SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 61
00551111 990088 
EEdduuccaattiioonnaall SSttaannddaarrddss aanndd QQuuaalliittyy 
AAssssuurraannccee 
bbyy 
MMrr.. BBhhaayyuubbhhoonngg BBhhaayyuuhhaahh :: 
5533001100556600000077 
MMss.. TThhaannyyaattoorrnn SSrriiwwiicchhiieenn :: 
5533001100556600000055
IISSOO 99000000 
sseerriieess, 
ISO 9001: 2008, 
IISSOO 1144000000, 
IISSOO 1188000000, 
PP..SS..OO..
IISSOO มาจากไหน? 
IISSOO ไไมม่ไ่ไดด้้มาจากตัวย่อของ 
องค์การมาตรฐานสากล 
(International Organization 
for Standardization) 
แต่มาจากคำาในภาษากรีกว่า “IISSOOSS” 
แปลว่า เท่ากัน (เช่น isobar, 
isotobe,isometric,isomer,…) 
จึงหมายถึง..เจตนารมย์ขององค์การที่
IISSOO คืออะไร? 
องค์กรอิสระแห่งหนงึ่ ชอื่ว่า 
(International Organization for 
Standardization - ISO) ซึ่ง ISO ถูกจัดตั้ง 
ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 สำานักงานใหญ่ ISO ตั้ง 
อยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมี 
สมาชิกอยู่ 162 ประเทศ (ประเทศไทยเป็น 
สมาชิกประเภทที่ 1:Full member) 
วัตถุประสงค์....เพื่อส่งเสริมการกำาหนด 
มาตรฐานและกิจกรรม ที่ 
เกี่ยวข้องเพื่อช่วยให้การแลกเปลี่ยนสินค้า 
และบริการเป็นไปโดยสะดวก และช่วย 
พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในด้าน
ใในนปปีี 22000000 
ISO ได้พัฒนามาตรฐานมา 
แล้วกว่า 
13,000 มาตรฐาน 
เช่น -มาตรฐานของฟิล์มถ่ายภาพ 
ISO 100, 200, 400 
-ตัวเลข ISBN ที่ปกในของ 
หนังสือเพื่อบอก 
หัวเรื่องและคำาสำาคัญ
ททำาำาไไมมตต้อ้องเเปป็็น IISSOO 
99000000……?? 
ISO ไม่ใช่มีเพียง ISO 9000 (เกี่ยว 
กับระบบคุณภาพ) เพียงอย่างเดียว มี 
อีกหลายเลข เช่น ISO 14000 
(เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) หรือ ISO 
18000 (เกี่ยวกับความปลอดภัย) 
เป็นต้น ที่ได้เลข 9000 เป็นเพราะ 
ตัวเลขลำาดับที่ของมาตรฐาน ถึงเลข 
9000 เป็นเรื่องของระบบคุณภาพ
ISO 9000 ไม่ได้เน้นเรื่องสินค้า 
แต่เน้นเรื่องกระบวนการ เพื่อทำาให้ 
มั่นใจได้ว่าทำาอย่างไรที่จะทำาให้ 
สินค้าของเราทุกชิ้นได้ผ่าน 
กระบวนการที่เหมือนกัน เช่น สมมติ 
ว่าเราผลิตนำ้าดื่มตรา มมส.. เราได้รับ 
การประกันคุณภาพด้วยระบบ ISO 
9000 จาก สรอ. อย่าลืมว่า ISO 9000 
ไม่ได้ประกันว่าภายในนำ้าขวดนั้นจะ 
ต้องมีแร่ธาตุต่างๆ ตามที่กำาหนดหรือ 
ไม่ เพียง ISO 9000 เน้นว่าเราจะต้อง 
ผลิตอย่างไร ด้วยกระบวนการใด จึง
ISO 9000 ประกาศใช้มาตั้งแต่ปี 
พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) และได้มีการ 
ปรับปรุงในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) 
ต่อมาทุกๆ 5 ปีจะมีการทบทวนมาตรฐาน 
เพื่อปรับปรุงให้สมกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 
และทำาให้มีประโยชน์มากขึ้น จึง 
ปรับปรุงในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) 
ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 
2543 (ค.ศ. 2000) 
ขณะนี้ ISO ได้ประกาศใช้ ISO 
9001:2008 ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15
รหัส ISO 
ISO 9000 กำาหนดมาตรฐานสากลสำาหรับการบริหาร 
คุณภาพ ในด้านการผลิตสินค้า และการให้บริการ 
โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหาร 
คุณภาพของงานให้ดีขึ้น 
ISO 9001 เป็นระบบการประกันคุณภาพให้การออกแบบและ 
การพัฒนาการผลิตการติดตั้ง และการให้บริการ 
ISO 9002 เป็นการประกันการผลิต การติดตั้งคล้ายคลึงกับ 
9001 แต่มีความเข้มงวด น้อยกว่า ที่ไม่ต้องเข้มงวด 
ในการออกแบบและการให้บริการ 
ISO 9003 เป็นการประกันคุณภาพในการตรวจสอบขั้น 
สุดท้าย มาตรฐานนี้จะเข้มงวดเฉพาะในขั้นตอนการ 
ตรวจสอบ การทดสอบผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบเท่านั้น
ISO 9001, ISO 
9002, ISO 9003 
ค.ศ. 
- 20 1ข้อ9เห8ม7ือนเดิม 
- เพิ่มเนิ้อหาบาง 
ส่วน 
- ทำาตามที่เขียน 
เขียนตามที่ทำา 
- ยังไม่ได้กำาหนดวิธี 
ปฏิบัติ 
ISO 9001, ISO 
9002, ISO 9003 
ค.ศ. 
1994 
ISO 
9001 
ค.ศ. 
2000 
* ลดข้อกำาหนด 
เหลือ 8 ข้อ 
* เปลี่ยนให้เข้ากับ 
TQM ให้มากขึ้น 
* ต้องมีการ 
ปรับปรุงอย่างต่อ 
เนื่อง 
* บอกวิธีการ
ISO 
9001:20 
00 
Minor Change 
โดยมีการ 
ปรับปรุงเนื้อหา 
หัวข้อ 
4.1, 4.2.1, 
4.2.3f, 6.2, 6.3, 
6.4, 7.3.1, 
7.5.2, 7.6, 
8.2.3, 8.2.4 
ISO 9001:2008 
ค.ศ. 2008 
***เริ่มประกาศใช้ (1ร5วม 11 หัวข้อ) 
พฤศจิกายน 2551***
แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 
ที่กำาลังทบทวนกันสำาหรับมาตรฐาน 
การจัดการทางด้านคุณภาพ 
ในปัจจุบัน มาตรฐาน ISO 9001เวอร์ชนั่ 
2008 ได้รับการประกาศใช้อย่างเป็น 
ทางการเมอื่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 
ประมาณการว่ามีใบรับรอง ISO 9001 
มากกว่า 1 ล้านฉบับทั้งอุตสาหกรรมการ 
ผลิตและบริการใน 170 ประเทศ ทั้งนี้ 
มาตรฐานฉบับใหม่ (ISO 9001:2008, 4th 
edition) ไม่ได้กำาหนดให้ต้องมีการตรวจ 
ประเมินระบบการจัดการใหม่ 
(recertification) เนื่องจากเนื้อหาของข้อ
แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 
ที่กำาลังทบทวนกันสำาหรับมาตรฐาน 
การจัดการทางด้านคุณภาพ (ต่อ) 
รวมทั้งเป็นการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับ 
ระบบการจัดการสงิ่แวดล้อมตามมาตรฐาน 
ISO 14001:2004 ด้วย สำาหรับแนวทางใน 
การประยุกต์ใช้ข้อกำาหนดซึ่งปัจจุบันอ้างอิง 
จากมาตรฐาน ISO 9004:2000 ก็อยู่ 
ระหว่างการปรับปรุงและคาดว่าจะประกาศ 
ใช้ในปี 2009 หรือ 2010 รายละเอียดการ 
ปรับเปลี่ยนที่สำาคัญบางข้อกำาหนดมีดังต่อ 
ไปนี้
ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ 
ISO 9000เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ 
ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 นั้น 
เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ 3 ส่วน 
1. การวางแผน เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานรู้จัก 
กำาหนดจุดมุ่งหมาย อำานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ 
และเข้าใจเรื่องคุณภาพ 
2. การควบคุม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานทำาตาม 
