SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 79
Descargar para leer sin conexión
ศาสนพิธี
1) คนที่มาพบกันต้องทาบุญร่วมกันมา 10 ชาติ
2) เพื่อนต้องทาบุญร่วมกันมา 30 ชาติ
3) สามี-ภรรยาต้องทาบุญร่วมกันมา 40 ชาติ
4) พ่อ-แม่-ลูก ต้องทาบุญร่วมกันมา 50 ชาติ
เตาะแตะ
   ต้วมเตี้ยม
       เต่งตึง
                 ต่องแต่ง
                        โตงเตง
                                 เตรียมตาย
                                        ต้องตาย
ทุกคนมีเวลาที่เท่ากัน..แต่สิ่งที่ได้รับต่างกัน
                      1 ปี มี 365 วัน 8,760 ช.ม.
                         และ 1 วันมี 24 ชั่วโมง
                 มนุษย์มีอายุโดยประมาณ 70 ปี
                              หรือ 613,200 ช.ม.
     วันนี้พวกเราเหลือเวลาให้ชีวิตอยู่อีกกี่ชั่วโมง
                       แล้วพวกเราจะทาอย่างไร
                                กับ(เวลา)ที่เหลือ
ถ้าคุณอายุ        คุณใช้เวลาไปแล้ว     คุณมีเวลาเหลืออยู่
                    (วัน)                   (วัน)
20 ปี                 7,300                  18,250
25 ปี                 9,125                  16,425
30 ปี                10,950                  14,600
35 ปี(ครึ่งทาง)      12,755                  12,755
40 ปี                14,600                  10,950
45 ปี                16,425                   9,125
50 ปี                18,250                   7,300
55 ปี                20,075                   5,475
60 ปี                21,900                   3,650
65 ปี                23,725                   1,755
70 ปี                25,550 พวกเราใช้เวลาคุ้มค่าหรือไม่
ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมทางศาสนาที่ปฏิบัติเป็นธรรม
เนียม เกิดระเบียบ เรียบร้อยดีงาม
เหตุเกิดของศาสนพิธี คือ การนิยมทาบุญของคนเรา
          ๑.ทาน บริจาควัตถุเพื่อผู้อื่น
          ๒.ศีล รักษา ๕,๘,๑๐,๒๒๗,๓๑๑
          ๓.ภาวนา ปฏิบัติธรรม/ฟังเทศน์
ประโยชน์ของศาสนพิธี
ศาสนา เปรียบเหมือน ต้นไม้
-ศาสนพิธี คือ เปลือกนอกของต้นไม้
-คาสอน คือ แก่นของต้นไม้
 *รักษาเอกลักษณ์ของชาติ *มีคุณค่าด้านจิตใจ
มีคุณค่า
ด้านจิตใจ
องค์ประกอบของศาสนพิธี
-ประหยัด /เศรษฐกิจ/สถานการณ์
-เกิดประโยชน์
-ถูกต้อง
ศาสนพิธีมีอยู่ ๔ อย่าง
๑.กุศลพิธี
             -เวียนเทียนวันสาคัญ วันมาฆบูชา,วิสาขบูชา
             -ทาวัตรสวดมนต์
             -สมาทานศีล
             -แผ่นเมตตา /ปฏิบัติธรรม
๒.บุญพิธี
-งานมงคล
-นิมนต์พระ (นิมนต์มาเจริญพระพุทธมนต์) ๓,๕,๗,๙(๑๐)
-วงด้ายสายสิญจน์ (ฐานพระหรือที่นิ้วพระหัตถ์)*ห้ามข้ามด้าย
-ภาชนะน้ามนต์ (บาตร หรือขัน) ไม่ใช้ขันทองและเงินแท้
-การจุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา จุดเทียนก่อนจุดธูป การปักธูปเป็นแถว
เรียงหน้ากระดาน ผู้ร่วมงานพึงประณมมือ
โต๊ะหมู่บูชา
สำหรับบูชำพระสงฆ์
     บูชำพระพุทธเจ้ำด้วยคุณ ๓ ประกำร คือ
พระปัญญำคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระมหำกรุณำธิคุณ

