SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
หน่วยที่ 8
แต่งเติมเว็บเพจด้วยกราฟิก
รู้จักกับภาพการฟิกชนิดต่างๆ
ภาพกราฟิกมีรูปแบบการจัดเก็บหลายชนิด โดยแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันในเรื่องของขนาดไฟล์ที่ใช้ในการภาพและ
จานวนสีที่แสดงได้สาหรับการสร้างเว็บเพจนั้นการฟิกที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นชนิด GIF และ JPEG นั้นมีข้อดีและข้อเสียต่อไปนี้จะ
กล่าวถึงการเลือกชนิดของการฟิกที่เหมาะสมในกานสร้างเว็บเพจ โดยทั่วไปเราจะพบว่าการผสานระหว่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ภาพชนิด GIF
การฟิก เป็นรูปแบบที่คิดค้นเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างแบบต่างๆรุ่นได้ ทาให้เหมาะสมสาหรับการนามาใช้ในเว็บเพจเพราะ
ต้องแสดงได้เครื่องที่แตกต่างกัน แต่ข้อจากัดกัดคือ สามารถใช้สีได้สูงสุดเพียงครั้งละ 256 สีเท่านั้น
ชนิดของภาพ JPEG
การฟิก ถูกพัฒนาเป็นการฟิกที่สามารถทางานกับเครื่องต่างแบบต่างรุ่นได้เช่นกัน ข้อดีของกราฟิกชนิดนี้ คือสามารถแสดงสีได้
สูงสุดถึง16.7 ล้านสี อย่างไรก็ตามจะมีการสูญเสียรายละเอียดบ้าง ซึ่งเป็นผลจากการบีบอักข้อมูล เพื่อลดขนาดภาพให้มีขนาด
ใหญ่จนเกินไป
แสดงภาพบนเว็บ <img>
หลังจากนั้นที่เราได้เตรียมภาพที่จะนามาใส่ในเว็บเพจแล้ว ต่อไปเป็นการนาภาพมาแสดง
การใส่ข้อความกากับภาพ
เราควรใส่ข้อความกากับภาพ เพราะว่ามีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มหนึ่งใช้บราวเซอร์ที่แสดงเฉพาะตัวอักษร และไม่สามารถโหลด
ภาพบนเว็บมาดูได้หรือในกรรีผู้ใช้กับกาหนดบราวเซอร์ไม่โหลดภาพมาแสดงเพราะต้องการอ่านเฉาพะข้อความ ข้อความนี้จะกากับ
แทนภาพซึ่งแม้กับผู้จะไม่เห็นภาพในเว็บเพจ แต่ก็สามารถอ่านคาบรรยายจากภาพเพื่อว่าทราบว่าภาพนั้นคืออะไรดีที่จริงแล้วการใช้
ข้อความกากับภาพที่มีประโยชน์สาหรับผู้ใช้บราวเซอร์ธรรมดาด้วย เพราะข้อความกากับภาพจะปรากฏในขณะภาพที่กาลังโหลดอยู่
สาหรับการแทรกข้อความกากับภาพทาได้โดยใช้แอตทริบิวต์alt
ตัวอย่างการใส่ข้อความกากับภาพ
ปรับขนาดรูปภาพ
ถ้าภาพที่เราไปแสดงในเว็บเพจมีขนดเล็กหรือใหญ่เกินไป เราสามารถกาหนดใหม่ได้กับภาพ โดยระบุความกว้างและความยาวที่
ต้องการ
ตัวอย่างการปรับขนาดภาพของรูปภาพ
การกาหนดของรุปภาพ หากกาหนดเพียงด้านเดียว อีกด้านหนึ่งจะเปลี่ยนไปตามด้วย อัตราส่วนที่เท่ากัน แต่ถ้าเรากาหนดขนาด
ทั้งสองด้านจะทาให้อัตราของภาพผิดเพี้ยนได้
การใส่กรอบให้กับรูปภาพ
บางครั้งเราอาจต้องการใส่กรอบให้กับรูปภาพที่แสดงเพื่อเน้นรูปนั้น หรือแยกส่วนที่เป็นรูปออกจากข้อความ ซึ่งเราทาได้โดย
ใช้แอตทริบิวต์border
ตัวอย่างการใส่กรอบรูปภาพ
การจัดตาแหน่งรูปภาพ
การนาภาพมาแสดงในเว็บเพจนั้นเป็นเพียงขั้นตอนแรกต่อไปเราจัดวางตาแหน่งภาพให้เช้ากับข้อความมีอยู่เดิมโดยใช้แอตทริบิวต์
ตัวอย่างการจัดตาแหน่งรูปภาพ
เพิ่มระยะห่างรูปภาพกับข้อความ