เงื่อนไปที่กำาหนดไว้ รวมทั้งคาดการณ์ถึงปัญหา หา 
ทางหลีกเลี่ยงหรือการวางแผนแก้ปัญหาและลงมือ 
แก้ไข 
3. การจัดทำาเอกสาร เพื่อให้แน่ใจว่าผู้มาตรฐานเข้าใจ 
วัตถุประสงค์ และวิธีการ 
มีการดำาเนินการที่ราบรื่น มีหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยว
ลักษณะสำาคัญของ ISO 9000 
1. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ 
2. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ใช้ได้ทั่วโลก 
3. ISO 9000 เป็นมาตรฐานซึ่งเป็นความต้องการของตลาด 
4. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบการบริหาร 
คุณภาพเพื่อทำาให้ลูกค้าพอใจ 
5. ISO 9000 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพที่สามารถนำาไป 
ใช้ได้ 
กับธุรกิจทุกประเภท
ลักษณะสำาคัญของ ISO 9000 
6. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เน้นเรื่องหลักฐานด้าน 
เอกสารการปฏิบัติงาน 
7. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เปิดโอกาสให้มีการปรับปรุง 
แก้ไขขั้นตอน 
8. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ให้การับรองระบบบริหารงาน 
คุณภาพ 
ทั้งองค์การ 
9. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ระบุให้มีการตรวจประเมิน 
โดยบุคคลที่ 3 
10. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ทุกหน่วยงานของระบบ 
บริหารงานคุณภาพ 
และพนักงานที่รับผิดชอบทุกคน
ISO 9001:2008 ระบบบริหารงาน 
คุณภาพ กับการปรับเปลี่ยน เวอร์ชนั่ 
ใหม่ 
ความเป็นมา 
ที่มาสำาหรับมาตรฐานระบบการจัดการที่เป็น 
สากลที่นำามาใช้ในปัจจุบัน มากมายหลาย 
มาตรฐาน ซึ่งหนงึ่ในนนั้เป็นมาตรฐานระบบ 
บริหารงานคุณภาพ หรือที่หลายคนทราบคือ 
ISO 9001 ซึ่งเป็น Version ปี 2000 ซึ่งได้ 
ถูกกำาหนดโดยองค์กรที่เรียกว่า 
International Organization for 
Standardization และมาตรฐานนี้ได้นำามา 
ใช้ปฏิบัติภายในองค์กรและมีตรวจประเมิน 
เพื่อการรับรองโดยหน่วยงานตรวจรับรอง
ข้อดีของ ISO 9001:2008 
1. เพิ่มความชัดเจนจากมาตรฐานฉบับเดิม 
2. ประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม 
มาตรฐาน ISO 14001:2004 ได้ง่าย 
3. ยังคงความสอดคล้องกับอนุกรมมาตรฐาน ISO 
9000 
4. เพิ่มการขยายความในบางข้อกำาหนด 
ผลบังคับใช้ ISO 9001:2000 
ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 
ประกาศ / ตีพิมพ์เป็นระยะเวลา 1 ปี ใบรับรอง 
ทั้งหมดที่ออก (ออกใบรับรองครั้งแรกหรือต่ออายุ) 
จะต้องออกตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 
ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008
Continuous improvement? 
Deming’s 
Deming’s 
wheel 
(P.D.C.A.) 
wheel 
(P.D.C.A.) 
ISO 
9000 
PLAN DO 
PLAN DO 
PLAN DO 
ACT CHECK 
ACT CHECK 
ACT CHECK 
Continuous Improvement
ประโยชน์ของการจัดทำา 
มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 
9000 
1 ประโยชน์ต่อองค์การ 
2. ประโยชน์ต่อลูกค้า 
3. ประโยชน์ต่อ 
พนักงานลูกจ้าง
ISO 9001:2008 Audit Guide 
ISO9001:2008, Quality 
management system 
1. General requirements ข้อกำาหนด 
ทั่วไป 
2. Documentation requirements 
ข้อกำาหนดเกี่ยวข้องกับเอกสาร 
2.1 General 
2.2 Quality manual 
2.3 Control of document 
2.4 Control of records
ISO9001:2008, ความรับผิดชอบของ 
ฝ่ายบริหาร (Management 
responsibility) 
1. ความมงุ่มนั่ของฝ่ายบริหาร 
(Management commitment ) 
2. การให้ความสำาคัญกับลูกค้า 
(Customer focus ) 
3. นโยบายคุณภาพ ( Quality Policy) 
4. การวางแผน (Planning) 
5. อำานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และ 
การสื่อสาร (Responsibility, 
authority and communication ) 
6. การทบทวนของผู้บริหาร 
(Management review)
ISO9001:2008, Resource 
management การบริหารทรัพยากร 
1. Provision of resources การจัด 
ให้มีทรัพยากร 
2. Human resources ทรัพยากร 
บุคคล 
3. Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน 
4. Work environment สภาพ 
แวดล้อมในการทำางาน
ISO9001:2008, Product 
realization 
1. Planning of product 
realization การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ 
2. Customer-related processes 
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 
3. Design and development การ 
ออกแบบและพัฒนา 
4. Purchasing การจัดซื้อ 
5. Production and service 
provision การดำาเนินการผลิตและ 
บริการ 
6. Control of monitoring and 
measuring equipment การควบคุม 
เครื่องมือ เฝ้าติดตาม และตรวจวัด
ISO9001:2008, Measurement, 
analysis and improvement 
1. บททั่วไป (General) 
2. การเฝ้าติดตามและการตรวจวัด 
(Monitoring and measurement) 
3. การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ 
สอดคล้อง (Control of 
nonconforming product) 
4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of 
data) 
5. การพัฒนา (Improvement) 
5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 
(Continual improvement) 
5.2 การปฏิบัติการแก้ไข
IISSOO 1144000000:: Environment 
Management Systems(EMS) 
1.กำาหนดนโยบายด้านสิ่ง 
แวดล้อม 
2.การวางแผน(ด้านสิ่ง 
แวดล้อม,กฎหมาย,วัตถุประสงค์,โประแกรมฯ) 
3.เริ่มปฏิบัติและดำาเนิน 
การ(โครงสร้างและการรับผิดชอบ,การฝึกอบรม,การ 
สื่อสารข้อมูล,การควบคุมเอกสาร,การควบคุมการดำาเนิน 
การ,การเตรียมการในกรณีฉุกเฉิน)
IISSOO 1144000000:: Environment 
Management Systems(EMS) 
ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่ง 
แวดล้อม 
ISO 14010 แนวทางการตรวจ 
ประเมิน 
ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่ง 
แวดล้อม 
ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติ
IISSOO 1144000000 
ISO 14050 คำาศัพท์การจัดการ 
สิ่งแวดล้อม 
ISO 14061 ข้อมูลการใช้ 
มาตรฐานระบบ 
การจัดการสิ่ง 
แวดล้อม ISO 14000 
และ ISO 14004 
สำาหรับองค์กร
IISSOO 1144000011มมาาตรฐฐาานรระะบบ 
กกาารจจััดกกาารสสิ่งิ่งแแววดลล้อ้อม(เเปป็น็น 
มมาาตรฐฐาานเเดดียียว))บริษัทขอรับรองผ่าน 