        สำหรับบูชำพระธรรม และพระวินัย
โต๊ะหมู่ในพิธีสงฆ์
• พระพุทธรูป ๑ องค์
• ไม่มีรูปพระเกจิอาจารย์ปะปนอยู่
• ไม่มีที่ครอบ หรือพลาสติกหุ้มอยู่
• พิธีทางราชการนิยมใช้พระพุทธรูปพุทธนวราช
  บพิตร หรือปางมารวิชัย
• ทิศนิยมหันหน้าไปทิศตะวันออก หรือทิศเหนือ
โต๊ะหมู่งานประชุมอบรมสัมมนา
• พระพุทธรูป ๑ องค์
• จัดธงชาติไว้ด้านขวา
• ตั้งพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลที่ ๙ ไว้ด้านซ้าย
  (ธงชาติ,พระบรมฉายาลักษณ์ฯ ต่ากว่าพระพุทธรูปเล็กน้อย)
โต๊ะหมู่งานประชุมอบรมสัมมนา
• พระพุทธรูป ๑ องค์
• จัดธงชาติไว้ด้านขวา
• ตั้งพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลที่ ๙ ไว้ด้านซ้าย
  (ธงชาติ,พระบรมฉายาลักษณ์ฯ ต่ากว่าพระพุทธรูปเล็กน้อย)
โต๊ะหมู่งานประชุมอบรมสัมมนา
• พระพุทธรูป ๑ องค์
• จัดธงชาติไว้ด้านขวา
• ตั้งพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลที่ ๙ ไว้ด้านซ้าย
  (ธงชาติ,พระบรมฉายาลักษณ์ฯ ต่ากว่าพระพุทธรูปเล็กน้อย)
โต๊ะหมู่ถวายราชสักการะ,รับเสด็จ,กฐิน
โต๊ะหมู่ถวายราชสักการะ,รับเสด็จ,กฐิน
กล่าวคาบูชาพระรัตนตรัยอย่างย่อ(ภายนอกวัด)
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามะฯ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามะฯ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามะฯ
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิฯ
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิฯ
สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิฯ
อาราธนาศีล นั่งคุกเข่ากราบ ๓ ครัง ผูหญิง หรือชายก็
                                ้ ้
ได้(ภายนอกวัด)
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยา
จามะฯ
ทิตุยัมปะ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ
ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ
ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ
อาราธนาศีล(ภายในวัด)
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ
ทิตุยัมปะ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะฯ
อาราธนาพระปริตร
วิปัตติปะฏิพาหายะ    สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะทุกขะวินาสายะ   ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง
วิปัตติปะฏิพาหายะ    สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะภะยะวินาสายะ    ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง
วิปัตติปะฏิพาหายะ    สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
สัพพะโรคะวินาสายะ    ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง
อาราธนาธรรม
พรัหมา จะ โลกาธิปะติ สะหัมปะติ
กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ สันตีธะ
สัตตาปปะระชักขะชาติกา เทเสตุ ธัมมัง
อนุกัมปิมัง ปะชังฯ
ถวายข้าวพระพุทธ
อิมัง สูปะพยัญชนะ สัมปันนัง สาลีนัง โอ
ทะนัง อุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมะฯ
ถวายสังฆทานทั่วไป
     อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุ
สังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ
ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปฏิคคัณหา อัมหากัง ทีฆรัตตัง
หิตายะ สุขายะฯ ข้าแด่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอ
น้อมถวาย ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ของ
ข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข ของข้าพเจ้า
ทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ
๓.ทานพิธี
    ๑.วัตถุบริสุทธิ์ ๑๐ อย่าง ภัตตาหาร,น้า,เครื่องนุ่งห่ม,
ยานพาหนะ,ดอกไม้,ของหอม,เครื่องลูบไล้,ที่นอน,
เสนาสนะ,ประทีปโคมไฟ
      ๒.เจตนาบริสุทธิ์ ก่อนให้,ขณะให้ และหลังให้
      ๓.บุคคลบริสุทธิ์
          (ตักบาตร,ถวายสังฆทาน,โรงทาน,ฯลฯ)
๓ปกิณกะ ทั่วไป
๓.ปกิณกะ, ทั่วไป (พิธีศพ)
๑.การอาบน้าศพ ๒.การตั้งศพ ๓.การไหว้ศพ(อาวัสสัง มยา
มริตัพพัง) ๔.การสวดพระอภิธรรม ๕.ถ่ายรูป
๖.การทาอุตรวัฏ     ๗.การทอดผ้าบังสุกุล ๘.อ่านประวัติ๙.
กล่าวธรรมสังเวช ๑๐.วางดอกไม้จันทน์ ๑๑.ประชุมเพลิง
ถ่ายรูป
อุตรวัฏ ( ผัดต๋าสิน) ทอดผ้าบังสุกุล
การทอดผ้า
พระสงฆ์พิจารณาผ้าประณมมือ
กองเกียรติยศอัญเชิญหีบเพลิง
อ่านหมายรับสัง,ประวัต,ิ สานึกในพระมหา
             ่
กรุณาธิคุณ
พระราชทานเพลิงศพ
พระราชทานเพลิงศพ
การนิมนต์

