมชน
3.3 ส่ งเสริ มให้มีการร่ วมมื อกันจัดตั้งคณะกรรมการป่ าชุ มชนและเครื อข่ายป่ าดอนปู่ ตา เพื่อทา
หน้าที่ดูแลรักษาและอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา โดยมีการประชุมชาวบ้านให้มีการเลือกตั้งกรรมการชุดดังกล่าว
3.4 จัดให้มีการประชาคมชาวบ้านในหมู่บานต่างๆ ให้ต้ งกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับในการใช้ประโยชน์
้
ั
จากป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชนร่ วมกัน แล้วจัดทาป้ ายติดไว้บริ เวณป่ าดอนปู่ ตา
3.5 เชิ ญชวนและร่ วมมือกับชาวบ้านในการนากล้าไม้ป่าท้องถิ่น เช่น ยางนา มะค่าโมง มาปลูกใน
บริ เวณป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน โดยนักเรี ยนสมาชิกในกลุ่ม/ชาวบ้านเพาะต้นกล้าเองหรื อขอสนับสนุ นต้นกล้า
จากหน่วยงานของรัฐหรื อเอกชน ในวันสาคัญต่างๆ
3.6 ร่ วมมือกับชาวบ้านในชุ มชนจัดทาป้ ายเขตป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน ป้ ายห้ามล่าสัตว์ กลอน คติ
เตือนใจ หรื อคาคมติดตามต้นไม้รอบๆ ป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน
3.7 สมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา แต่งและร้องเพลงเกี่ยวกับการอนุ รักษ์ดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน
แล้วนาไปเปิ ดที่หอกระจายเสี ยงของหมู่บานต่างๆ หรื ออาจทาลงแผ่น CD แล้วขอให้สถานี วิทยุชุมชนช่วย
้
เปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟังและเกิดความตระหนักรู ้
ขั้นที่ 4 การแบ่ งปัน (3 สัปดาห์)
4.1 รายงานผลการดาเนิ นโครงการและร้ องเพลง สรภัญญะ ผญา และกลอนลาในกิ จกรรมหน้า
เสาธงแก่นกเรี ยน ครู และผูบริ หาร
ั
้
4.2 จัดรายการเสี ยงตามสาย ณ ห้องประชาสัมพันธ์ของโรงเรี ยน ในตอนกลางวันของวันจันทร์
วันพุธ และวันศุกร์
5
4.3 จัดส่ งรายงานผลการศึกษาและมอบแผ่น CD เพลง สรภัญญะ ผญา และกลอนลาอนุรักษ์ดอน
ั
ปู่ ตาสู่ ชุมชน ให้กบหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง เช่ น โรงเรี ยน หมู่บาน/ชุ มชน องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่ น
้
นายอาเภอ ผูว่าราชการจังหวัด สานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมจังหวัดร้ อยเอ็ด และสถานี
้
วิทยาชุ มชนเปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟั ง เพื่อให้รับทราบข้อมูลต่างๆ ที่กลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตาได้ร่วมกัน
สารวจและค้นพบ
4.4 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรี ยนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครู -อาจารย์ ชาวบ้าน
ในชุมชนหรื อผูที่สนใจ ในรู ปแบบต่อไปนี้
้
4.4.1 การจัดบอร์ ดนิ ทรรศการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทาและสิ่ งที่ได้คนพบทั้งในโรงเรี ยนและ
้
ชุมชน
4.4.2 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว.
และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา
4.5 จัดทาสมุดเล่มเล็ก/นิทานเล่มเล็กให้ผสนใจอ่านในห้องสมุด
ู้
7. ผลและสรุ ปผลการดาเนินงาน
จากการลงพื้นที่ สารวจและสัมภาษณ์ เกี่ ย วกับ ความเชื่ อ พิ ธีกรรมและภู มิปัญญาชาวบ้านในการ
อนุ รั ก ษ์ ป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ ม ชน สภาพปั ญ หา อุ ป สรรค ตลอดจนการใช้ ป ระโยชน์ ใ นป่ าดอนปู่ ตา
สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า
ประวัติความเป็ นมา เมื่อประมาณ พ.ศ.2329 (200กว่าปี มาแล้ว) ได้มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่ งอพยพมาตั้ง
หมู่บานสวนจิก ที่มีชื่อนี้เพราะมีตนจิก (เต็ง) เยอะมาก หมู่บานแห่งนี้ต้ งอยูบนพื้นที่ที่เป็ นเนิ น และมีการแบ่ง
้
้
้
ั ่
พื้นที่ส่วนหนึ่งด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อซึ่ งเป็ นป่ าดงดิบแล้งและมีความอุดมสมบูรณ์ไว้เป็ นป่ าดอนปู่ ตา
มีการสร้างตูบ (ศาล) ไว้เป็ นที่สิงสถิตของผีปู่ตา ในด้ านความเชื่ อ ชาวบ้านมีความเชื่ อว่า ดอนปู่ ตาเป็ นป่ า
ศักดิ์สิทธิ์ ที่ผปตาซึ่ งเป็ นผีบรรพบุรุษมีพลังอานาจช่วยปกป้ องคุมครอง รักษาป่ า คนและสัตว์ นอกจากนั้น ยัง
ี ู่
้
่
ดลบันดาลให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลง ควบคุมพฤติกรรมของคนในชุ มชน และกระตุนให้คนอยูร่วมกันอย่างมี
้
ระเบียบแบบแผน มีค วามสามัคคีปรองดองกัน มีความเมตตากรุ ณา รู ้ จกเสี ยสละ เกิ ดความสบายใจ และ
ั
มันใจ สร้างความรู ้สึกมันคงในชีวต มักจะมีเรื่ องเล่าอยูเ่ สมอว่า เมื่อมีคนเข้าไปตัดต้นไม้ ไปยิงสัตว์ ในอาณา
ิ
่
่
เขตผีปู่ตา นันคือ ผีปู่ตาก็จะมาสั่งสอน ผ่านการเข้าสิ งร่ างใครคนใดคนหนึ่ง แล้วบอกเล่า ว่ากล่าว ตักเตือน
่
หรื อกรณี สั่งสอนหนักหน่อย ก็จะทาให้เจ็บป่ วยแบบไม่รู้สาเหตุ หมอธรรมดารักษาไม่หาย เป็ นต้น เป็ นเหตุ
6
ให้ชาวบ้านเกรงกลัว ไม่ค่อยมีใครกล้าตอแยกับผืนป่ าอาณาเขตผีปู่ตา ปั จจุบนจึงมักพบเห็นร่ องรอยดอนปู่ ตา
ั
่
อยูในหลายๆ หมู่บานในภาคอีสาน
้
ในด้ านพิ ธีกรรมที่เกี่ ยวข้องกับผีปู่ตาและดอนปู่ ตา เป็ นรู ปแบบของการจัดความสัมพันธ์ทางการ
ั
ั
ผลิตระหว่างมนุ ษย์กบธรรมชาติ และระหว่างมนุ ษย์กบมนุ ษย์ดวยกัน บนพื้นฐานของความเชื่ อในอานาจ
้
ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ของผีปู่ ตาซึ่ ง เป็ นที่ เคารพบู ช าของคนในชุ ม ชน พิธี ก รรมที่ หวัง ในสิ่ ง นอกเหนื อธรรมชาติ ดล
บันดาลให้ประสบผลสาเร็ จที่สาคัญคือ พิธีที่เกี่ ยวกับความอุ ดมสมบูรณ์ นอกจาก นั้นจะมีขะจ้ าเป็ นผูที่มี
้
บทบาทสาคัญที่สุด เพราะเป็ นตัวแทนสื่ อ สารระหว่างชาวบ้านกับผีปู่ตาในการทาพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ พิธี
เลี้ยง พิธีเสี่ ยงทาย และพิธีบนบาน ซึ่งจัดขึ้นในวันพุธสัปดาห์ที่สองของเดือนหก (ประมาณเดือนพฤษภาคม)
พิธีเลี้ยงผีปู่ตา จัดในตอนเช้า พิธีน้ ี มี "ขะจ้ า" เป็ นผูดาเนิ นการ โดยป่ าวประกาศให้ลูกบ้านทราบว่าจะทาพิธี
้
วันไหน และให้ ลูกบ้านบริ จาคเงิน ข้าวของตามศรัทธาให้แก่จ้ า เพื่อจะได้นาไปซื้ อเครื่ องเซ่ นมาทาพิธี ซึ่ งมี
ไก่ 3 ตัว เหล้า 1 ขวด บุหรี่ ยาสู บ หมาก ผ้าซิ่ น ดอกไม้ และธู ปเทียน เมื่อถึงวันพิธี ชาวบ้าน 5หมู่บาน ได้แก่
้
บ้านสวนจิก บ้านสนามชัย บ้านหนองไฮ บ้านหญ้าคาและบ้านหนองคูคา ทุกครอบครัวไปร่ วมงาน ซึ่ งจัดขึ้น
เวลาเช้า ณ ศาลปู่ ตาตาบลสวนจิก ในพิธีมีการเสี่ ยงทายโดยใช้ไก่ 3 ตัว เป็ นเครื่ องเสี่ ยงทาย 3 กรณี คือ ไก่ ตัว
ที่ 1 เสี่ ยงทายเรื่ องเกี่ยวกับมนุ ษย์ ไก่ ตัวที่ 2 เสี่ ยงทายเกี่ยวกับฝนฟ้ าอากาศ ไก่ ตัวที่ 3 เสี่ ยงทายเกี่ยวกับสัตว์
เลี้ยงและพืชพันธุ์ โดยดูจากลักษณะปลายขากรรไกรล่างทั้งสองข้างของไก่ ว่ามีลกษณะเป็ นอย่างไรบ้าง การ
ั
เสี่ ยงทายอีกประการหนึ่ง คือ การเสี่ ยงทายฟ้ าฝนด้วยบั้งไฟ แล้วให้ ทานายตามผลที่ปรากฏ ส่ วนการทานาย
ตามลักษณะไก่ คือ ดึ งเอาขากรรไกร (ปากล่าง) ของไก่ที่บูชาตาแล้ว ออกมา แล้วดูว่าปลายขากรรไกรทั้ง
สองข้าง (ซึ่ งมีลกษณะเป็ นสองง่าม) เป็ นอย่างไร ถ้าปลายง่ามห้อยตกลงหรื อไม่เสมอกัน หมายถึ งในปี นั้น
ั
สัตว์เลี้ยงจะไม่สบาย เกิ ดโรค ถ้าเกี่ ยวกับคนทายว่าจะแตกความสามัคคี เจ็บไข้ได้ป่วย ถ้าเกี่ ยวกับพืชพันธุ์
ธัญญาหาร ก็จะไม่สมบูรณ์ ถ้าง่ามขากรรไกรทั้งสองข้างยาวเท่ากัน จะหมายถึงมีความอุดมสมบูรณ์ท้ งสัตว์
ั
เลี้ยง ผูคน และพืชพันธุ์ ถ้าขากรรไกรมีสีขาว แสดงว่า ฝนแล้ง ถ้าขากรรไกรมีสีดา แสดงว่า ฝนฟ้ าดี ซึ่ งพิธี
้
เลี้ยงผีปู่ตาเป็ นเหตุการณ์หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการทานาปลูกข้าวอย่างใกล้ชิด ผลคาทานายเป็ นเช่นไร ชาวบ้าน
มักจะนาไปเป็ นข้อมูลในการเตรี ยมตัวทานาในปี นั้น ๆ นอกจากนั้นปู่ ตา ยังมีความสาคัญกับหมู่บานเพราะ
้
เป็ นที่พ่ ึงทางใจ เป็ นผูอนุ รักษ์ป่าไม้ชุมชนของหมู่บานนั้น ๆ ให้ ยังคงอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่ งอาหารเลี้ ยง
้
้
ชุ มชนตราบเท่าลูกหลาน พิธีบนบานเมื่อผูบนบานประสบผลสาเร็ จแล้ว จะมาหาขะจ้ าให้ช่วยทาพิธีแก้บน
้
ให้
สาหรับสภาพปั ญหาและอุปสรรคในปั จจุบนนี้ เมื่อความเจริ ญคืบคลานเข้ามามากๆ เรื่ องของดอน
ั
ปู่ ตาก็อาจจะจางหายไป ด้วยเหตุ ที่ดอนปู่ ตาไปอยู่ในเส้นทางของการพัฒนาตัดถนนหนทางให้กว้างขวาง
และในปั จจุบนในหลายชุมชน กาลังได้รับความกระทบกระเทือนจากบุคลากร องค์กร ทั้งของรัฐและเอกชน
ั
บุกรุ กทาลายในรู ปแบบต่างๆ อยู่ตลอดเวลา และอีกหลายชุ มชน สภาพป่ าดอนปู่ ตาต้องสู ญสลายไป โดย
7
สิ้ นเชิ งหรื อถูกเบียดบังพื้นที่บางส่ วนหรื อส่ วนใหญ่ไป โดยความรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ กลายเป็ นบ่อขยะ สถานี
อนามัย ค่ายลูกเสื อ สถานี ไฟฟ้ า สนามกีฬา หรื อสถาบันทางสังคมอื่นๆ ซึ่ งดูจะเอื้อประโยชน์ที่แตกต่างกัน
จากอดีตอย่างสิ้ นเชิง
ในด้ านการบริ หารจัดการในป่ าดอนปู่ ตา จะเน้นความร่ วมมือของชุ มชน โดยสื่ อให้ชุมชนได้เห็นว่า
ป่ ามิ ได้เป็ นสมบัติของใครคนใดคนหนึ่ ง แต่เป็ นสมบัติของทุ กคนที่ควรจะหวงแหนและช่ วยกันรั กษาไว้
ั
เพราะป่ าเป็ นแหล่งที่ให้ประโยชน์กบคนเป็ นส่ วนใหญ่ อีกทั้งยังเป็ นมรดกอันล้ าค่าที่บรรพบุรุษได้ปกปั กษ์
่
รักษาไว้ ควรจะช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยูตลอดไปและมีการตั้งข้อห้ามและข้อปฏิบติกบปู่ ตา เช่น ห้ามจับสัตว์
ั ั
่
ทุกประเภทในบริ เวณดอนปู่ ตา ให้ถือว่าเป็ นเขตอภัยทาน บ้างก็เชื่อว่าสัตว์เล็ก สัตว์ใหญ่ ที่อยูอาศัยในบริ เวณ
ดอนปู่ ตาคื อบริ วารของท่าน ห้ามผูใดล่ า สัตว์เด็ ดขาด จึ งมัก พบเสมอว่าในพื้นที่ ดอนปู่ ตาจะมี สัตว์หลาย
้
ประเภทอาศัยอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ห้ามตัดไม้ทุกชนิ ดในป่ าปู่ ตา จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากขะจ้ าหรื อได้รับ
อนุญาตจากมติของชาวบ้าน จึงจะสามารถเข้าไปตัดไม้มาใช้ประโยชน์ได้ ห้ามแสดงกิริยาและพฤติกรรมอัน
ไม่เหมาะสมต่อสถานที่ เช่น ปั สสาวะ อุจจาระ ในเขตพื้นที่ดอนปู่ ตา ห้ามประพฤติตนในเชิงกามารมณ์ใน
ดอนปู่ ตา หรื อมัวสุ มเสพของมึนเมา เพราะถือว่ามีเจตนาไม่เคารพต่อปู่ ตา ห้ามลบหลู่ และกล่าววาจาใดที่ส่อ
่
เจตนาไม่เคารพปู่ ตา ด้วยเหตุที่มีขอห้ามเหล่านี้ พื้นที่ดอนปู่ ตาจึงมักเป็ นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีตนไม้หนาแน่น
้
้
มีสัตว์อาศัยอยู่เป็ นจานวนมาก ดอนปู่ ตาจึ งกลายเป็ นวิธีการบริ หารจัดการการใช้ทรัพยากรของชุ มชนได้
อย่างคุมค่าที่สุด
้
ลักษณะการใช้ ประโยชน์ จากป่ าดอนปู่ ตา โดยทัวไปนั้นมีหลายประการ ได้แก่ 1) ใช้เป็ นสถานที่ใน
่
การประกอบพิธีกรรมอันเกี่ยวกับความศรัทธาที่มีต่อผีปู่ตา 2) เป็ นแหล่งอาหารหรื อแหล่งเก็บหาของป่ า เช่น
เห็ด แมลง ผัก เป็ นต้น 3) เป็ นแหล่งสมุนไพรในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น 4) เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สาหรั บ
เยาวชนและบุคคลทัวไป ในการปลูกฝังให้มีจิตสานึกรักษ์ผืนป่ า ด้วยการให้เข้ามาเรี ยนรู ้ และร่ วมกิจกรรม
่
กับชุมชนในการอนุรักษ์ป่า เพื่อให้เห็นวิธีการปฏิบติของบรรพบุรุษ และซึ มซับวัฒนธรรมไปพร้อมๆ กัน
ั
5) เป็ นแหล่งเศรษฐกิจในการนาของป่ า เช่น เห็ดไปจาหน่ายในชุมชน 6) เป็ นสถานที่ใช้ประโยชน์
ทัวๆไปของชุมชน เช่น เลี้ยงสัตว์ประเภทวัว ควาย เป็ นต้น
่
ในด้ านภูมิปัญญาชาวบ้ าน ความเชื่อถือศรัทธาในผีบรรพชน “ผีปู่ตา” ซึ่ งนับเป็ นภูมิปัญญาอันชาญ
ฉลาดของชุมชนชาวอีสาน ที่สืบทอดเกี่ยวโยงไปถึงความผูกพันระหว่างคนกับป่ าอย่างแนบแน่น ด้วยเหตุที่
ชุมชนต้องพึ่งพาป่ า เพื่อยังชี พตั้งแต่ก่อตั้งบ้านเรื อนเป็ นต้นมา จึงต้องกระทาตนให้ประสานกลมกลืนกับป่ า
ในการอนุ รักษ์ป่าดอนปู่ ตาเป็ นศักยภาพของชาวบ้านในการ ดูแลและพัฒนาชุ มชนด้วยตนเอง โดยการใช้
ระบบความเชื่อ ความศรัทธาที่มีต่อผีปู่ตาผูมีพลังอานาจในการบันดาลให้เกิดความสุ ข ความทุกข์ ปกป้ องภัย
้
อันตรายจากสิ่ งร้ ายทั้งปวง ความเชื่ อเป็ นพื้นฐานของอานาจในการกาหนดกฎเกณฑ์ และข้อห้ามต่าง ๆ ที่
ั
ั
กาหนดความสัมพันธ์ ทางสังคมระหว่างมนุ ษย์กบมนุ ษย์ และมนุ ษย์กบธรรมชาติ แวดล้อม ความเชื่ อและ
8
พิธีกรรมยังเชื่อมโยงอย่างแนบแน่นกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิงในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
่
ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ า ผลผลิต ชาวบ้านได้นาเอาความเชื่ อผีปู่ตาและ พิธีกรรมการเลี้ยงผีปู่ตามา
เป็ นสื่ อในการปลุ กจิตสานึ กในการรักษาป่ า และทาความเข้าใจกับลูกบ้านให้มองเห็ นความสาคัญของป่ า
ดอนปู่ ตาและทรัพยากร จึงสื บทอดความเชื่อ และรักษาพิธีกรรมนี้ไว้ โดยตอกย้ าความผูกพันทางจิตวิญญาณ
ระหว่างคนและชุมชนกับธรรมชาติ จนกระทังชาวบ้านมีความเข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ป่า
่
และยังคงรักษาจารี ตประเพณี ความเชื่ อ และพิธีกรรมเกี่ ยวกับผีปู่ตาและป่ าดอนปู่ ตา ที่สอดคล้องกับการ
อนุรักษ์ทรัพยากรป่ าดอนปู่ ตาไว้เป็ นสมบัติของท้องถิ่น
จากการศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก
อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า มีสิ่งมีชีวต ดังนี้
ิ
พืช มากกว่า 10 ชนิด เช่ น ต้นแดง โมก ประดู่ ไผ่ เพ็ก พยุง มะค่าแต้ มะค่าโมง เต็ง งิ้วป่ า พลวง
กระทุ่มบก เป็ นต้น
สมุนไพร 6 ชนิด ได้แก่ แก่นขี้หนู เถาเอ็นอ่อน ดูกใส บีคน กาแพงเจ็ดชั้น หมี่ เป็ นต้น
ผลไม้ป่า 8 ชนิด ได้แก่ หมากหม้อ ลอมคอม เขลง ต้องแล่ง นมควาย มะกอกเลื่อม หวดข่า เล็บเหยียว
่
เห็ด มากกว่า 13 ชนิด เช่น เห็ดก่อบาง เห็ดตะไค เห็ดระโงกเหลือง เห็ดโคน เห็ดไส้เดือน เห็ดก่อม่วง
เห็ดดิน เห็ดหน้าวัว เห็ดข้าวแป้ ง เห็ดเผาะ เห็ดถ่าน เห็ดขี้เถ้า เห็ดนกขอด เป็ นต้น
แมลง 15 ชนิด ได้แก่ แมลงจินูนหลวง แมลงแคง แมลงทับ ด้วงกว่าง แมงป่ องช้าง จิงโกร่ ง จิงหรี ด
้
้
มดแดง กิ้งกือ แมลงช้างหนวดยาว ปลวก ผีเสื้ อ ยุง แมลงวันหัวบุบ
นก 6 ชนิดได้แก่ นกเขา นกเอี้ยง นกกระจิบ กา นกฮูก นกกาเหว่า
่
จะเห็ดได้วา ดอนปู่ ตาแห่งนี้ มีความหลากหลายของสิ่ งมีชีวตและมีความอุดมสมบูรณ์มาก อันเป็ น
ิ
ผลมาจากภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ดอนปู่ ตาแห่งนี้เอาไว้
9