การตรวจสอบจากหน่วยงานอิสระที่ได้ 
รับการรับรองแล้ว ไม่ได้เป็นมาตรฐาน 
บังคับตามกฎหมาย แต่เป็นการสมัคร 
ใจ 
ต้องปฏิบัติสมำ่าเสมอ สงิ่แวดล้อมดีขึ้น 
เป็นระบบบริหารความเสี่ยง ประหยัด 
ค่าใช้จ่าย
IISSOO 1144000000 
ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่ง 
แวดล้อม 
ISO 14010 แนวทางการตรวจ 
ประเมิน 
ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่ง 
แวดล้อม 
ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติ 
งานด้านสิ่งแวดล้อม
IISSOO 1144000011 แแลละะ IISSOO 99000011 ถูก 
กำาหนดโดยองค์กรเดียวกันและ 
ใช้หลักในการจัดการระบบการ 
ทำางาน (Management Policy) 
ที่เป็นที่แพร่หลายเช่น ระบบ 
ควบคุมคุณภาพโดยรวม(Total 
Quality Management) จึง 
ทำาให้องค์กรที่ได้ปฏิบัติตาม 
มาตรฐาน ISO 9001 สามารถ
ประโยชน์ต่อองค์กรในการทำา 
ISO 14000 
1. ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว 
2. เพิ่มโอกาสในด้านการค้า ทำาให้การเจรจาทางด้านการค้า 
สะดวกยิ่งขึ้น 
3. สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร 
4. ได้รับเครื่องหมายรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
องค์กรที่นำามาตรฐาน ISO 14000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้ 
หน่วยงานรับรองให้การรับรองระบบการจัดการสิ่ง 
แวดล้อม ซึ่งจะทำาให้องค์กรสามารถนำาไปใช้ ในการ 
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ภาพ 
ลักษณ์ขององค์กรให้ดีขึ้น
IISSOO 1188000000 
มาตรฐาน ISO 18000 คืออะไร 
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ 
ปลอดภัย ISO 18000 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ 
ในการจัดทำาระบบการจัดการอาชีวอนามัย 
และความปลอดภัย (Occupational health and 
safety management system standards)
การพัฒนาปรับปรุงระบบให้ดียิ่งขึ้น 
อย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ 
1. ลดความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุต่าง ๆ ของพนักงานและ 
ผู้เกี่ยวข้อง 
2. ปรับปรุงการดำาเนินงานของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย 
3. ช่วยสร้างภาพพจน์ความรับผิดชอบขององค์กรต่อพนักงาน 
ภายในองค์กรต่อ องค์กรเอง และต่อสังคม
ขั้นตอนหลักในการจัดทำาระบบ 
การจัดการ 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 
1. การทบทวนสถานะเริ่มต้น 
2. นโยบายอาชีวอนามัยและความ 
ปลอดภัย 
3. การวางแผน 
4. การนำาไปใช้และการปฏิบัติ 
5. การตรวจสอบและแก้ไข 
6. การทบทวนการจัดการ
ประโยชน์การใช้มาตรฐาน ISO 18000 
ในการดำาเนินงาน 
ประโยชน์สูงสุดนั้น มีองค์ประกอบดังนี้ 
1. ผู้บริหารระดับสูงมีความมุ่งมั่นและตั้งใจแน่วแน่ในการนำาระบบมา 
ใช้และให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 
2. ทุกคนในองค์กรมีความเข้าใจ ให้ความสำาคัญ มีส่วนร่วมและ 
ให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง 
3. ได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอ 
4.มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ 
ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
ประโยชน์การจัดทำาตาม 
มาตรฐาน ISO 18000 
1. รักษาและป้องกันชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจาก 
อุบัติเหตุอันอาจเกิดขึ้นในองค์กร 
2. เป็นการเตรียมความพร้อมสำาหรับอุบัติเหตุ และ 
ภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะช่วย ลดความเสียหาย 
และความสูญเสียทั้งด้านชีวิตและทรัพย์สิน 
3. ลดรายจ่ายเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนเนื่องจาก 
อุบัติเหตุลดลง 
4. สร้างขวัญและกำาลังใจแก่พนักงานให้เกิดความเชื่อมั่น 
ในความปลอดภัยต่อชีวิต
ประโยชน์การจัดทำาตาม 
มาตรฐาน ISO 18000 
5. ได้รับเครื่องหมายรับรองฯองค์กรสามารถนำาไปใช้ในการ 
โฆษณาและประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร 
ให้ดียิ่งขึ้นและ เป็นที่ยอมรับในสังคม 
6. เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การแข่งขันทางด้านการค้าใน 
ตลาดโลก
ทมี่มี่าาของมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 
2540 
กำาหนดนโยบายให้จัดทำาและพัฒนา 
ระบบมาตรฐานสากลของ 
ประเทศไทยด้านการจัดการและ 
สัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (P.S.O.) ใน 
ทุกส่วนราชการ โดยให้สำานักงบ 
ประมาณสนับสนุนเงินงบประมาณให้ 
แก่ส่วนราชการ ตามความ 
จำาเป็นและให้สำานักงาน ก.พ. ร่วมกับ
ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ 
ส่วนราชการ ในการส่งเสริมและ 
พัฒนาระบบมาตรฐานสากลของ 
ประเทศไทย ทั้งนี้แนวทางและวิธีการ 
พัฒนาระบบ P.S.O. เป็นไปตาม 
ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย 
การรับรองมาตรฐานด้านการจัดการ 
และสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ พ.ศ. 
2543
ววััตถถุปุปรระะสงคค์์ PP..SS..OO.. 
การทำามาตรฐาน P.S.O. มงุ่เน้น 
ผลสัมฤทธิ์โดยรวม 
ของภาคราชการทั้งระบบและเน้นให้ 
หน่วยงานภาครัฐพัฒนามาตรฐาน 
ใน 2 ด้าน คือ ด้านการจัดการ (Management 
System) 
และด้านสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน 
(Outcomes) 
โดยมีเป้าหมายเป็นผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์ 
บั้นปลาย
แแนนวนโโยยบบาายพพื้นื้นฐฐาาน 
แแหห่ง่งรรััฐ
มมาาตรราา 7755 รัฐต้องดูแลให้มี 
การปฏิบัติตามกฎหมาย 
คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ 
บุคคล จัดระบบงานของ 
กระบวนการยุติธรรมให้มี 
ประสิทธิภาพและอำานวยความ 
ยุติธรรมแก่ประชาชนอย่าง 
รวดเร็วและเท่าเทียมกัน รวมทั้ง 
จัดระบบงานราชการและงาน
เเปป้า้าหมมาายของ 
PP..SS..OO.. 
มุ่งการบรรลุผลลัพธ์ 
บั้นปลาย 
- ประสิทธิภาพของหน่วยราชการ 
- คุณภาพและความถูกต้องของการบริการ 
- ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความทั่วถึงในการให้ 
บริการ 
- ความพึงพอใจของประชาชน 
- ความประหยัดของภาครัฐและประชาชนผู้มารับ 
บริการ 
- สิทธิและเสรีภาพ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
แแนนวคคิดิดหลลักักของ 
PP..SS..OO.. 
1. ส่งเสริมประสิทธิภาพและมาตรฐานการปฎิบัติเพื่อ 