                           ๑
      ขออาราธนา คือ การ เชิญ ,น้อมเชิญ

                          ๒
ขอนิมนต์ คือ คือ การ เชิญ, น้อมเชิญ ห้ามใช้ ขอกราบอาราธนานิมนต์
พระที่ไม่ได้เป็นเจ้ำอำวำสพรรษำน้อย

พระได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำอำวำสพรรษำ 5 ขึ้นไป

 เจ้ำอำวำสได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำคณะตำบลขึ้นไป
สมเด็จพระราชาคณะ (เจ้าประคุณสมเด็จ)
๑.สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
๒.สมเด็จพระราชาคณะ
พระราชาคณะ (พระเดชพระคุณ) พระคุณเจ้า
๑.พระราชาคณะชั้นรองสมเด็จ
๒.พระราชาคณะชั้นธรรม
๓.พระราชาคณะชั้นเทพ
๔.พระราชาคณะชั้นราช
๕.พระราชาคณะชั้นสามัญ
พระครูสัญญาบัตร (พระคุณท่าน)
๑.พระครูสัญญาบัตร
๒.เจ้าอธิการ
๓.พระอธิการ
๔.พระ
(วิหาร ,อุโบสถ,พระอุโบสถ)
วิหาร คือ ยังไม่ได้ผูกสีมา
อุโบสถ คือ วิหารผูกสีมาแล้ว
พระอุโบสถ คือ อุโบสถพระอารามหลวง
วัด,สานักสงฆ์,ที่พักสงฆ์
วัด คือ ที่ผูกสีมาแล้ว
สานักสงฆ์ คือ ได้ใบอนุญาตตั้งวัด
สร้างวัดแล้ว แต่ยังไม่ขอผูกสีมา
ที่พักสงฆ์ คือ ไม่มีเอกสารสิทธิ์ทุกอย่าง
สุขภาพจิต : ไม่เครียด
  เบิกบาน แจ่มใส ร่าเริง
     สุข สดชื่น ปลอดโปร่ง
        ไม่ขุ่นมัว โศกเศร้า
ประโยชน์ของสมาธิ
1.   ทาให้หลับสบายคลายกังวล
2.   กาจัดโรคภัยไข้เจ็บ
3.   ทาให้สมอง ปัญญาดี
4.   ทาให้รอบคอบก่อนทางาน
5.   ทาให้ระงับความร้ายกาจ
6.   บรรเทาความเครียด
7. มีความสุขพิเศษ
8. ทาให้จิตอ่อนโยน
9. กลับใจได้
10.เวลาจะสิ้นลม พบทางดี
11. เจริญวาสนาบารมี
12. เป็นกุศล
เลือดกรุ๊ป เอ (A)
    เกิดในยุคสมัยแห่งการ ล่าสัตว์ เหมาะสมกับ
อาหาร แป้ง ผัก ผลไม้ เป็นที่สุด
 จะอ่อนไหว้ต่อโรคมะเร็งมาก
หลีกเลี่ยงอาหาร นม เนื้อสัตว์
รับประทาน อาหารทะเล ผักที่มีใยอาหาร
ข้อระวัง คือ ความเครียด อย่าออกกาลังกายมาก ควร
   ฝึกโยคะ นั่งสมาธิ เต้นระบา ตีกอลฟ์ (เชื่อมันในตนเอง
                                              ่
  สูง เอาใจเก่ง ตามใจคนอื่นเสมอ)
เลือดกรุ๊ป บี (B)
    เกิดในยุคคนเริ่มทาการเกษตร (เป็นคนร่าเริง)
อาหาร เนื้อ นม ไข ผัก ผลไม้
 จะอ่อนไหว้ต่อโรค ภูมิแพ้
หลีกเลี่ยงอาหาร อาหารทะเล ทุกชนิด
รับประทาน ผลไม้ ข้าวกล้อง ผักที่มีใยอาหาร
ข้อระวัง คือ อย่าออกกาลังหักโหม
นิสัย ร่าเริง รักอิสระ ทางานแบบฉายเดี่ยว
เลือดกรุ๊ป โอ (๐)
    เกิดในยุคแรกของมนุษย์โลกล่าสัตว์เป็นอาหาร
   (โอบอ้อมอารี สุขภาพแข็งแรงดี) สามารถ
   รับประทานอาหารได้ทุกชนิด
จะอ่อนไหวต่อโรค อาการอักเสบ เลือดแข็งตัวช้า
   แผลเน่าเปื่อยง่าย
รับประทาน ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท ผลไม้รวม
ช่วยเลือกแข็งตัวเร็ว
ออกกาลังกายที่ใช้พลังงานมาก เช่น ว่ายน้า แอโรบิค ทา
   น้าหนักให้คงที่ได้ดี
เลือดกรุ๊ป เอบี (AB)
   เกิดในยุคคนเริ่มทาการเกษตร (อารมณ์รุนแรง)
อาหาร เนื้อ นม ไข ผัก ผลไม้
 มีลักษณะระบบย่อยยาก
หลีกเลี่ยงอาหาร อาหารมีไขมัน
รับประทาน อาหารทะเล ผักสด เต้าหู้ โดยเฉพาะโยเกิร์ต
ดื่มน้าให้มาก
ออกกาลังการ โยคะ ยิงธนู ให้มีสมาธิ
เครื่องประดับ
     เครื่องประดับ มีความสาคัญต่อภาพลักษณ์ของคุณ