บรรณานุกรม
กรมป่ าไม้ สานักส่ งเสริ มการปลูกป่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แนวทางปฏิบัติงานโครงการพัฒนาป่ า
ชุ มชน. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา, 2537, 66 หน้า.
การ์ ดเนอร์ ไซมอน และคณะ. คู่มือศึกษาพรรณไม้ ยนต้ นในป่ าภาคเหนือ ประเทศไทย. กรุ งเทพฯ:
ื
โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2543. 560 หน้า.
เกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์. หนังสื อชุ ดสั งเกตธรรมชาติ ผีเสื้อ. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2540. 149 หน้า.
___________. Photographic guide to Moths in Thailand. สมุทรปราการ: BNEC., 2555. 64 หน้า.
เกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์ และจารุ จินต์ นภีตะภัฏ. คู่มือแมลง. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2551. 224 หน้า.
จารุ จินต์ นภีตะภัฏ กานต์ เลขะกุล และวัชระ สงวนสมบัติ. คู่มือศึกษาธรรมชาติหมอบุญส่ ง เลขะกุล
นกเมืองไทย. กรุ งเทพฯ: คณะบุคคลนายแพทย์บุญส่ ง เลขะกุล, 2555. 488 หน้า.
จารุ จินต์ นภีตะภัฏ และเกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์. คู่มือดูผเี สื้อในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์วนา,
2544. 320 หน้า.
จินตนา ใบกาซูย,ี วิยดา เทพหัตถี, สุ จิตรา กลิ่นเกษร, สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรี ยนรู้ เล่ ม 1, กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์, 2555,
192 หน้า.
โดม ประทุมทอง. Bird Study เรียนรู้ เรื่องนก. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์กรี นแมคพาย, 2552. 623 หน้า.
นิดดา หงส์ววฒน์. ผีเสื้อแสนสวย. กรุ งเทพฯ: คติ, 2554. 176 หน้า.
ิั
พาร์ จอห์น. สั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมในประเทศไทย (ฉบับปรับปรุ ง). กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2553. 216 หน้า.
้
นิวฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ ประโยชน์ . กรุ งเทพฯ: ยูนิเวอร์ แซล
ั
กราฟฟิ ค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า.
ประมวล พิมพ์เสน. ผญาห่ อโคลง. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2550, 121 หน้า.
___________.สารภัญญ์ เพลงกล่ อมลูก. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2552, 131 หน้า.
___________.หมอลากลอน. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2552, 117 หน้า.
พริ มา ยนตรรักษ์. แมลงกินได้ . กรุ งเทพฯ: นานมีบุคส์, 2556, 160 หน้า.
๊
พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ และคณะ. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัด
ร้ อยเอ็ด. ม.ป.ป., ม.ป.ท.
พิสุทธิ์ เอกอานวย. ตั๊กแตนกิงไม้ . กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
่
ั
10
___________.ตั๊กแตนต่ างๆ. กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
ั
___________.ตั๊กแตนตาข้ าว. กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
ั
___________.ผีเสื้อกลางวัน. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า.
___________.แมลงปอ. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า.
___________.โรคและแมลงศัตรู พชทีสาคัญ. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2553(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม), 591 หน้า.
ื ่
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล, สารานุกรมสมุนไพร เล่ ม5 สมุนไพรพืนบ้ านอีสาน. กรุ งเทพพฯ: อมริ นทร์ พริ้ นติง
้
้
แอนด์พบลิชชิ่ง จากัด (มหาชน), 2548, 191 หน้า.
ั
ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,
2541. 366 หน้า.
___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุ งเทพฯ: อรุ ณการพิมพ์, 2546, 523 หน้า.
___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ข. กรุ งเทพฯ: อรุ ณการพิมพ์, 2547, 263 หน้า.
รุ่ งโรจน์ จุกมงคล. Thailand BIRD GUIDE. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2549. 480 หน้า.
วิโรจน์ เกษรบัว, ประนอม จันทรโณทัย. พรรณไม้ โคกภูตากา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2554,
131 หน้า.
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ร่ วมอนุรักษ์ มรดกไทย สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสั ชกรรมไทย. กรุ งเทพฯ:
โอ.เอส.พริ้ นติ้ง เฮ้าส์, 2540. 622 หน้า.
เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล. หญ้ าพืชคลุมดิน. กรุ งเทพฯ: เศรษฐศิลป์ , 2554, 111 หน้า.
สมเกียรติ อุ่นท้าว.การใช้ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นของประชาชนบ้ านฝาง อาเภอกระนวน จังหวัด ขอนแก่ น
ในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2549.
ส่ วนป่ าชุมชน กรมป่ าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. คู่มือป่ าชุ มชนสาหรับประชาชน. กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2545, 6 หน้า.
่
สัมฤทธิ์ พุมสุ วรรณ และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้ าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ ม 7. กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์, 2555, 192 หน้า.
สุ จิตรา กลิ่นเกสร และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ มที่ 7. กรุ งเทพฯ:
่ ั
โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว,
2554.192 หน้า.
สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่ าไม้ กรมป่ าไม้.คู่มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความ
หลากหลายทางชีวภาพ “ด้ านเห็ดรา”.กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
2553.
11
___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านภูมิปัญญาท้ องถิ่น”.
กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ งประเทศไทย, 2553.
___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านพืช”.กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553.
___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านแมลง”.กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553.
___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านไลเคน”.กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553.
สานักจัดการป่ าชุมชน กรมป่ าไม้. ป่ าชุ มชน รู ปแบบการพัฒนาและบริ หารจัดการป่ าอย่ างยังยืน. กรุ งเทพฯ:
่
สานักจัดการป่ าชุมชน กรมป่ าไม้, 2555, 120 หน้า.
___________.เอกสารประกอบการเรียนการสอนภายใต้ โครงการป่ าในเมืองเพือการศึกษา
่
“กล้ายิม” พันธุ์ไม้ มงคลพระราชทาน 76 จังหวัด. กรุ งเทพฯ: บริ ษทผลิตไฟฟ้ าราชบุรีโฮลดิ้ง จากัด
้
ั
(มหาชน), 92 หน้า.
สานักธรณี วทยา กรมทรัพยากรธรณี . ธรณีวิทยาจังหวัดร้ อยเอ็ด และแหล่ งเรี ยนรู้ ทางธรณีวิทยา. กรุ งเทพฯ:
ิ
กรมทรัพยากรธรณี , 2556, 48 หน้า.
สาลี รักสุ ทธี . ผญาปรัชญาการดาเนินชีวตอันลาค่ าของชาวอีสาน. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์พฒนาศึกษา, 2551,
ิ
้
ั
263 หน้า.
สิ ริวฒน์ วงษ์ศิริ, และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
ั
ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ ม 17. กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์ จากัด, 2555, 188 หน้า.
อนงค์ จันทร์ศรี กุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ:
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2551, 514 หน้า.
___________.เห็ดในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,2550, 256 หน้า.