ภาพนั้นโดยปกติจะถูกวางชิดติดกับข้อความ เราสามารถเพิ่มระยะห่างเพื่อความสวยงามได้โดยใช้แอตทริบิวต์ กาหนดระยะห่าง
แนวตั้ง ด้านบนและล่าง กาหนดระยะห่างแนวนอน ด้านซ้ายและขวา
ตัวอย่างการเพิ่มระยะห่างรูปกับข้อความ
การทิ้งระยะข้อความให้พ้นขอบเข๖รูป <br>
การจัดรูปภาพร่วมกับข้อความ ส่วนของข้อความจะถูกพิมพ์ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ซึ่งบางครั้งดูไม่งามเท่าไร เราสามารถแก้ไขได้
โดยทิ้งระยะห่างข้อความให้พ้นขอบเขตรูปภาพ แล้วจึงเริ่มพิมพ์ข้อความในส่วนต่อไป ซึ่งเราจะใช้แอตทริบิวต์
ตัวอย่างการใช้งานแท็ก br
แสดงภาพเป็นฉากหลัง <body>
เราสามารถแต่งเว็บเพจให้มีภาพเป็นพื้นหลังได้โดยกาหนดภาพเล็กๆ หนึ่งภาพที่จะถูกจัดเรียงซ้ากันเพื่อสร้างพื้นหลังให้กับ
เว็บเพจในลักษณะเดียวกันกับแผ่นกระเบื้อง และภาพที่ใช้ควรมรสีจางไม่ซับซ้อน เพราะจะทาให้ความในข้อความหน้าเว็บเพจนั้น
อ่านยาก
ตัวอย่างการแสดงภาพเป็นฉากหลังเว็บเพจ
แสดงภาพฉากหลังอยู่กับที่
นอกจากเราจะใช้ภาพมาเป็นฉากหลังแล้ว เรายังสามารถเพิ่มลุกเล่นให้กับภาพฉากหลังนี้โดยขณะที่เราเลื่อนแถบเลื่อนลงไป
เรื่อยๆ ภาพที่เราใช้เป็นฉากหลังก็อยู่กับที่ ไม่เคลื่อนไม่ไปตามที่เลื่อน
ตัวอย่างการกาหนดฉากหลังอยู่กับที่
ลูกเล่นเกี่ยวกับชนิดของGFI
ถึงแม้การใช้การฟิกจะถูกจากัดด้วยจานวนสีที่ใช้ได้เพียง 256 สี แต่ละการฟิกชนิดนี้มีลูกเล่นที่เราสามารถนามาใช้เพื่อเสริม
ความโดดเด่นของเว็บเพจได้นั้นคือเทคนิค Interlacing และ Transparency
การใช้ Interlacing
ถ้าเว็บเพจของเรามีภาพขนาดใหญ่หรือมีภาพจานวนมากผู้ใช้ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วไม่สูงจะใช้เวลานานในการ
ดาวน์โหลดภาพ วึ่งอาจทาให้ต้องคอยจนเปลี่ยนใจไปเปิดดุเว็บเพจอื่นก็ได้ วิธีหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหานี้ได้คือการใช้การฟิกชนิด
GIF ภาพชนิดนี้จะถูกโหลดโดยบราวเซอร์ขึ้นมาอย่างรวดเร็วแบบไม่ชัดก่อน และค่อยๆ ชัดขึ้นตามลาดับ ผู้ใช้จะสามารถเห็นภาพ
หยาบๆ ของภาพสมบรูณ์ที่กาลังใช้เวลาโหลดขึ้นมาได้ทาให้รู้ไม่หงุดหงิดในการรอ
วิธีการสร้างภาพชนิด GIF
ได้โดยการเปิดภาพที่ต้องการนามาใช้ในโปรแกรมแตกต่างภาพ Photoshop และสั่ง Save for web รูปเป็นชนิด GIF และนาภาพ
ที่บันทึกมาแสดงในเว็บเพจ
การใช้ Transparency
การทา Transparency คือการกาหนดสีใดสีหนึ่งในรูป ให้เป็นสีที่ไม่ถูกนามาแสดงบนบราวเซอร์ เช่นเราอาจกาหนดสีพื้นหลังของ
รุปให้ใสเพื่อให้สีหรือรูปภาพที่ใช้เป็นฉากหลังของเว็บเพจปรากฏแทนที่ การใช้เทคนิค Transparency จะทาให้ภาพดูกลมกลืนกับพื้น
หลังของเว็บเพจ
ลุกเล่นที่เกี่ยวกับภาพชนิด JPG
ในส่วนของภาพ JPG ก็มีวิธีให้ผู้เยี่ยมชมเว็บสามารถดูภาพได้เร็วขึ้นเช่นเดียวกัน เราเรียกเทคนิคนี้ว่า Slicing
การใช้ Slicing
เป็นอีกเทคนิคหนึ่งในการเพิ่มลูกเล่นให้กับภาพ JPG เวลาที่เราโหลดภาพบนอินเทอร์เน็ต โดยลักษณะการโหลดภาพประเภท