 *แว่นตา          อานาจมากขึ้น ฉลาดขึ้น เคร่งขรึม
                  การสวมแว่นตา
                  -ดวงตาอยู่ตรงกลางแว่นพอดี
                  -ส่วนบนกรอบควรอยู่ในระดับคิ้ว
                  -กรอบแว่นตาไม่ควรมีขนาดกว้างกว่า
            ใบหน้า/ต่ากว่า จนถึงปลายจมูก
*เครื่องเพชรพลอย
        การใส่เครื่องเพชร และทองนั้นยิ่งใส่น้อย
  เท่าไหร่ยิ่งดี
   ไม่ควรเกิน 5 จุด

        -ต่างหู         -สร้อยคอ
        -เข็มกลัด       -นาฬิกา
        -แหวน (ไม่เกิน 2 วง)
สีเสริมบุคลิก
      สีมีพลังดึงดูดต่อมนุษย์อย่างมาก
เลือกสไตล์ที่ดีที่สุด และเลือกสีที่เหมาะสมที่สุด
ปัจจัยในการเลือกสี
      1.สีผิวของคุณ (สาคัญที่สุด)
      2.ขนาดและรูปร่างของคุณ
      3.สีที่ตัวคุณชอบ
อิทธิพลและอานาจ ทางจิตวิทยาของสี
                      สีแดง

-ร่าเริง เต็มไปด้วยความหวัง มั่นใจ น่าตื่นเต้น
หลีกไกลจากสีแดง
       -เมื่อเหนือยมากไป หรือเครียดเกินไป
                 ่
       -เมื่อไปสัมภาษณ์งาน
       -เมื่อไปเป็นประธานในที่ประชุม/ระดมความคิดเห็น
       -เมื่อต้องออกโทรทัศน์
สีชมพู
    -เป็นผู้อ่อนโยน ใกล้ชิดง่าย ไม่ระราน ข่มขู่
หลีกไกลจากสีชมพู
    -เมื่อคุยกับเจ้านายเรื่องเลื่อนขั้น และเงินเดือน
    -เมื่อพาลูกน้องไปเลี้ยง
สีน้าเงิน
     สงบเงียบ เชื่อถือได้ สม่าเสมอ เป็นระเบียบ
หลีกไกลจากสีน้าเงิน
     -เสนองานที่ต้องแข่งขัน ในงานสร้างสรรค์
     -เมื่อต้องประชุมกับนายธนาคาร ทนายความ
      นักบัญชีและ นักขายประกัน
สีเทา

    น่านับถือ เป็นกลาง สมดุล
หลีกไกลจากสีเทา
    -เมื่อทางานสายสร้างสรรค์
    -เมื่อทางานร่วมกับผู้เยาว์ เด็ก ๆ
สีส้ม
     มีชีวิตชีวา สนุกสนาน กระตือรือร้น
     เข้าสังคมเก่ง ไม่สนใจกฎเกณฑ์
หลีกไกลจากสีส้ม
     -เมื่อต้องข้องเกี่ยวกับธุรกิจทุกชนิด
     -เมื่อกาลังลดอาหาร ลดความอ้วน
สีน้าตาล