*********************
12
อภิธานศัพท์

ดอนปู่ ตา

หมายถึง ป่ าประจาหมู่บานของชาวอีสาน และเชื่อว่าเป็ นสถานที่สิงสถิต
้
ดวงวิญญาณของปู่ -ตา ถือว่าเป็ นที่ศกดิ์สิทธิ์ ประจาหมู่บาน โดยเฉพาะ
ั
้
หมู่บานในภาคอีสาน ที่ดอนปู่ ตาจะมีตูบปู่ ตาซึ่ งถือว่าเป็ นสถานที่ศกดิ์สิทธิ์
้
ั
ชาวบ้านจะไปทาพิธีเคารพสักการะเป็ นประจาทุกปี โดยจะมีการเลี้ยงผีปู่
ตาเพื่อความเป็ นสิ ริมงคล และทานายฟ้ าฝนไปด้วยในขณะเดียวกัน โดย
ปกติดอนปู่ ตาจะเป็ นป่ ารกครึ้ ม มีสัตว์ป่านานาชนิ ดอาศัยอยู่ เนื่องจากไม่มี
ใครกล้าเข้าไปตัดไม้หรื อจับสัตว์ในป่ าดอนปู่ ตา เพราะเกรงกลัวปู่ ตาจะทา
ให้มีอนเป็ นไป
ั

ตูบ (ศาล)

หมายถึง ศาลหรื อตัวเรื อนที่มีขนาดเล็กกว่ากระท่อม ที่ปลูกไว้ให้ ปู่ ตา
อาศัยอยู่ ภายในตูบจะ มีเครื่ องใช้ที่จาเป็ น ที่เชื่ อถือกันว่าเป็ นสิ่ งของที่ปู่ตา
ต้องการ เช่น รู ปปั้ นคน สัตว์ เพื่อเป็ นข้าทาสบริ วารให้ปู่ตาใช้สอย
ด้านหน้าตูบมักจะสร้างให้มีชานยืนออกมาสาหรับเป็ นที่ต้ ง หรื อวางเครื่ อง
่
ั
บูชาและเครื่ องเซ่นสังเวย ในสมัยก่อนจะมุงด้วยหญ้าคาหรื อใบไม้สาน
ขัดกัน แต่ในปั จจุบนจะพบว่าตูบปู่ ตามุงหลังคาด้วยสังกะสี บางแห่งใช้
ั
ปูนซีเมนต์ในการสร้างเป็ นโรงเรื อน

ผีปู่ตา

หมายถึง ผีบรรพบุรุษหรื อผีเจ้าที่ ที่คอยดูแลป่ าประจาหมู่บาน
้

บ๋ า

หมายถึง การบนบานผีปู่ตาให้ช่วยเหลือในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งผูไป บน
้
บานนั้นมีความประสงค์จะให้ปู่ตาช่วยเหลือ

ปลงบ๋ า

ั
หมายถึง การแก้บนที่ทาไว้กบปู่ ตา โดยจะนาสิ่ งของเครื่ องแก้บ๋ามีขาวตอก
้
ดอกไม้ ธูปเทียน อาหารคาวหวาน เป็ นต้น มาเซ่นไหว้ผปู่ตา ตามที่ออก
ี
ปากเมื่อครั้งที่ได้ทาพิธีบ๋า
13
ขะจา
้