ประชาชน 
2. สร้างระบบราชการให้เกิด ธรรมาภิบาย (Good 
Governance) 
3. สนองตอบเจตนารมณ์และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 
มาตรา 7 
4. เป็นนโยบายของรัฐเชิงนวัตกรรม (Innovative Public 
Policy) 
5. พัฒนามาตรฐานภาครัฐเพื่อเข้าสู่ระบบสากล 
6. เป็นเกียรติภูมิของประเทศในการมีมาตรฐานของ 
ภาคราชการ 
ของประเทศไทยเอง 
7. เป็นแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
คววาามหมมาายของ 
PP..SS..OO.. 
มมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. หรรืือ รระะบบ 
มมาาตรฐฐาานสสาากล ของ 
ปรระะเเททศไไททย ดด้้าานกกาารจจัดัดกกาารแแลละะ 
สสัมัมฤทธธิ์ผิ์ผลของงงาานภภาาครรััฐ ((TThhaaiillaanndd 
IInntteerrnnaattiioonnaall PPuubblliicc SSeeccttoorr SSttaannddaarrdd MMaannaaggeemmeenntt SSyysstteemm 
aanndd OOuuttccoommeess :: PP..SS..OO..)) 
หมมาายถถึงึง รระะบบมมาาตรฐฐาานคคุณุณภภาาพ 
หรรืือกกาารปรระะกกันันคคุณุณภภาาพ ทที่ไี่ไดด้้ 
รรัับกกาารออกแแบบบใใหห้เ้เหหมมาาะะสมกกับับ 
รระะบบรราาชกกาารไไททย
ลลัักษณณะะของ PP..SS..OO.. 
ลักษณะของ P.S.O. 
มาตรฐานสากลภาครัฐ (P.S.O) เป็นนวัตกรรม 
ใหม่ของประเทศ ไทย ซึ่งเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบ 
มาตรฐาน การจัดการและสัมฤทธิ์ผลภาครัฐ โดยแบ่ง 
เป็น ๒ ส่วนคือ 
ส่วนแรก ได้แก่ระบบมาตรฐานคุณภาพด้านการ 
บริหารจัดการ 
ส่วนที่สอง ได้แก่มาตรฐานสัมฤทธิ์ผลของการ 
ปฏิบัติ คือ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลลัพธ์บั้นปลายและระบบ 
ป้องกันผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่พึงปรารถนา
คคุุณลลัักษณณะะทที่สี่สำาำาคคััญของ 
รระะบบมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 
1. มุ่งเน้นสัมฤทธิ์ผลของภาคราชการทั้งระบบ (ขณะที่ ISO 
เป็นเรื่องจุลภาคเน้นองค์การภาคเอกชนเฉพาะองค์การ ) 
2. มุ่งผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์ผลบั้นปลาย (Ultimate Outcomes) 
เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำาคัญ ส่งเสริมภาคี 
ความร่วมมือ 
3. มุ่งการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของภาครัฐ 
4. เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำาคัญ ส่งเสริมภาคีความ 
ร่วมมือ 
5. ยืดหยุ่น เปิดกว้าง สามารถบูรณาการร่วมกับระบบ 
มาตรฐานอื่น ๆ 
6. มาตรฐานบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาค 
ประชาชนและชุมชน
กกาารจจัดัดททำาำา PP..SS..OO.. ใในนกกาารบรริิหหาาร 
งงาาน 
การทำามาตรฐาน P.S.O. มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์โดยรวมของ 
ภาคราชการทั้งระบบ และเน้นให้หน่วยงานภาครัฐ 
พัฒนามาตรฐานใน 2 ด้าน คือ 
1. ด้านการจัดการ(Management System) 
2. ด้านสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน(Outcomes) 
โดยมีเป้าหมายเป็นผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์บั้นปลาย (Ultimate 
outcomes) 
เพื่อให้ราชการมีระบบบริหารและจัดการที่ดี อำานวย 
ประโยชน์แก่ประชาชน 
และสังคม
11.. มมาาตรฐฐาานดด้้าานกกาารจจััดกกาาร ปรระะกอบ 
ดด้ว้วย 1100 รระะบบยย่่อย ดดัังนนีี้้1. P.S.O.1101 (ระบบ 
ข้อมูล) 
2. P.S.O.1102 (ระบบการสื่อสาร) 
3. P.S.O.1103 (ระบบการตัดสินใจ) 
4. P.S.O.1104 (ระบบการพัฒนาบุคลากร) 
5. P.S.O.1105 (ระบบการตรวจสอบถ่วงดุล) 
6. P.S.O.1106 (ระบบการมีส่วนร่วม) 
7. P.S.O.1107 (ระบบการบริการภาคเอกชนและ 
ประชาชน) 
8. P.S.O.1108 (ระบบประเมินผล) 
9. P.S.O.1109 (ระบบการคาดคะเนและแก้ไขวิกฤติ) 
10. P.S.O.1110 (ระบบวัฒนธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ)
2. มาตรฐานด้านสัมฤทธิ์ผลของ 
การปฏิบัติงาน 
P.S.O.2201 ประกอบด้วย ผลงาน/ผลผลิต ผลลัพธ์ 
บั้นปลาย 
และระบบป้องผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่ 
พึงปรารถนา
ขข้้าารราาชกกาารไไดด้อ้อะะไไรรจจาากมมาาตรฐฐาาน 
PP..SS..OO.. 
 ได้รับความศรัทธาจากประชาชน 
 ภูมิใจในศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการ 
 มีความสามัคคีจากการทำางานเป็นทีม 
 เข้าใจงานอื่นๆ ในหน่วยงานได้ดีกว่าเดิม 
 ลดภาระงาน ไม่ต้องอธิบายขั้นตอนมาก 
 มีทัศนคติที่ดีต่อการทำางานและคำาวิจารณ์ 
 มีความสนุกสนานและผ่อนคลายในการทำางาน 
 ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง 
 มีความกระตือรือร้นในการเพิ่มพูนความรู้ 
 ใกล้ชิดกับผู้บังคับบัญชาและประชาชนมากขึ้น
ปรระะชชาาชนไไดด้อ้อะะไไรรจจาากมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 
 ความเสมอภาคในการบริการ 
 ความเป็นธรรมในการบริการ 
 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 
 สิทธิเสรีภาพของประชาชน 
 ความทั่วถึงของบริการสาธารณะ 
 ความพึงพอใจของประชาชนในฐานะลูกค้า 
 ความประหยัดทั้งของภาคราชการและประชาชนผู้รับ 
บริการ 
 คุณภาพและความถูกต้องของบริการและเอกสารที่ 
เกี่ยวข้อง 
 การรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ความผาสุกและ 
 คุณภาพชีวิตประชาชนโดยรวม
เเกกณฑฑ์ม์มาาตรฐฐาานแแลละะตตััวชวี้วีัั้ด 
PP..SS..OO.. 11110011 
1. ความครอบคลุม 
2. ความรวดเร็ว 
3. ความถูกต้อง 
4. ความเชื่อมโยง 
5. ความทันสมัย 
6. ความน่าเชื่อถือ 
7. ความสามารถในการเข้าถึง 
8. ความสามารถในการตรวจสอบ 
9. การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล
กรระะบวนกกาารพพััฒนนาารระะบบ 
มมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 
1. การเข้าสู่ระบบมาตรฐาน P.S.O 
2. การดำาเนินการพัฒนาระบบ 
3. การตรวจรับรองมาตรฐาน 
4. การรักษามาตรฐาน
ปรระะโโยยชนน์์ของ PP..SS..OO.. 
ประโยชน์ของกระบวนการพัฒนา 
ระบบมาตรฐาน P.S.O. 
1. การเข้าสู่ระบบมาตรฐาน 
P.S.O. 
2. การดำาเนินการพัฒนาระบบ 
3. การตรวจรับรองมาตรฐาน 
4. การรักษามาตรฐาน
เเออกสสาารออ้้าางออิิง 
http://www.iso.org/iso/home.htm 
http://www.tisi.go.th/9000/9000.html 
http://www.theproof.sgs.com/th/01/iso-9001-2008.htm 
http://www.isothailand.com
ตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับ ISO 9001:2008 
กับการบริหารงานบุคคล
QQ&AA