     จริงใจ ไม่แสแสร้าง ชอบสังคม
หลีกไกลจากสีน้าตาล
     -เมื่อไปพบกับเพื่อนที่กาลังมีปัญหาส่วนตัว
     -เมื่อไปงานกลางคืนที่หรูหรา
     -เมื่อต้องไปในงานที่เต็มไปด้วย ภรรยานัก
      บริหาร
สีเขียว
    พึ่งตัวเองได้ เป็นที่พงของคนอืนได้ มี
                            ึ่    ่
ความยึดมั่น อุ้มชูหล่อเลี้ยง
หลีกไกลจากสีเขียว
     -เมื่อไปร่วมงานรับบริจาคเงิน
     -เมื่อไปช่วยหาเสียงให้ ส.ส.
สีเหลือง
      ร่าเริง เต็มไปด้วยความหวัง คล่องแคล่ว ไม่
นับถือกฎเกณฑ์
หลีกไกลจากสีเหลือง
     -เจรจาต่อรอง
     -เตรียมตัวมาแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม
     -เมื่อติดต่อขอเงินกู้
สีดา
     เป็นทางการ เก๋ ลึกลับ แข็งแรง
หลีกเหลี่ยงจากสีดา
     -เมื่อต้องการคุยอย่างเปิดใจ
     -เมื่อคุณไม่มีเวลาแต่งตัวอย่างพิถีพิถัน
สีขาว
    บริสุทธิ์ สะอาด สดชื่น สื่อถึงอนาคต
หลีกไกลจากสีขาว
    -เมื่อไม่มีเวลาแต่งตัวเพียงพอ
    -ชุดขาวล้วน ๆ สาหรับงานราตรี
มารยาทบนโต๊ะอาหาร
-อย่าจับมีดและส้อมในลักษณะที่ไม่ถูกต้อง
-อย่าวางช้อนทิ้งไว้ในถ้วยอาหารควรให้วางข้างจาน
โดยส้อมหงาย ช้อนคว่า
-อย่ารับประทานอาหารคาโตเกินไป
-อย่าพูดเวลาอาหารเต็มปาก
-อย่านั่งตัวงอ
-อย่าวางผ้ากันเปื้อนบนเก้าอี้นั่งหรือบนพนักวางแขน
-อย่ายกแก้วขึ้นรับเครื่องดื่ม
-อย่าเอาศอกวางบนโต๊ะอาหาร
-ช้อนไอศกรีมหรือช้อนชุบเมื่อทานแล้วให้วางบน
จานรอง
-ต้องให้สตรีนั่งก่อน
-การเดินขึ้นบันไดให้สตรีขึ้นก่อน
-การลงบันได สุภาพบุรุษควรลงก่อน

Más contenido relacionado

Destacado

สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pageสไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0Thomas Bell - observation lab - submission v1.0
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0Thomas Bell
 
ศาสนพิธี
ศาสนพิธีศาสนพิธี
ศาสนพิธีpimpagee
 
ทอดกฐิน วัดเลียบ
ทอดกฐิน วัดเลียบทอดกฐิน วัดเลียบ
ทอดกฐิน วัดเลียบtopzazana
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์ครูสุวีร์ดา ริจนา
 

Destacado (10)

สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
 
ศาสนพิธี-พัฒนาจิต
ศาสนพิธี-พัฒนาจิตศาสนพิธี-พัฒนาจิต
ศาสนพิธี-พัฒนาจิต
 
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pageสไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
 
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0Thomas Bell - observation lab - submission v1.0
Thomas Bell - observation lab - submission v1.0
 
ศาสนพิธี
ศาสนพิธีศาสนพิธี
ศาสนพิธี
 
เอกลักษณ์ของชาติ1
เอกลักษณ์ของชาติ1เอกลักษณ์ของชาติ1
เอกลักษณ์ของชาติ1
 
ทอดกฐิน วัดเลียบ
ทอดกฐิน วัดเลียบทอดกฐิน วัดเลียบ
ทอดกฐิน วัดเลียบ
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
 

Similar a สังคมศึกษาศาสนพิธี

เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603satriwitthaya
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่watpadongyai
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษาChalinee Tonsing
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxSunnyStrong
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar a สังคมศึกษาศาสนพิธี (20)

เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษา
 
เสนอค่าย
เสนอค่ายเสนอค่าย
เสนอค่าย
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 

Más de ศิวากรณ์ บุญนิล (6)

หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ประวัดิเชียงราย1
ประวัดิเชียงราย1ประวัดิเชียงราย1
ประวัดิเชียงราย1
 
มารยาทไทย1
มารยาทไทย1มารยาทไทย1
มารยาทไทย1
 

สังคมศึกษาศาสนพิธี