หมายถึง ผูประกอบพิธีกรรมในการติดต่อสื่ อสารกับผีปู่ตาได้
้

ความเชื่อ

หมายถึง สิ่ งที่มนุษย์ยดถือเป็ นเครื่ องชี้ทางการดารงชีวิต ควบคุมความ
ึ
ประพฤติ และยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้ดาเนินชี วตร่ วมกันในสังคมได้อย่างเป็ น
ิ
สุ ข

พิธีกรรม

หมายถึง การกระทาที่เป็ นวิธีการ เพื่อให้สาเร็ จผลที่ตองการ พิธีกรรมเป็ น
้
ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมที่สาคัญในสังคมไทย เป็ นเรื่ องของการ
ผสมผสานระหว่างศาสนากับไสยศาสตร์ มีการอ้อนวอน ขอร้อง สิ่ ง
นอกเหนือธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่ วนรวม
ภาคผนวก
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าจริงใจ รักจริง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว teadateada
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)Wasan Woonson
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pageบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 

La actualidad más candente (20)

PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f15-1page
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว
โครงงานเครื่องคัดแยกมะนาว
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pageบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 

Destacado

โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝาง
โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝางโครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝาง
โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝางnisachon123
 
ประวัติบ้านโคกงาม
ประวัติบ้านโคกงามประวัติบ้านโคกงาม
ประวัติบ้านโคกงามarparwan125
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะKna Knaja
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jom-Jam HulaHula
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนBlogAseanTraveler
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

Destacado (15)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝาง
โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝางโครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝาง
โครงงานเรื่อง ความเป็นมาศาลตาปู่บ้านฝาง
 
ประวัติบ้านโคกงาม
ประวัติบ้านโคกงามประวัติบ้านโคกงาม
ประวัติบ้านโคกงาม
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
 
อาหาร Fast food
อาหาร Fast foodอาหาร Fast food
อาหาร Fast food
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Similar a 1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพัน พัน
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อrungthip131
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อthitinanmim115
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมteerasak ch.
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014Sircom Smarnbua
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 

Similar a 1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว (20)

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรม
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
 