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Easy ISO : How to set-up your quality management system ?
Easy ISO : How to set-up your quality management system ?Easy ISO : How to set-up your quality management system ?
Easy ISO : How to set-up your quality management system ?Nukool Thanuanram
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceAreté Partners
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
Business Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenBusiness Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenNukool Thanuanram
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...Areté Partners
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.Nukool Thanuanram
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาSuwanan Nonsrikham
 
QES Awareness Training for Operator
QES Awareness Training for OperatorQES Awareness Training for Operator
QES Awareness Training for OperatorNukool Thanuanram
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
PWTC: Professional Workmanship Training Course
PWTC: Professional Workmanship Training CoursePWTC: Professional Workmanship Training Course
PWTC: Professional Workmanship Training CourseNukool Thanuanram
 

La actualidad más candente (20)

Easy ISO : How to set-up your quality management system ?
Easy ISO : How to set-up your quality management system ?Easy ISO : How to set-up your quality management system ?
Easy ISO : How to set-up your quality management system ?
 
Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
Pmk internal assessor 5
Pmk internal assessor 5Pmk internal assessor 5
Pmk internal assessor 5
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
Business Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by KaizenBusiness Process Improvement by Kaizen
Business Process Improvement by Kaizen
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...
State Enterprise Performance Appraisal - Self-Assessing Report Scoring Templa...
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.
Basic concept of pdca and swot analysis for mfg.
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
APQP. 2nd Edition
APQP. 2nd EditionAPQP. 2nd Edition
APQP. 2nd Edition
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
QES Awareness Training for Operator
QES Awareness Training for OperatorQES Awareness Training for Operator
QES Awareness Training for Operator
 
Effective QMS & EMS
Effective QMS & EMSEffective QMS & EMS
Effective QMS & EMS
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
 
PWTC: Professional Workmanship Training Course
PWTC: Professional Workmanship Training CoursePWTC: Professional Workmanship Training Course
PWTC: Professional Workmanship Training Course
 

Similar a Iso 9001 2008-e0b980e0b8ade0b8b2e0b986

Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossarymrsuwijak
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561NIMT
 
Requirement iso 140012015[1] (4) training
Requirement iso 140012015[1] (4) trainingRequirement iso 140012015[1] (4) training
Requirement iso 140012015[1] (4) trainingair1249
 
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University traiarthan
 
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University traiarthan
 
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพบรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพWashirasak Poosit
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0Atthaboon Sanurt
 
Operation manual
Operation manualOperation manual
Operation manualrungtip_a
 

Similar a Iso 9001 2008-e0b980e0b8ade0b8b2e0b986 (20)

Intro to TS-16949
Intro to TS-16949Intro to TS-16949
Intro to TS-16949
 
L6
L6L6
L6
 
PPT-ISO14001-DIS-Aug14
PPT-ISO14001-DIS-Aug14PPT-ISO14001-DIS-Aug14
PPT-ISO14001-DIS-Aug14
 
Maintenance Glossary
Maintenance GlossaryMaintenance Glossary
Maintenance Glossary
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
Requirement iso 140012015[1] (4) training
Requirement iso 140012015[1] (4) trainingRequirement iso 140012015[1] (4) training
Requirement iso 140012015[1] (4) training
 
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
 
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
Certified ISO9001 of Phuket Rajabhat University
 
2
22
2
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
Ppt qa 2
Ppt qa 2Ppt qa 2
Ppt qa 2
 
Ppt qa 2
Ppt qa 2Ppt qa 2
Ppt qa 2
 
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพบรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
 
8-kpi
8-kpi8-kpi
8-kpi
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Operation manual
Operation manualOperation manual
Operation manual
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 