Slicing ก็คือรูปจะถูกโหลดเข้ามาแปะบนเว็บเพจที่ละชิ้นจนครบทั้งรูปภาพคล้ายจิ๊กซอว์
วิธีสร้างภาพแบบ JPG แบบ Slicing
สาหรับขั้นตอนการทา Slicing นั้นสามารถทาได้ง่าย โดยใช้โปรแกรม Photoshop ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
การสร้างภาพเคลื่อนไหว GIFAnimation
การเคลื่อนไหวแบบ GIF Animation เกิดจากการนาภาพหลายรูปที่เป็นภาพนิ่งมาเรียงต่อกันแล้วนามาแสดงผลตามลาดับ ทา
ให้ภาพที่ดูเหมือนกับเคลื่อนไหวได้
ดาวน์โหลดโปรแกรม GIF Construction
สาหรับโปรแกรมรวมภาพเป็น GIF Construction มีอยู่ด้วยกันหลายตัว ในหนังสือเล่มนี้จะใช้โปรแกรมที่มีชื่อว่า GIF
Construction Set Professional สามารถดาวน์โหลดมาทดลองใช้ได้ที่ http://www.mindworkshop.com/alchemy/gifcon.html
การสร้าง GIF Animation
ก่อนสร้างภาพเคลื่อนไหว เราต้องเตรียมภาพนิ่งทีละเฟรม ที่ละช่องขึ้นมาก่อน ในที่นี้เราจะสร้างภาพนิ่ง 5 รูปดังนี้
การรวมภาพเพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหว
เมื่อได้ภาพนิ่งแล้วเราจะใช้โปรแกรมรวมภาพนิ่งคือ โปรแกรม GIF Construction Set เพื่อรวมภาพนิ่งเหล่านั้นให้กลายเป็น
ภาพเคลื่อนไหว
กาหนดรายละเอียดภาพเคลื่อนไหว
จากภาพเคลื่อนไหวที่เรากาหนดได้จะเห็นว่าภาพแสดงอย่างรวดเร็วมองไม่ทัน เราต้องแก้ไขโดยการกาหนดรายละเอียดของ
แต่ละภา
บันทึกภาพเคลื่อนไหว
เมื่อเราทดลองการแสดงผลของภาพเคลื่อนไหวจนพอใจแล้ว ที่นี่เราก็จะจับบันทึกไฟล์ GIF Animation นี้ไปใช้กับหน้าของเรา
การแสดงภาพเคลื่อนไหวในหน้าเว็บเพจ
การแสดงภาพเคลื่อนไหวในหน้าเว็บเพจเหมือนกับการแสดงภาพทั่วไป พนิ่ง

Más contenido relacionado

Similar a หน่วยที่ 8

Graphic
GraphicGraphic
Graphicyeeow
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพkruple
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกvorravan
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดีwichuda hokaew
 

Similar a หน่วยที่ 8 (6)

Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
1.7
1.71.7
1.7
 
20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
 

Más de Ton TC Tmsb

หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6Ton TC Tmsb
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Ton TC Tmsb
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3Ton TC Tmsb
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1Ton TC Tmsb
 
10657401 405408596276185 1179576192_n
10657401 405408596276185 1179576192_n10657401 405408596276185 1179576192_n
10657401 405408596276185 1179576192_nTon TC Tmsb
 

Más de Ton TC Tmsb (10)

หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
10657401 405408596276185 1179576192_n
10657401 405408596276185 1179576192_n10657401 405408596276185 1179576192_n
10657401 405408596276185 1179576192_n
 

หน่วยที่ 8