1
11
1
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 

Más de Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 

Más de Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 

1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว

  • 1. รายงานโครงการดอนปู่ ตาภูมปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน ิ กลุ่ม พลพรรครักษ์ ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ องถิน) ่ รายชื่อสมาชิก 1. เด็กหญิงธนาพร โหรเวช ชั้น ม.2 6. เด็กหญิงไพริน ทิพนัด 2. เด็กหญิงพัชรินทร์ ศรีวเิ ศษ ชั้น ม.2 7. เด็กชายไชยพัฒน์ วงศ์ คาจันทร์ ชั้น ม.2 3. เด็กหญิงปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.2 8. เด็กหญิงวิภาดา มุ่งรายกลาง ชั้น ม.2 4. เด็กหญิงอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.2 9. เด็กหญิงจันทรารัตน์ สาขามุละ ชั้น ม.3 5. เด็กหญิงสุ ดารัตน์ นงค์ พรมมา ชั้น ม.2 10. เด็กชายกฤษณะ กิจนุกร ชั้น ม.2 ชั้น ม.3 ครู ทปรึกษาโครงการหลัก : นายศิริวุฒิ บัวสมาน ี่ ครู ทปรึกษาโครงการร่ วม : นางธีร์กญญา พลนันท์ ี่ ั โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด ั สั งกัดสานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ้ ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้
  • 2. รายงานโครงการดอนปู่ ตาภูมปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน ิ กลุ่ม พลพรรครักษ์ ดอนปู่ ตา (ประเด็นศึกษา: วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ องถิน) ่ รายชื่อสมาชิก 1. เด็กหญิงธนาพร โหรเวช ชั้น ม.2 6. เด็กหญิงไพริน ทิพนัด 2. เด็กหญิงพัชรินทร์ ศรีวเิ ศษ ชั้น ม.2 7. เด็กชายไชยพัฒน์ วงศ์ คาจันทร์ ชั้น ม.2 3. เด็กหญิงปาริฉัตร สวัสดิ์ผล ชั้น ม.2 8. เด็กหญิงวิภาดา มุ่งรายกลาง ชั้น ม.2 4. เด็กหญิงอริสรา วินิจบุตร ชั้น ม.2 9. เด็กหญิงจันทรารัตน์ สาขามุละ ชั้น ม.3 5. เด็กหญิงสุ ดารัตน์ นงค์ พรมมา ชั้น ม.2 10. เด็กชายกฤษณะ กิจนุกร ชั้น ม.2 ชั้น ม.3 ครู ทปรึกษาโครงการหลัก : นายศิริวุฒิ บัวสมาน ี่ ครู ทปรึกษาโครงการร่ วม : นางธีร์กญญา พลนันท์ ี่ ั โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด ั สั งกัดสานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ้ ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้
  • 3. ก คานา รายงาน เรื่ อง “ดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุ รักษ์ ป่าชุ มชน” (ประเด็นที่ศึกษา : วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่ น) นี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่ นในการอนุ รักษ์ป่าชุ มชนของชาวบ้าน โดย นักสารวจกลุ่ มพลพรรครั กษ์ดอนปู่ ตา โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา อาเภอศรี สมเด็จ ั จังหวัดร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่ งท้องทุ่งปี ที่ 5 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการเรี ยนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่ งท้อง ทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุ รักษ์ และขั้นแบ่งปั น โดยศึกษาเกี่ ยวกับความเชื่ อ พิธีกรรมและภูมิ ปัญญาชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน สภาพปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ า ดอนปู่ ตาและศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมี ชีวิตเบื้ องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด นัก สารวจกลุ่ มพลพรรครั กษ์ดอนปู่ ตา ขอขอบพระคุ ณ ท่ า นสุ รศัก ดิ์ ศรี ละมนตรี ผูอานวยการ ้ โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คณะ ั ผูบริ หาร คณะคุณครู โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยาทุกท่าน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ้ ั ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิ เวศเกษตรที่ให้การ อบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณหัวหน้าศูนย์ ประสานงานป่ าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่อนุ เคราะห์วิทยากรและหนังสื อเกี่ ยวกับป่ าไม้ นายกองค์การบริ หาร ส่ วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุ ทธิ บาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรู ญ ศรี ทอง ที่อนุ ญาตให้เข้าศึกษา ในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ ต าบลสวนจิ ก ขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ยายทอง มงคลมะไฟ คุ ณ ยายกล พันชวะนัส ที่ แนะนาเกี่ ยวกับเห็ ด คุ ณตาสุ ข พันโภคา ที่ แนะนาเกี่ ยวกับพืชสมุ นไพร คุ ณเรื อง วิลยพิท ย์ ั คุ ณสมปอง ทิพนัด ขะจ้ าที่ แนะนาพิธีกรรม คุ ณพิสุทธิ์ เอกอานวย ที่แนะนาหนังสื อเกี่ ยวกับแมลงชนิ ด ต่างๆ ในประเทศไทย ขอขอบพระคุณ คุณเกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์ ขอขอบคุณ กลุ่มสาระน่ารู ้จากแมลง ที่ให้ ความรู ้เกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ขอขอบคุณผูดูแลระบบของเว็บไซต์ www.malaeng.com ที่ให้ขอมูลเกี่ยวกับ ้ ้ แมลงดีมาก และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้ หวัง เป็ นอย่า งยิ่ง ว่ารายงานฉบับ นี้ คงมี ป ระโยชน์ หรื อเป็ นแนวทางในการศึ กษาด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผพฒนาให้ดียงขึ้น ู้ ั ิ่ คณะผู้จัดทา 30 พฤศจิกายน 2556
  • 4. ข สารบัญ เรื่อง หน้ า คานา ก สารบัญ ข 1. บทคัดย่อโครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน 1 2. ทีมาและความสาคัญ ่ 2 3. วัตถุประสงค์ 3 4. ระยะเวลา 3 5. พืนทีดาเนินโครงการ ้ ่ 3 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3 7. ผลและสรุ ปผลการดาเนินงาน 5 บรรณานุกรม 9 อภิธานศัพท์ 12 ภาคผนวก 14-204
  • 5. 1 1. บทคัดย่อโครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน โครงการดอนปู่ ตาภูมิปัญญาในการอนุ รักษ์ป่าชุมชน โดยกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา มีวตถุประสงค์ ั เพื่อศึกษาและเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับความเชื่ อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการอนุ รักษ์ป่าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน สภาพปั ญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ และเพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในป่ า ดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้ อยเอ็ด โดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน ได้แก่ ค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปั น จากการลงพื้นที่คนหาแหล่งศึกษาดอนปู่ ตาในเขตอาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า มีดอนปู่ ตา ้ ที่ยงคงสภาพป่ าและยัง มีการทาพิธีกรรมเกี่ ยวกับดอนปู่ ตาอยู่จานวน 4 ตาบล 12 หมู่บาน จากทั้งหมด 8 ั ้ ตาบล 82 หมู่บาน คิดเป็ นร้อยละ 14.63 ของหมู่บานทั้งหมดในอาเภอศรี สมเด็จ และจากกรณี ศึกษาดอนปู่ ตา ้ ้ สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก พบว่า ชาวบ้านสวนจิกและบ้านสนามชัยมีความเชื่อถือศรัทธาในผีปู่ตาว่าเป็ น ่ วิญญาณของบรรพบุรุษที่สิงสถิตอยูในบริ เวณป่ าดอนปู่ ตาคอยปกปั กรักษาและคุมครองชาวบ้านที่ประพฤติดีให้ ้ มีความร่ มเย็นเป็ นสุ ขและลงโทษผูที่ทาผิดข้อห้ามต่ างๆ เช่ น ห้ามตัดไม้ ห้ามล่ าสัตว์ ถ้าใครละเมิ ดก็จะมี อน ้ ั เป็ นไป ทาให้เกิดความเกรงกลัว ทาให้ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต และเป็ น แหล่งอาหารของชุมชนโดยชาวบ้านมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาผ่านพิธีกรรม ได้แก่ พิธีเลี้ยง พิธีเสี่ ยงทายและพิธี บนบาน ซึ่งนับเป็ นภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของชุมชนชาวอีสานที่สืบทอดเกี่ยวโยงไปถึงความผูกพันระหว่างคน กับป่ าอย่างแนบแน่น ทาให้ชุมชนเห็นความสาคัญและประโยชน์ของป่ าดอนปู่ ตาและต้องการอนุ รักษ์ภูมิปัญญา ดอนปู่ ตานี้ไว้เป็ นสมบัติของท้องถิ่น ในปัจจุบนเยาวชนในหมู่บานดังกล่าวมีความเชื่ อถือผีปู่ตาแต่ไม่มีความรู้ ั ้ และเข้า ใจในพิธี ก รรมมากนัก เพราะจัดขึ้ นปี ละ 1 ครั้ งเท่ า นั้น และถ้าหากไม่ อนุ รัก ษ์ภูมิ ปั ญญานี้ ไ ว้ใ น อนาคตอาจสู ญหายไปจากชุ ม ชนได้ จากการศึ กษาความหลากหลายของสิ่ ง มี ชีวิ ต เบื้ อ งต้น พบว่ า มี พื ช มากกว่า 10 ชนิด สมุนไพร 6 ชนิด ผลไม้ป่า 8 ชนิด เห็ด มากกว่า 13 ชนิด แมลง 15 ชนิด และนก 6 ชนิด แสดงว่าดอนปู่ ตาแห่ งนี้มีความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตและมีความอุดมสมบูรณ์ อันเป็ นผลมาจากภูมิปัญญาใน การอนุรักษ์ดอนปู่ ตาแห่ งนี้เอาไว้ 2. ทีมาและความสาคัญ ่ จากการที่กลุ่มของพวกเราเดินทางมาโรงเรี ยน ระหว่างทางผ่านหมู่บานต่างๆ พวกเราพบว่า ในแต่ ้ ละหมู่บานจะมีป่าขนาดเล็กบ้าง ป่ าขนาดใหญ่บาง พวกเราจึงไปถามคุณครู และชาวบ้านจนทราบว่า ป่ าที่มี ้ ้ ่ อยูประจาในแต่ละหมู่บานนั้น เรี ยกว่า “ดอนปู่ ตา” เป็ นสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ ซึ่ งเป็ นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชน ้ ั คนอี สานที่สามารถรั กษาป่ าชุ มชนไว้ให้ชวลู กชั่วหลาน โดยมี ความเชื่ อ และพิธีกรรมที่ น่าสนใจ ซึ่ งเป็ น ั่