Iso 9001 2008-e0b980e0b8ade0b8b2e0b986

  • 1. 00551111 990088 EEdduuccaattiioonnaall SSttaannddaarrddss aanndd QQuuaalliittyy AAssssuurraannccee bbyy MMrr.. BBhhaayyuubbhhoonngg BBhhaayyuuhhaahh :: 5533001100556600000077 MMss.. TThhaannyyaattoorrnn SSrriiwwiicchhiieenn :: 5533001100556600000055
  • 2.
  • 3. IISSOO 99000000 sseerriieess, ISO 9001: 2008, IISSOO 1144000000, IISSOO 1188000000, PP..SS..OO..
  • 4. IISSOO มาจากไหน? IISSOO ไไมม่ไ่ไดด้้มาจากตัวย่อของ องค์การมาตรฐานสากล (International Organization for Standardization) แต่มาจากคำาในภาษากรีกว่า “IISSOOSS” แปลว่า เท่ากัน (เช่น isobar, isotobe,isometric,isomer,…) จึงหมายถึง..เจตนารมย์ขององค์การที่
  • 5. IISSOO คืออะไร? องค์กรอิสระแห่งหนงึ่ ชอื่ว่า (International Organization for Standardization - ISO) ซึ่ง ISO ถูกจัดตั้ง ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 สำานักงานใหญ่ ISO ตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมี สมาชิกอยู่ 162 ประเทศ (ประเทศไทยเป็น สมาชิกประเภทที่ 1:Full member) วัตถุประสงค์....เพื่อส่งเสริมการกำาหนด มาตรฐานและกิจกรรม ที่ เกี่ยวข้องเพื่อช่วยให้การแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการเป็นไปโดยสะดวก และช่วย พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในด้าน
  • 6. ใในนปปีี 22000000 ISO ได้พัฒนามาตรฐานมา แล้วกว่า 13,000 มาตรฐาน เช่น -มาตรฐานของฟิล์มถ่ายภาพ ISO 100, 200, 400 -ตัวเลข ISBN ที่ปกในของ หนังสือเพื่อบอก หัวเรื่องและคำาสำาคัญ
  • 7. ททำาำาไไมมตต้อ้องเเปป็็น IISSOO 99000000……?? ISO ไม่ใช่มีเพียง ISO 9000 (เกี่ยว กับระบบคุณภาพ) เพียงอย่างเดียว มี อีกหลายเลข เช่น ISO 14000 (เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) หรือ ISO 18000 (เกี่ยวกับความปลอดภัย) เป็นต้น ที่ได้เลข 9000 เป็นเพราะ ตัวเลขลำาดับที่ของมาตรฐาน ถึงเลข 9000 เป็นเรื่องของระบบคุณภาพ
  • 8. ISO 9000 ไม่ได้เน้นเรื่องสินค้า แต่เน้นเรื่องกระบวนการ เพื่อทำาให้ มั่นใจได้ว่าทำาอย่างไรที่จะทำาให้ สินค้าของเราทุกชิ้นได้ผ่าน กระบวนการที่เหมือนกัน เช่น สมมติ ว่าเราผลิตนำ้าดื่มตรา มมส.. เราได้รับ การประกันคุณภาพด้วยระบบ ISO 9000 จาก สรอ. อย่าลืมว่า ISO 9000 ไม่ได้ประกันว่าภายในนำ้าขวดนั้นจะ ต้องมีแร่ธาตุต่างๆ ตามที่กำาหนดหรือ ไม่ เพียง ISO 9000 เน้นว่าเราจะต้อง ผลิตอย่างไร ด้วยกระบวนการใด จึง
  • 9. ISO 9000 ประกาศใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) และได้มีการ ปรับปรุงในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) ต่อมาทุกๆ 5 ปีจะมีการทบทวนมาตรฐาน เพื่อปรับปรุงให้สมกับเหตุการณ์ปัจจุบัน และทำาให้มีประโยชน์มากขึ้น จึง ปรับปรุงในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ขณะนี้ ISO ได้ประกาศใช้ ISO 9001:2008 ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15
  • 10. รหัส ISO ISO 9000 กำาหนดมาตรฐานสากลสำาหรับการบริหาร คุณภาพ ในด้านการผลิตสินค้า และการให้บริการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหาร คุณภาพของงานให้ดีขึ้น ISO 9001 เป็นระบบการประกันคุณภาพให้การออกแบบและ การพัฒนาการผลิตการติดตั้ง และการให้บริการ ISO 9002 เป็นการประกันการผลิต การติดตั้งคล้ายคลึงกับ 9001 แต่มีความเข้มงวด น้อยกว่า ที่ไม่ต้องเข้มงวด ในการออกแบบและการให้บริการ ISO 9003 เป็นการประกันคุณภาพในการตรวจสอบขั้น สุดท้าย มาตรฐานนี้จะเข้มงวดเฉพาะในขั้นตอนการ ตรวจสอบ การทดสอบผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบเท่านั้น
  • 11. ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003 ค.ศ. - 20 1ข้อ9เห8ม7ือนเดิม - เพิ่มเนิ้อหาบาง ส่วน - ทำาตามที่เขียน เขียนตามที่ทำา - ยังไม่ได้กำาหนดวิธี ปฏิบัติ ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003 ค.ศ. 1994 ISO 9001 ค.ศ. 2000 * ลดข้อกำาหนด เหลือ 8 ข้อ * เปลี่ยนให้เข้ากับ TQM ให้มากขึ้น * ต้องมีการ ปรับปรุงอย่างต่อ เนื่อง * บอกวิธีการ
  • 12. ISO 9001:20 00 Minor Change โดยมีการ ปรับปรุงเนื้อหา หัวข้อ 4.1, 4.2.1, 4.2.3f, 6.2, 6.3, 6.4, 7.3.1, 7.5.2, 7.6, 8.2.3, 8.2.4 ISO 9001:2008 ค.ศ. 2008 ***เริ่มประกาศใช้ (1ร5วม 11 หัวข้อ) พฤศจิกายน 2551***
  • 13. แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 ที่กำาลังทบทวนกันสำาหรับมาตรฐาน การจัดการทางด้านคุณภาพ ในปัจจุบัน มาตรฐาน ISO 9001เวอร์ชนั่ 2008 ได้รับการประกาศใช้อย่างเป็น ทางการเมอื่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 ประมาณการว่ามีใบรับรอง ISO 9001 มากกว่า 1 ล้านฉบับทั้งอุตสาหกรรมการ ผลิตและบริการใน 170 ประเทศ ทั้งนี้ มาตรฐานฉบับใหม่ (ISO 9001:2008, 4th edition) ไม่ได้กำาหนดให้ต้องมีการตรวจ ประเมินระบบการจัดการใหม่ (recertification) เนื่องจากเนื้อหาของข้อ
  • 14. แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 ที่กำาลังทบทวนกันสำาหรับมาตรฐาน การจัดการทางด้านคุณภาพ (ต่อ) รวมทั้งเป็นการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับ ระบบการจัดการสงิ่แวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้วย สำาหรับแนวทางใน การประยุกต์ใช้ข้อกำาหนดซึ่งปัจจุบันอ้างอิง จากมาตรฐาน ISO 9004:2000 ก็อยู่ ระหว่างการปรับปรุงและคาดว่าจะประกาศ ใช้ในปี 2009 หรือ 2010 รายละเอียดการ ปรับเปลี่ยนที่สำาคัญบางข้อกำาหนดมีดังต่อ ไปนี้
  • 15. ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 นั้น เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ 3 ส่วน 1. การวางแผน เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานรู้จัก กำาหนดจุดมุ่งหมาย อำานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และเข้าใจเรื่องคุณภาพ 2. การควบคุม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานทำาตาม เงื่อนไปที่กำาหนดไว้ รวมทั้งคาดการณ์ถึงปัญหา หา ทางหลีกเลี่ยงหรือการวางแผนแก้ปัญหาและลงมือ แก้ไข 3. การจัดทำาเอกสาร เพื่อให้แน่ใจว่าผู้มาตรฐานเข้าใจ วัตถุประสงค์ และวิธีการ มีการดำาเนินการที่ราบรื่น มีหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยว
  • 16. ลักษณะสำาคัญของ ISO 9000 1. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ 2. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ใช้ได้ทั่วโลก 3. ISO 9000 เป็นมาตรฐานซึ่งเป็นความต้องการของตลาด 4. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบการบริหาร คุณภาพเพื่อทำาให้ลูกค้าพอใจ 5. ISO 9000 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพที่สามารถนำาไป ใช้ได้ กับธุรกิจทุกประเภท
  • 17. ลักษณะสำาคัญของ ISO 9000 6. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เน้นเรื่องหลักฐานด้าน เอกสารการปฏิบัติงาน 7. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เปิดโอกาสให้มีการปรับปรุง แก้ไขขั้นตอน 8. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ให้การับรองระบบบริหารงาน คุณภาพ ทั้งองค์การ 9. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ระบุให้มีการตรวจประเมิน โดยบุคคลที่ 3 10. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ทุกหน่วยงานของระบบ บริหารงานคุณภาพ และพนักงานที่รับผิดชอบทุกคน
  • 18. ISO 9001:2008 ระบบบริหารงาน คุณภาพ กับการปรับเปลี่ยน เวอร์ชนั่ ใหม่ ความเป็นมา ที่มาสำาหรับมาตรฐานระบบการจัดการที่เป็น สากลที่นำามาใช้ในปัจจุบัน มากมายหลาย มาตรฐาน ซึ่งหนงึ่ในนนั้เป็นมาตรฐานระบบ บริหารงานคุณภาพ หรือที่หลายคนทราบคือ ISO 9001 ซึ่งเป็น Version ปี 2000 ซึ่งได้ ถูกกำาหนดโดยองค์กรที่เรียกว่า International Organization for Standardization และมาตรฐานนี้ได้นำามา ใช้ปฏิบัติภายในองค์กรและมีตรวจประเมิน เพื่อการรับรองโดยหน่วยงานตรวจรับรอง
  • 19. ข้อดีของ ISO 9001:2008 1. เพิ่มความชัดเจนจากมาตรฐานฉบับเดิม 2. ประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน ISO 14001:2004 ได้ง่าย 3. ยังคงความสอดคล้องกับอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 4. เพิ่มการขยายความในบางข้อกำาหนด ผลบังคับใช้ ISO 9001:2000 ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 ประกาศ / ตีพิมพ์เป็นระยะเวลา 1 ปี ใบรับรอง ทั้งหมดที่ออก (ออกใบรับรองครั้งแรกหรือต่ออายุ) จะต้องออกตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008
  • 20. Continuous improvement? Deming’s Deming’s wheel (P.D.C.A.) wheel (P.D.C.A.) ISO 9000 PLAN DO PLAN DO PLAN DO ACT CHECK ACT CHECK ACT CHECK Continuous Improvement
  • 21. ประโยชน์ของการจัดทำา มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 1 ประโยชน์ต่อองค์การ 2. ประโยชน์ต่อลูกค้า 3. ประโยชน์ต่อ พนักงานลูกจ้าง
  • 22. ISO 9001:2008 Audit Guide ISO9001:2008, Quality management system 1. General requirements ข้อกำาหนด ทั่วไป 2. Documentation requirements ข้อกำาหนดเกี่ยวข้องกับเอกสาร 2.1 General 2.2 Quality manual 2.3 Control of document 2.4 Control of records
  • 23. ISO9001:2008, ความรับผิดชอบของ ฝ่ายบริหาร (Management responsibility) 1. ความมงุ่มนั่ของฝ่ายบริหาร (Management commitment ) 2. การให้ความสำาคัญกับลูกค้า (Customer focus ) 3. นโยบายคุณภาพ ( Quality Policy) 4. การวางแผน (Planning) 5. อำานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และ การสื่อสาร (Responsibility, authority and communication ) 6. การทบทวนของผู้บริหาร (Management review)
  • 24. ISO9001:2008, Resource management การบริหารทรัพยากร 1. Provision of resources การจัด ให้มีทรัพยากร 2. Human resources ทรัพยากร บุคคล 3. Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน 4. Work environment สภาพ แวดล้อมในการทำางาน
  • 25. ISO9001:2008, Product realization 1. Planning of product realization การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ 2. Customer-related processes กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 3. Design and development การ ออกแบบและพัฒนา 4. Purchasing การจัดซื้อ 5. Production and service provision การดำาเนินการผลิตและ บริการ 6. Control of monitoring and measuring equipment การควบคุม เครื่องมือ เฝ้าติดตาม และตรวจวัด
  • 26. ISO9001:2008, Measurement, analysis and improvement 1. บททั่วไป (General) 2. การเฝ้าติดตามและการตรวจวัด (Monitoring and measurement) 3. การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ สอดคล้อง (Control of nonconforming product) 4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) 5. การพัฒนา (Improvement) 5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual improvement) 5.2 การปฏิบัติการแก้ไข
  • 27. IISSOO 1144000000:: Environment Management Systems(EMS) 1.กำาหนดนโยบายด้านสิ่ง แวดล้อม 2.การวางแผน(ด้านสิ่ง แวดล้อม,กฎหมาย,วัตถุประสงค์,โประแกรมฯ) 3.เริ่มปฏิบัติและดำาเนิน การ(โครงสร้างและการรับผิดชอบ,การฝึกอบรม,การ สื่อสารข้อมูล,การควบคุมเอกสาร,การควบคุมการดำาเนิน การ,การเตรียมการในกรณีฉุกเฉิน)
  • 28. IISSOO 1144000000:: Environment Management Systems(EMS) ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่ง แวดล้อม ISO 14010 แนวทางการตรวจ ประเมิน ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่ง แวดล้อม ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติ
  • 29. IISSOO 1144000000 ISO 14050 คำาศัพท์การจัดการ สิ่งแวดล้อม ISO 14061 ข้อมูลการใช้ มาตรฐานระบบ การจัดการสิ่ง แวดล้อม ISO 14000 และ ISO 14004 สำาหรับองค์กร
  • 30. IISSOO 1144000011มมาาตรฐฐาานรระะบบ กกาารจจััดกกาารสสิ่งิ่งแแววดลล้อ้อม(เเปป็น็น มมาาตรฐฐาานเเดดียียว))บริษัทขอรับรองผ่าน การตรวจสอบจากหน่วยงานอิสระที่ได้ รับการรับรองแล้ว ไม่ได้เป็นมาตรฐาน บังคับตามกฎหมาย แต่เป็นการสมัคร ใจ ต้องปฏิบัติสมำ่าเสมอ สงิ่แวดล้อมดีขึ้น เป็นระบบบริหารความเสี่ยง ประหยัด ค่าใช้จ่าย
  • 31. IISSOO 1144000000 ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่ง แวดล้อม ISO 14010 แนวทางการตรวจ ประเมิน ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่ง แวดล้อม ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติ งานด้านสิ่งแวดล้อม