  • 6. 2 กุศโลบายอันแยบยลในการที่จะรักษาป่ าให้เป็ นที่สาธารณะประโยชน์ร่วมกัน ซึ่ งป่ าดอนปู่ ตามีกระจายอยู่ ทัวไปทุ กหมู่บานในภาคอี สาน แต่ยงขาดการเอาใจใส่ จากทางหน่ วยงานราชการ ทาให้ป่าดอนปู่ ตาบาง ้ ั ่ หมู่บานถูกบุกรุ กแผ้วถางทาเป็ นที่ดินส่ วนตัว ทั้งๆ ที่ป่าดอนปู่ ตาเป็ นแหล่งรวบรวมความหลากหลายทาง ้ ชีวภาพ ทั้งพันธุ์พืช สัตว์และสิ่ งมีชีวตชนิดต่างๆ ซึ่ งเป็ นสิ่ งรักษาความสมดุลของธรรมชาติ ิ ดังนั้น พวกเราจึงตั้งกลุ่ มเยาวชนขึ้นมาชื่ อว่า “พลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา” ศึกษาเรื่ อง “ดอนปู่ ตาภูมิ ปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน” เพื่อที่จะศึกษาเรี ยนรู้ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการรักษา ป่ าชุมชน ศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต รู ปแบบการอนุ รักษ์ป่า ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ าดอน ปู่ ตาของชาวบ้าน 3. วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อศึกษาและเรี ยนรู ้เกี่ยวกับความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน สภาพปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการใช้ประโยชน์ในป่ าดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวน จิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิ ก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 4. ระยะเวลา : 5 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 30 พฤศจิกายน 2556 5. พืนทีดาเนินโครงการ : ้ ่ ดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ : ขั้นที่ 1 การค้ นหา (1 สัปดาห์) 1.1 สอบถามสมาชิกในกลุ่ม เพื่อนนักเรี ยน คุณครู และชาวบ้านว่าที่ชุมชน/หมู่บานใดมีป่าดอนปู่ ตา ้ 1.2 ค้นหาพื้นที่ป่าดอนปู่ ตาในอาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดอย่างคร่ าวๆ จากแผนที่ดาวเทียมใน Google Earth แล้วทาเครื่ องหมายกาหนดว่าชุมชน/หมู่บานใดมีป่าดอนปู่ ตา ้ 1.3 เดิ นทางไปสารวจพื้นที่ชุมชน/หมู่บานที่ทาเครื่ องหมายไว้ในแผนที่ที่คาดว่าจะมีป่าดอนปู่ ตา ้ พร้อมสอบถามชาวบ้านอย่างคร่ าวๆ เกี่ยวกับความเชื่อ พิธีกรรม และวิธีการในการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา
  • 7. 3 1.4 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายที่เหมาะสมในการศึกษาว่า มีอะไรบ้างที่น่าสนใจและน่าศึกษา ขั้นที่ 2 การสารวจ (12 สัปดาห์) 2.1 ประชุ มครู ที่ปรึ กษาและสมาชิ กในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา เพื่อวางแผนการสารวจพื้นที่ เป้ าหมาย ทั้งขั้นตอน วิธีการ กาหนดการสารวจภาคสนาม ตลอดจนการแบ่งหน้าที่ในการทางาน 2.2 ครู ที่ปรึ กษาเชิญวิทยากรจากศูนย์ประสานงานป่ าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ กับสมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตาและผูที่สนใจเกี่ยวกับการสื บค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจย ้ ั ที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ วิธีการสัมภาษณ์ วิธีการศึกษาภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน การ บันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ขอมูล การเขียนรายงาน การนาเสนอข้อมูล และวิธีการสารวจความหลากหลาย ้ ของสิ่ งมีชีวตในป่ าดอนปู่ ตาทั้ง พืช สัตว์ แมลง เห็ด ไลเคน และสิ่ งมีชีวตอื่นๆ ิ ิ 2.3 ส่ ง หนัง สื อ ขออนุ ญ าตองค์ก ารปกครองส่ วนท้อ งถิ่ น ก านัน และผูใ หญ่ บ ้า น/ผูน าชุ ม ชน/ ้ ้ คณะกรรมการหมู่บานที่ดูแลรับผิดชอบ เพื่อขอเข้าสารวจป่ าดอนปู่ ตาและสัมภาษณ์ชาวบ้าน ตลอดจนการ ้ เข้าร่ วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมและกิจกรรมต่างๆ ในป่ าดอนปู่ ตา 2.4 ลงพื้นที่สารวจภาคสนามตามกาหนดการที่วางแผนไว้ โดยสัมภาษณ์ความเชื่ อ พิธีกรรมและ ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้ประโยชน์ รู ปแบบ/การอนุ รักษ์ ปั ญหา อุปสรรคและวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ในป่ าดอนปู่ ตา และสารวจเกี่ ยวกับความหลากหลายของสิ่ งมี ชีวิตในป่ าดอนปู่ ตาทั้ง พืช สัตว์ แมลง เห็ ด ไลเคน และสิ่ งมีชีวตอื่นๆ ิ 2.5 นาผลการสารวจมาจัดกระทาข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล สรุ ปและอภิปรายผล เขียนรายงานพร้อมเข้า ้ รู ปเล่มให้สวยงามและจัดทาสิ่ งประดิษฐ์และหนังสื อเล่มเล็ก 2.6 ส่ งหนังสื อขอบคุณหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการศึกษาครั้งนี้ ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์ (4 สัปดาห์) 3.1 อนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้ าป่ าต้ นไม้ สายธารแห่ งเมล็ดพันธุ์ร่วมใจกัน ่ ั บวชป่ า” เพื่อเป็ นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถฯ เพื่อเป็ นการสร้างจิตสานึ กและจิตสาธารณะในการอนุ รักษ์ดอนปู่ ตา ต้นไม้ และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เพื่อเป็ นการบูรณาการการเรี ยนรู ้สิ่งแวดล้อมร่ วมกันระหว่างหมู่บาน วัด ้ และโรงเรี ยน (บวร) และเป็ นการสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุ มชนด้านการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม
  • 8. 4 โดยทอดถวาย ณ วัดบ้านสวนจิก อาศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด และมีการปลูกต้นไม้ พร้ อมกับการบวชป่ า ดอนปู่ ตาร่ วมกับเจ้าคณะอาเภอศรี สมเด็จ พระสงฆ์วดบ้านสวนจิก กานันตาบลสวนจิก ผูใหญ่บานบ้านสวน ั ้ ้ จิก อาสาสมัครสาธารณะสุ ขประจาหมู่บาน(อสม.) ตาบลสวนจิก ชาวบ้านสวนจิก ชาวบ้านสนามชัยและ ้ หมู่บานใกล้เคียง นักเรี ยนชุ มนุ มนักสารวจแห่ งท้องทุ่ง กลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. ้ คณะครู -อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒนาวิทยา ั 3.2 อนุรักษ์ภูมิปัญญาโดยแต่งบทเพลง สรภัญญะ ผญา และ กลอนลา เกี่ยวกับการอนุ รักษ์ป่าดอน ปู่ ตา และจัดทาลงในแผ่น CD/DVD นาไปให้ผนาชุมชนและสถานีวทยาชุมชนเปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟังสร้าง ู้ ิ ความตระหนัก โดยรณรงค์ให้ชาวบ้านในชุมชนเห็นประโยชน์และความสาคัญของป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน ตนเอง เพื่อให้เกิดความหวงแหนและช่วยกันอนุ รักษ์ไว้ให้ลูกหลาน โดยจัดกิจกรรมผ่านการจัดนิ ทรรศการ และหอกระจายเสี ยง/วิทยุชุมชน 3.3 ส่ งเสริ มให้มีการร่ วมมื อกันจัดตั้งคณะกรรมการป่ าชุ มชนและเครื อข่ายป่ าดอนปู่ ตา เพื่อทา หน้าที่ดูแลรักษาและอนุรักษ์ป่าดอนปู่ ตา โดยมีการประชุมชาวบ้านให้มีการเลือกตั้งกรรมการชุดดังกล่าว 3.4 จัดให้มีการประชาคมชาวบ้านในหมู่บานต่างๆ ให้ต้ งกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับในการใช้ประโยชน์ ้ ั จากป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชนร่ วมกัน แล้วจัดทาป้ ายติดไว้บริ เวณป่ าดอนปู่ ตา 3.5 เชิ ญชวนและร่ วมมือกับชาวบ้านในการนากล้าไม้ป่าท้องถิ่น เช่น ยางนา มะค่าโมง มาปลูกใน บริ เวณป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน โดยนักเรี ยนสมาชิกในกลุ่ม/ชาวบ้านเพาะต้นกล้าเองหรื อขอสนับสนุ นต้นกล้า จากหน่วยงานของรัฐหรื อเอกชน ในวันสาคัญต่างๆ 3.6 ร่ วมมือกับชาวบ้านในชุ มชนจัดทาป้ ายเขตป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน ป้ ายห้ามล่าสัตว์ กลอน คติ เตือนใจ หรื อคาคมติดตามต้นไม้รอบๆ ป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุมชน 3.7 สมาชิกในกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา แต่งและร้องเพลงเกี่ยวกับการอนุ รักษ์ดอนปู่ ตา/ป่ าชุ มชน แล้วนาไปเปิ ดที่หอกระจายเสี ยงของหมู่บานต่างๆ หรื ออาจทาลงแผ่น CD แล้วขอให้สถานี วิทยุชุมชนช่วย ้ เปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟังและเกิดความตระหนักรู ้ ขั้นที่ 4 การแบ่ งปัน (3 สัปดาห์) 4.1 รายงานผลการดาเนิ นโครงการและร้ องเพลง สรภัญญะ ผญา และกลอนลาในกิ จกรรมหน้า เสาธงแก่นกเรี ยน ครู และผูบริ หาร ั ้ 4.2 จัดรายการเสี ยงตามสาย ณ ห้องประชาสัมพันธ์ของโรงเรี ยน ในตอนกลางวันของวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
  • 9. 5 4.3 จัดส่ งรายงานผลการศึกษาและมอบแผ่น CD เพลง สรภัญญะ ผญา และกลอนลาอนุรักษ์ดอน ั ปู่ ตาสู่ ชุมชน ให้กบหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง เช่ น โรงเรี ยน หมู่บาน/ชุ มชน องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่ น ้ นายอาเภอ ผูว่าราชการจังหวัด สานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมจังหวัดร้ อยเอ็ด และสถานี ้ วิทยาชุ มชนเปิ ดให้ชาวบ้านได้รับฟั ง เพื่อให้รับทราบข้อมูลต่างๆ ที่กลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตาได้ร่วมกัน สารวจและค้นพบ 4.4 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรี ยนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครู -อาจารย์ ชาวบ้าน ในชุมชนหรื อผูที่สนใจ ในรู ปแบบต่อไปนี้ ้ 4.4.1 การจัดบอร์ ดนิ ทรรศการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทาและสิ่ งที่ได้คนพบทั้งในโรงเรี ยนและ ้ ชุมชน 4.4.2 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ ตา 4.5 จัดทาสมุดเล่มเล็ก/นิทานเล่มเล็กให้ผสนใจอ่านในห้องสมุด ู้ 7. ผลและสรุ ปผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่ สารวจและสัมภาษณ์ เกี่ ย วกับ ความเชื่ อ พิ ธีกรรมและภู มิปัญญาชาวบ้านในการ อนุ รั ก ษ์ ป่ าดอนปู่ ตา/ป่ าชุ ม ชน สภาพปั ญ หา อุ ป สรรค ตลอดจนการใช้ ป ระโยชน์ ใ นป่ าดอนปู่ ตา สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ประวัติความเป็ นมา เมื่อประมาณ พ.ศ.2329 (200กว่าปี มาแล้ว) ได้มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่ งอพยพมาตั้ง หมู่บานสวนจิก ที่มีชื่อนี้เพราะมีตนจิก (เต็ง) เยอะมาก หมู่บานแห่งนี้ต้ งอยูบนพื้นที่ที่เป็ นเนิ น และมีการแบ่ง ้ ้ ้ ั ่ พื้นที่ส่วนหนึ่งด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อซึ่ งเป็ นป่ าดงดิบแล้งและมีความอุดมสมบูรณ์ไว้เป็ นป่ าดอนปู่ ตา มีการสร้างตูบ (ศาล) ไว้เป็ นที่สิงสถิตของผีปู่ตา ในด้ านความเชื่ อ ชาวบ้านมีความเชื่ อว่า ดอนปู่ ตาเป็ นป่ า ศักดิ์สิทธิ์ ที่ผปตาซึ่ งเป็ นผีบรรพบุรุษมีพลังอานาจช่วยปกป้ องคุมครอง รักษาป่ า คนและสัตว์ นอกจากนั้น ยัง ี ู่ ้ ่ ดลบันดาลให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลง ควบคุมพฤติกรรมของคนในชุ มชน และกระตุนให้คนอยูร่วมกันอย่างมี ้ ระเบียบแบบแผน มีค วามสามัคคีปรองดองกัน มีความเมตตากรุ ณา รู ้ จกเสี ยสละ เกิ ดความสบายใจ และ ั มันใจ สร้างความรู ้สึกมันคงในชีวต มักจะมีเรื่ องเล่าอยูเ่ สมอว่า เมื่อมีคนเข้าไปตัดต้นไม้ ไปยิงสัตว์ ในอาณา ิ ่ ่ เขตผีปู่ตา นันคือ ผีปู่ตาก็จะมาสั่งสอน ผ่านการเข้าสิ งร่ างใครคนใดคนหนึ่ง แล้วบอกเล่า ว่ากล่าว ตักเตือน ่ หรื อกรณี สั่งสอนหนักหน่อย ก็จะทาให้เจ็บป่ วยแบบไม่รู้สาเหตุ หมอธรรมดารักษาไม่หาย เป็ นต้น เป็ นเหตุ
  • 10. 6 ให้ชาวบ้านเกรงกลัว ไม่ค่อยมีใครกล้าตอแยกับผืนป่ าอาณาเขตผีปู่ตา ปั จจุบนจึงมักพบเห็นร่ องรอยดอนปู่ ตา ั ่ อยูในหลายๆ หมู่บานในภาคอีสาน ้ ในด้ านพิ ธีกรรมที่เกี่ ยวข้องกับผีปู่ตาและดอนปู่ ตา เป็ นรู ปแบบของการจัดความสัมพันธ์ทางการ ั ั ผลิตระหว่างมนุ ษย์กบธรรมชาติ และระหว่างมนุ ษย์กบมนุ ษย์ดวยกัน บนพื้นฐานของความเชื่ อในอานาจ ้ ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ของผีปู่ ตาซึ่ ง เป็ นที่ เคารพบู ช าของคนในชุ ม ชน พิธี ก รรมที่ หวัง ในสิ่ ง นอกเหนื อธรรมชาติ ดล บันดาลให้ประสบผลสาเร็ จที่สาคัญคือ พิธีที่เกี่ ยวกับความอุ ดมสมบูรณ์ นอกจาก นั้นจะมีขะจ้ าเป็ นผูที่มี ้ บทบาทสาคัญที่สุด เพราะเป็ นตัวแทนสื่ อ สารระหว่างชาวบ้านกับผีปู่ตาในการทาพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ พิธี เลี้ยง พิธีเสี่ ยงทาย และพิธีบนบาน ซึ่งจัดขึ้นในวันพุธสัปดาห์ที่สองของเดือนหก (ประมาณเดือนพฤษภาคม) พิธีเลี้ยงผีปู่ตา จัดในตอนเช้า พิธีน้ ี มี "ขะจ้ า" เป็ นผูดาเนิ นการ โดยป่ าวประกาศให้ลูกบ้านทราบว่าจะทาพิธี ้ วันไหน และให้ ลูกบ้านบริ จาคเงิน ข้าวของตามศรัทธาให้แก่จ้ า เพื่อจะได้นาไปซื้ อเครื่ องเซ่ นมาทาพิธี ซึ่ งมี ไก่ 3 ตัว เหล้า 1 ขวด บุหรี่ ยาสู บ หมาก ผ้าซิ่ น ดอกไม้ และธู ปเทียน เมื่อถึงวันพิธี ชาวบ้าน 5หมู่บาน ได้แก่ ้ บ้านสวนจิก บ้านสนามชัย บ้านหนองไฮ บ้านหญ้าคาและบ้านหนองคูคา ทุกครอบครัวไปร่ วมงาน ซึ่ งจัดขึ้น เวลาเช้า ณ ศาลปู่ ตาตาบลสวนจิก ในพิธีมีการเสี่ ยงทายโดยใช้ไก่ 3 ตัว เป็ นเครื่ องเสี่ ยงทาย 3 กรณี คือ ไก่ ตัว ที่ 1 เสี่ ยงทายเรื่ องเกี่ยวกับมนุ ษย์ ไก่ ตัวที่ 2 เสี่ ยงทายเกี่ยวกับฝนฟ้ าอากาศ ไก่ ตัวที่ 3 เสี่ ยงทายเกี่ยวกับสัตว์ เลี้ยงและพืชพันธุ์ โดยดูจากลักษณะปลายขากรรไกรล่างทั้งสองข้างของไก่ ว่ามีลกษณะเป็ นอย่างไรบ้าง การ ั เสี่ ยงทายอีกประการหนึ่ง คือ การเสี่ ยงทายฟ้ าฝนด้วยบั้งไฟ แล้วให้ ทานายตามผลที่ปรากฏ ส่ วนการทานาย ตามลักษณะไก่ คือ ดึ งเอาขากรรไกร (ปากล่าง) ของไก่ที่บูชาตาแล้ว ออกมา แล้วดูว่าปลายขากรรไกรทั้ง สองข้าง (ซึ่ งมีลกษณะเป็ นสองง่าม) เป็ นอย่างไร ถ้าปลายง่ามห้อยตกลงหรื อไม่เสมอกัน หมายถึ งในปี นั้น ั สัตว์เลี้ยงจะไม่สบาย เกิ ดโรค ถ้าเกี่ ยวกับคนทายว่าจะแตกความสามัคคี เจ็บไข้ได้ป่วย ถ้าเกี่ ยวกับพืชพันธุ์ ธัญญาหาร ก็จะไม่สมบูรณ์ ถ้าง่ามขากรรไกรทั้งสองข้างยาวเท่ากัน จะหมายถึงมีความอุดมสมบูรณ์ท้ งสัตว์ ั เลี้ยง ผูคน และพืชพันธุ์ ถ้าขากรรไกรมีสีขาว แสดงว่า ฝนแล้ง ถ้าขากรรไกรมีสีดา แสดงว่า ฝนฟ้ าดี ซึ่ งพิธี ้ เลี้ยงผีปู่ตาเป็ นเหตุการณ์หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการทานาปลูกข้าวอย่างใกล้ชิด ผลคาทานายเป็ นเช่นไร ชาวบ้าน มักจะนาไปเป็ นข้อมูลในการเตรี ยมตัวทานาในปี นั้น ๆ นอกจากนั้นปู่ ตา ยังมีความสาคัญกับหมู่บานเพราะ ้ เป็ นที่พ่ ึงทางใจ เป็ นผูอนุ รักษ์ป่าไม้ชุมชนของหมู่บานนั้น ๆ ให้ ยังคงอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่ งอาหารเลี้ ยง ้ ้ ชุ มชนตราบเท่าลูกหลาน พิธีบนบานเมื่อผูบนบานประสบผลสาเร็ จแล้ว จะมาหาขะจ้ าให้ช่วยทาพิธีแก้บน ้ ให้ สาหรับสภาพปั ญหาและอุปสรรคในปั จจุบนนี้ เมื่อความเจริ ญคืบคลานเข้ามามากๆ เรื่ องของดอน ั ปู่ ตาก็อาจจะจางหายไป ด้วยเหตุ ที่ดอนปู่ ตาไปอยู่ในเส้นทางของการพัฒนาตัดถนนหนทางให้กว้างขวาง และในปั จจุบนในหลายชุมชน กาลังได้รับความกระทบกระเทือนจากบุคลากร องค์กร ทั้งของรัฐและเอกชน ั บุกรุ กทาลายในรู ปแบบต่างๆ อยู่ตลอดเวลา และอีกหลายชุ มชน สภาพป่ าดอนปู่ ตาต้องสู ญสลายไป โดย
  • 11. 7 สิ้ นเชิ งหรื อถูกเบียดบังพื้นที่บางส่ วนหรื อส่ วนใหญ่ไป โดยความรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ กลายเป็ นบ่อขยะ สถานี อนามัย ค่ายลูกเสื อ สถานี ไฟฟ้ า สนามกีฬา หรื อสถาบันทางสังคมอื่นๆ ซึ่ งดูจะเอื้อประโยชน์ที่แตกต่างกัน จากอดีตอย่างสิ้ นเชิง ในด้ านการบริ หารจัดการในป่ าดอนปู่ ตา จะเน้นความร่ วมมือของชุ มชน โดยสื่ อให้ชุมชนได้เห็นว่า ป่ ามิ ได้เป็ นสมบัติของใครคนใดคนหนึ่ ง แต่เป็ นสมบัติของทุ กคนที่ควรจะหวงแหนและช่ วยกันรั กษาไว้ ั เพราะป่ าเป็ นแหล่งที่ให้ประโยชน์กบคนเป็ นส่ วนใหญ่ อีกทั้งยังเป็ นมรดกอันล้ าค่าที่บรรพบุรุษได้ปกปั กษ์ ่ รักษาไว้ ควรจะช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยูตลอดไปและมีการตั้งข้อห้ามและข้อปฏิบติกบปู่ ตา เช่น ห้ามจับสัตว์ ั ั ่ ทุกประเภทในบริ เวณดอนปู่ ตา ให้ถือว่าเป็ นเขตอภัยทาน บ้างก็เชื่อว่าสัตว์เล็ก สัตว์ใหญ่ ที่อยูอาศัยในบริ เวณ ดอนปู่ ตาคื อบริ วารของท่าน ห้ามผูใดล่ า สัตว์เด็ ดขาด จึ งมัก พบเสมอว่าในพื้นที่ ดอนปู่ ตาจะมี สัตว์หลาย ้ ประเภทอาศัยอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ห้ามตัดไม้ทุกชนิ ดในป่ าปู่ ตา จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากขะจ้ าหรื อได้รับ อนุญาตจากมติของชาวบ้าน จึงจะสามารถเข้าไปตัดไม้มาใช้ประโยชน์ได้ ห้ามแสดงกิริยาและพฤติกรรมอัน ไม่เหมาะสมต่อสถานที่ เช่น ปั สสาวะ อุจจาระ ในเขตพื้นที่ดอนปู่ ตา ห้ามประพฤติตนในเชิงกามารมณ์ใน ดอนปู่ ตา หรื อมัวสุ มเสพของมึนเมา เพราะถือว่ามีเจตนาไม่เคารพต่อปู่ ตา ห้ามลบหลู่ และกล่าววาจาใดที่ส่อ ่ เจตนาไม่เคารพปู่ ตา ด้วยเหตุที่มีขอห้ามเหล่านี้ พื้นที่ดอนปู่ ตาจึงมักเป็ นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีตนไม้หนาแน่น ้ ้ มีสัตว์อาศัยอยู่เป็ นจานวนมาก ดอนปู่ ตาจึ งกลายเป็ นวิธีการบริ หารจัดการการใช้ทรัพยากรของชุ มชนได้ อย่างคุมค่าที่สุด ้ ลักษณะการใช้ ประโยชน์ จากป่ าดอนปู่ ตา โดยทัวไปนั้นมีหลายประการ ได้แก่ 1) ใช้เป็ นสถานที่ใน ่ การประกอบพิธีกรรมอันเกี่ยวกับความศรัทธาที่มีต่อผีปู่ตา 2) เป็ นแหล่งอาหารหรื อแหล่งเก็บหาของป่ า เช่น เห็ด แมลง ผัก เป็ นต้น 3) เป็ นแหล่งสมุนไพรในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น 4) เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สาหรั บ เยาวชนและบุคคลทัวไป ในการปลูกฝังให้มีจิตสานึกรักษ์ผืนป่ า ด้วยการให้เข้ามาเรี ยนรู ้ และร่ วมกิจกรรม ่ กับชุมชนในการอนุรักษ์ป่า เพื่อให้เห็นวิธีการปฏิบติของบรรพบุรุษ และซึ มซับวัฒนธรรมไปพร้อมๆ กัน ั 5) เป็ นแหล่งเศรษฐกิจในการนาของป่ า เช่น เห็ดไปจาหน่ายในชุมชน 6) เป็ นสถานที่ใช้ประโยชน์ ทัวๆไปของชุมชน เช่น เลี้ยงสัตว์ประเภทวัว ควาย เป็ นต้น ่ ในด้ านภูมิปัญญาชาวบ้ าน ความเชื่อถือศรัทธาในผีบรรพชน “ผีปู่ตา” ซึ่ งนับเป็ นภูมิปัญญาอันชาญ ฉลาดของชุมชนชาวอีสาน ที่สืบทอดเกี่ยวโยงไปถึงความผูกพันระหว่างคนกับป่ าอย่างแนบแน่น ด้วยเหตุที่ ชุมชนต้องพึ่งพาป่ า เพื่อยังชี พตั้งแต่ก่อตั้งบ้านเรื อนเป็ นต้นมา จึงต้องกระทาตนให้ประสานกลมกลืนกับป่ า ในการอนุ รักษ์ป่าดอนปู่ ตาเป็ นศักยภาพของชาวบ้านในการ ดูแลและพัฒนาชุ มชนด้วยตนเอง โดยการใช้ ระบบความเชื่อ ความศรัทธาที่มีต่อผีปู่ตาผูมีพลังอานาจในการบันดาลให้เกิดความสุ ข ความทุกข์ ปกป้ องภัย ้ อันตรายจากสิ่ งร้ ายทั้งปวง ความเชื่ อเป็ นพื้นฐานของอานาจในการกาหนดกฎเกณฑ์ และข้อห้ามต่าง ๆ ที่ ั ั กาหนดความสัมพันธ์ ทางสังคมระหว่างมนุ ษย์กบมนุ ษย์ และมนุ ษย์กบธรรมชาติ แวดล้อม ความเชื่ อและ
  • 12. 8 พิธีกรรมยังเชื่อมโยงอย่างแนบแน่นกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิงในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ่ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ า ผลผลิต ชาวบ้านได้นาเอาความเชื่ อผีปู่ตาและ พิธีกรรมการเลี้ยงผีปู่ตามา เป็ นสื่ อในการปลุ กจิตสานึ กในการรักษาป่ า และทาความเข้าใจกับลูกบ้านให้มองเห็ นความสาคัญของป่ า ดอนปู่ ตาและทรัพยากร จึงสื บทอดความเชื่อ และรักษาพิธีกรรมนี้ไว้ โดยตอกย้ าความผูกพันทางจิตวิญญาณ ระหว่างคนและชุมชนกับธรรมชาติ จนกระทังชาวบ้านมีความเข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ป่า ่ และยังคงรักษาจารี ตประเพณี ความเชื่ อ และพิธีกรรมเกี่ ยวกับผีปู่ตาและป่ าดอนปู่ ตา ที่สอดคล้องกับการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่ าดอนปู่ ตาไว้เป็ นสมบัติของท้องถิ่น จากการศึกษาความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตเบื้องต้นในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรี สมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า มีสิ่งมีชีวต ดังนี้ ิ พืช มากกว่า 10 ชนิด เช่ น ต้นแดง โมก ประดู่ ไผ่ เพ็ก พยุง มะค่าแต้ มะค่าโมง เต็ง งิ้วป่ า พลวง กระทุ่มบก เป็ นต้น สมุนไพร 6 ชนิด ได้แก่ แก่นขี้หนู เถาเอ็นอ่อน ดูกใส บีคน กาแพงเจ็ดชั้น หมี่ เป็ นต้น ผลไม้ป่า 8 ชนิด ได้แก่ หมากหม้อ ลอมคอม เขลง ต้องแล่ง นมควาย มะกอกเลื่อม หวดข่า เล็บเหยียว ่ เห็ด มากกว่า 13 ชนิด เช่น เห็ดก่อบาง เห็ดตะไค เห็ดระโงกเหลือง เห็ดโคน เห็ดไส้เดือน เห็ดก่อม่วง เห็ดดิน เห็ดหน้าวัว เห็ดข้าวแป้ ง เห็ดเผาะ เห็ดถ่าน เห็ดขี้เถ้า เห็ดนกขอด เป็ นต้น แมลง 15 ชนิด ได้แก่ แมลงจินูนหลวง แมลงแคง แมลงทับ ด้วงกว่าง แมงป่ องช้าง จิงโกร่ ง จิงหรี ด ้ ้ มดแดง กิ้งกือ แมลงช้างหนวดยาว ปลวก ผีเสื้ อ ยุง แมลงวันหัวบุบ นก 6 ชนิดได้แก่ นกเขา นกเอี้ยง นกกระจิบ กา นกฮูก นกกาเหว่า ่ จะเห็ดได้วา ดอนปู่ ตาแห่งนี้ มีความหลากหลายของสิ่ งมีชีวตและมีความอุดมสมบูรณ์มาก อันเป็ น ิ ผลมาจากภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ดอนปู่ ตาแห่งนี้เอาไว้
  • 13. 9 บรรณานุกรม กรมป่ าไม้ สานักส่ งเสริ มการปลูกป่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แนวทางปฏิบัติงานโครงการพัฒนาป่ า ชุ มชน. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา, 2537, 66 หน้า. การ์ ดเนอร์ ไซมอน และคณะ. คู่มือศึกษาพรรณไม้ ยนต้ นในป่ าภาคเหนือ ประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: ื โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2543. 560 หน้า. เกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์. หนังสื อชุ ดสั งเกตธรรมชาติ ผีเสื้อ. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2540. 149 หน้า. ___________. Photographic guide to Moths in Thailand. สมุทรปราการ: BNEC., 2555. 64 หน้า. เกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์ และจารุ จินต์ นภีตะภัฏ. คู่มือแมลง. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2551. 224 หน้า. จารุ จินต์ นภีตะภัฏ กานต์ เลขะกุล และวัชระ สงวนสมบัติ. คู่มือศึกษาธรรมชาติหมอบุญส่ ง เลขะกุล นกเมืองไทย. กรุ งเทพฯ: คณะบุคคลนายแพทย์บุญส่ ง เลขะกุล, 2555. 488 หน้า. จารุ จินต์ นภีตะภัฏ และเกรี ยงไกร สุ วรรณภักดิ์. คู่มือดูผเี สื้อในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์วนา, 2544. 320 หน้า. จินตนา ใบกาซูย,ี วิยดา เทพหัตถี, สุ จิตรา กลิ่นเกษร, สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรี ยนรู้ เล่ ม 1, กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์, 2555, 192 หน้า. โดม ประทุมทอง. Bird Study เรียนรู้ เรื่องนก. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์กรี นแมคพาย, 2552. 623 หน้า. นิดดา หงส์ววฒน์. ผีเสื้อแสนสวย. กรุ งเทพฯ: คติ, 2554. 176 หน้า. ิั พาร์ จอห์น. สั ตว์ เลียงลูกด้ วยนมในประเทศไทย (ฉบับปรับปรุ ง). กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2553. 216 หน้า. ้ นิวฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ ประโยชน์ . กรุ งเทพฯ: ยูนิเวอร์ แซล ั กราฟฟิ ค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า. ประมวล พิมพ์เสน. ผญาห่ อโคลง. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2550, 121 หน้า. ___________.สารภัญญ์ เพลงกล่ อมลูก. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2552, 131 หน้า. ___________.หมอลากลอน. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2552, 117 หน้า. พริ มา ยนตรรักษ์. แมลงกินได้ . กรุ งเทพฯ: นานมีบุคส์, 2556, 160 หน้า. ๊ พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ และคณะ. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัด ร้ อยเอ็ด. ม.ป.ป., ม.ป.ท. พิสุทธิ์ เอกอานวย. ตั๊กแตนกิงไม้ . กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ่ ั
  • 14. 10 ___________.ตั๊กแตนต่ างๆ. กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ั ___________.ตั๊กแตนตาข้ าว. กรุ งเทพฯ: บริ ษท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ั ___________.ผีเสื้อกลางวัน. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า. ___________.แมลงปอ. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า. ___________.โรคและแมลงศัตรู พชทีสาคัญ. กรุ งเทพฯ: สายธุ รกิจโรงพิมพ์, 2553(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม), 591 หน้า. ื ่ มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล, สารานุกรมสมุนไพร เล่ ม5 สมุนไพรพืนบ้ านอีสาน. กรุ งเทพพฯ: อมริ นทร์ พริ้ นติง ้ ้ แอนด์พบลิชชิ่ง จากัด (มหาชน), 2548, 191 หน้า. ั ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2541. 366 หน้า. ___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุ งเทพฯ: อรุ ณการพิมพ์, 2546, 523 หน้า. ___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ข. กรุ งเทพฯ: อรุ ณการพิมพ์, 2547, 263 หน้า. รุ่ งโรจน์ จุกมงคล. Thailand BIRD GUIDE. กรุ งเทพฯ: สารคดี, 2549. 480 หน้า. วิโรจน์ เกษรบัว, ประนอม จันทรโณทัย. พรรณไม้ โคกภูตากา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2554, 131 หน้า. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ร่ วมอนุรักษ์ มรดกไทย สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสั ชกรรมไทย. กรุ งเทพฯ: โอ.เอส.พริ้ นติ้ง เฮ้าส์, 2540. 622 หน้า. เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล. หญ้ าพืชคลุมดิน. กรุ งเทพฯ: เศรษฐศิลป์ , 2554, 111 หน้า. สมเกียรติ อุ่นท้าว.การใช้ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นของประชาชนบ้ านฝาง อาเภอกระนวน จังหวัด ขอนแก่ น ในการอนุรักษ์ ป่าชุ มชน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2549. ส่ วนป่ าชุมชน กรมป่ าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. คู่มือป่ าชุ มชนสาหรับประชาชน. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2545, 6 หน้า. ่ สัมฤทธิ์ พุมสุ วรรณ และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ ม 7. กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์, 2555, 192 หน้า. สุ จิตรา กลิ่นเกสร และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ มที่ 7. กรุ งเทพฯ: ่ ั โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว, 2554.192 หน้า. สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่ าไม้ กรมป่ าไม้.คู่มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความ หลากหลายทางชีวภาพ “ด้ านเห็ดรา”.กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553.
  • 15. 11 ___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านภูมิปัญญาท้ องถิ่น”. กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ งประเทศไทย, 2553. ___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านพืช”.กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. ___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านแมลง”.กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. ___________.คู่ มือการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองของชุ มชนด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ “ด้ านไลเคน”.กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. สานักจัดการป่ าชุมชน กรมป่ าไม้. ป่ าชุ มชน รู ปแบบการพัฒนาและบริ หารจัดการป่ าอย่ างยังยืน. กรุ งเทพฯ: ่ สานักจัดการป่ าชุมชน กรมป่ าไม้, 2555, 120 หน้า. ___________.เอกสารประกอบการเรียนการสอนภายใต้ โครงการป่ าในเมืองเพือการศึกษา ่ “กล้ายิม” พันธุ์ไม้ มงคลพระราชทาน 76 จังหวัด. กรุ งเทพฯ: บริ ษทผลิตไฟฟ้ าราชบุรีโฮลดิ้ง จากัด ้ ั (มหาชน), 92 หน้า. สานักธรณี วทยา กรมทรัพยากรธรณี . ธรณีวิทยาจังหวัดร้ อยเอ็ด และแหล่ งเรี ยนรู้ ทางธรณีวิทยา. กรุ งเทพฯ: ิ กรมทรัพยากรธรณี , 2556, 48 หน้า. สาลี รักสุ ทธี . ผญาปรัชญาการดาเนินชีวตอันลาค่ าของชาวอีสาน. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์พฒนาศึกษา, 2551, ิ ้ ั 263 หน้า. สิ ริวฒน์ วงษ์ศิริ, และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ั ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ ม 17. กรุ งเทพฯ: ด่านสุ ทธาการพิมพ์ จากัด, 2555, 188 หน้า. อนงค์ จันทร์ศรี กุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2551, 514 หน้า. ___________.เห็ดในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,2550, 256 หน้า. *********************
  • 16. 12 อภิธานศัพท์ ดอนปู่ ตา หมายถึง ป่ าประจาหมู่บานของชาวอีสาน และเชื่อว่าเป็ นสถานที่สิงสถิต ้ ดวงวิญญาณของปู่ -ตา ถือว่าเป็ นที่ศกดิ์สิทธิ์ ประจาหมู่บาน โดยเฉพาะ ั ้ หมู่บานในภาคอีสาน ที่ดอนปู่ ตาจะมีตูบปู่ ตาซึ่ งถือว่าเป็ นสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ ้ ั ชาวบ้านจะไปทาพิธีเคารพสักการะเป็ นประจาทุกปี โดยจะมีการเลี้ยงผีปู่ ตาเพื่อความเป็ นสิ ริมงคล และทานายฟ้ าฝนไปด้วยในขณะเดียวกัน โดย ปกติดอนปู่ ตาจะเป็ นป่ ารกครึ้ ม มีสัตว์ป่านานาชนิ ดอาศัยอยู่ เนื่องจากไม่มี ใครกล้าเข้าไปตัดไม้หรื อจับสัตว์ในป่ าดอนปู่ ตา เพราะเกรงกลัวปู่ ตาจะทา ให้มีอนเป็ นไป ั ตูบ (ศาล) หมายถึง ศาลหรื อตัวเรื อนที่มีขนาดเล็กกว่ากระท่อม ที่ปลูกไว้ให้ ปู่ ตา อาศัยอยู่ ภายในตูบจะ มีเครื่ องใช้ที่จาเป็ น ที่เชื่ อถือกันว่าเป็ นสิ่ งของที่ปู่ตา ต้องการ เช่น รู ปปั้ นคน สัตว์ เพื่อเป็ นข้าทาสบริ วารให้ปู่ตาใช้สอย ด้านหน้าตูบมักจะสร้างให้มีชานยืนออกมาสาหรับเป็ นที่ต้ ง หรื อวางเครื่ อง ่ ั บูชาและเครื่ องเซ่นสังเวย ในสมัยก่อนจะมุงด้วยหญ้าคาหรื อใบไม้สาน ขัดกัน แต่ในปั จจุบนจะพบว่าตูบปู่ ตามุงหลังคาด้วยสังกะสี บางแห่งใช้ ั ปูนซีเมนต์ในการสร้างเป็ นโรงเรื อน ผีปู่ตา หมายถึง ผีบรรพบุรุษหรื อผีเจ้าที่ ที่คอยดูแลป่ าประจาหมู่บาน ้ บ๋ า หมายถึง การบนบานผีปู่ตาให้ช่วยเหลือในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งผูไป บน ้ บานนั้นมีความประสงค์จะให้ปู่ตาช่วยเหลือ ปลงบ๋ า ั หมายถึง การแก้บนที่ทาไว้กบปู่ ตา โดยจะนาสิ่ งของเครื่ องแก้บ๋ามีขาวตอก ้ ดอกไม้ ธูปเทียน อาหารคาวหวาน เป็ นต้น มาเซ่นไหว้ผปู่ตา ตามที่ออก ี ปากเมื่อครั้งที่ได้ทาพิธีบ๋า
  • 17. 13 ขะจา ้ หมายถึง ผูประกอบพิธีกรรมในการติดต่อสื่ อสารกับผีปู่ตาได้ ้ ความเชื่อ หมายถึง สิ่ งที่มนุษย์ยดถือเป็ นเครื่ องชี้ทางการดารงชีวิต ควบคุมความ ึ ประพฤติ และยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้ดาเนินชี วตร่ วมกันในสังคมได้อย่างเป็ น ิ สุ ข พิธีกรรม หมายถึง การกระทาที่เป็ นวิธีการ เพื่อให้สาเร็ จผลที่ตองการ พิธีกรรมเป็ น ้ ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมที่สาคัญในสังคมไทย เป็ นเรื่ องของการ ผสมผสานระหว่างศาสนากับไสยศาสตร์ มีการอ้อนวอน ขอร้อง สิ่ ง นอกเหนือธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่ วนรวม