  • 32. IISSOO 1144000011 แแลละะ IISSOO 99000011 ถูก กำาหนดโดยองค์กรเดียวกันและ ใช้หลักในการจัดการระบบการ ทำางาน (Management Policy) ที่เป็นที่แพร่หลายเช่น ระบบ ควบคุมคุณภาพโดยรวม(Total Quality Management) จึง ทำาให้องค์กรที่ได้ปฏิบัติตาม มาตรฐาน ISO 9001 สามารถ
  • 33. ประโยชน์ต่อองค์กรในการทำา ISO 14000 1. ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว 2. เพิ่มโอกาสในด้านการค้า ทำาให้การเจรจาทางด้านการค้า สะดวกยิ่งขึ้น 3. สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร 4. ได้รับเครื่องหมายรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรที่นำามาตรฐาน ISO 14000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้ หน่วยงานรับรองให้การรับรองระบบการจัดการสิ่ง แวดล้อม ซึ่งจะทำาให้องค์กรสามารถนำาไปใช้ ในการ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ภาพ ลักษณ์ขององค์กรให้ดีขึ้น
  • 34. IISSOO 1188000000 มาตรฐาน ISO 18000 คืออะไร ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย ISO 18000 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ ในการจัดทำาระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (Occupational health and safety management system standards)
  • 35. การพัฒนาปรับปรุงระบบให้ดียิ่งขึ้น อย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ 1. ลดความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุต่าง ๆ ของพนักงานและ ผู้เกี่ยวข้อง 2. ปรับปรุงการดำาเนินงานของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย 3. ช่วยสร้างภาพพจน์ความรับผิดชอบขององค์กรต่อพนักงาน ภายในองค์กรต่อ องค์กรเอง และต่อสังคม
  • 36. ขั้นตอนหลักในการจัดทำาระบบ การจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1. การทบทวนสถานะเริ่มต้น 2. นโยบายอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 3. การวางแผน 4. การนำาไปใช้และการปฏิบัติ 5. การตรวจสอบและแก้ไข 6. การทบทวนการจัดการ
  • 37. ประโยชน์การใช้มาตรฐาน ISO 18000 ในการดำาเนินงาน ประโยชน์สูงสุดนั้น มีองค์ประกอบดังนี้ 1. ผู้บริหารระดับสูงมีความมุ่งมั่นและตั้งใจแน่วแน่ในการนำาระบบมา ใช้และให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 2. ทุกคนในองค์กรมีความเข้าใจ ให้ความสำาคัญ มีส่วนร่วมและ ให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง 3. ได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอ 4.มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
  • 38. ประโยชน์การจัดทำาตาม มาตรฐาน ISO 18000 1. รักษาและป้องกันชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจาก อุบัติเหตุอันอาจเกิดขึ้นในองค์กร 2. เป็นการเตรียมความพร้อมสำาหรับอุบัติเหตุ และ ภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะช่วย ลดความเสียหาย และความสูญเสียทั้งด้านชีวิตและทรัพย์สิน 3. ลดรายจ่ายเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนเนื่องจาก อุบัติเหตุลดลง 4. สร้างขวัญและกำาลังใจแก่พนักงานให้เกิดความเชื่อมั่น ในความปลอดภัยต่อชีวิต
  • 39. ประโยชน์การจัดทำาตาม มาตรฐาน ISO 18000 5. ได้รับเครื่องหมายรับรองฯองค์กรสามารถนำาไปใช้ในการ โฆษณาและประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ให้ดียิ่งขึ้นและ เป็นที่ยอมรับในสังคม 6. เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การแข่งขันทางด้านการค้าใน ตลาดโลก
  • 40.
  • 41.
  • 42. ทมี่มี่าาของมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2540 กำาหนดนโยบายให้จัดทำาและพัฒนา ระบบมาตรฐานสากลของ ประเทศไทยด้านการจัดการและ สัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (P.S.O.) ใน ทุกส่วนราชการ โดยให้สำานักงบ ประมาณสนับสนุนเงินงบประมาณให้ แก่ส่วนราชการ ตามความ จำาเป็นและให้สำานักงาน ก.พ. ร่วมกับ
  • 43. ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ ส่วนราชการ ในการส่งเสริมและ พัฒนาระบบมาตรฐานสากลของ ประเทศไทย ทั้งนี้แนวทางและวิธีการ พัฒนาระบบ P.S.O. เป็นไปตาม ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับรองมาตรฐานด้านการจัดการ และสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ พ.ศ. 2543
  • 44. ววััตถถุปุปรระะสงคค์์ PP..SS..OO.. การทำามาตรฐาน P.S.O. มงุ่เน้น ผลสัมฤทธิ์โดยรวม ของภาคราชการทั้งระบบและเน้นให้ หน่วยงานภาครัฐพัฒนามาตรฐาน ใน 2 ด้าน คือ ด้านการจัดการ (Management System) และด้านสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน (Outcomes) โดยมีเป้าหมายเป็นผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์ บั้นปลาย
  • 45. แแนนวนโโยยบบาายพพื้นื้นฐฐาาน แแหห่ง่งรรััฐ มมาาตรราา 7755 รัฐต้องดูแลให้มี การปฏิบัติตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ บุคคล จัดระบบงานของ กระบวนการยุติธรรมให้มี ประสิทธิภาพและอำานวยความ ยุติธรรมแก่ประชาชนอย่าง รวดเร็วและเท่าเทียมกัน รวมทั้ง จัดระบบงานราชการและงาน
  • 46. เเปป้า้าหมมาายของ PP..SS..OO.. มุ่งการบรรลุผลลัพธ์ บั้นปลาย - ประสิทธิภาพของหน่วยราชการ - คุณภาพและความถูกต้องของการบริการ - ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความทั่วถึงในการให้ บริการ - ความพึงพอใจของประชาชน - ความประหยัดของภาครัฐและประชาชนผู้มารับ บริการ - สิทธิและเสรีภาพ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  • 47. แแนนวคคิดิดหลลักักของ PP..SS..OO.. 1. ส่งเสริมประสิทธิภาพและมาตรฐานการปฎิบัติเพื่อ ประชาชน 2. สร้างระบบราชการให้เกิด ธรรมาภิบาย (Good Governance) 3. สนองตอบเจตนารมณ์และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 7 4. เป็นนโยบายของรัฐเชิงนวัตกรรม (Innovative Public Policy) 5. พัฒนามาตรฐานภาครัฐเพื่อเข้าสู่ระบบสากล 6. เป็นเกียรติภูมิของประเทศในการมีมาตรฐานของ ภาคราชการ ของประเทศไทยเอง 7. เป็นแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
  • 48. คววาามหมมาายของ PP..SS..OO.. มมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. หรรืือ รระะบบ มมาาตรฐฐาานสสาากล ของ ปรระะเเททศไไททย ดด้้าานกกาารจจัดัดกกาารแแลละะ สสัมัมฤทธธิ์ผิ์ผลของงงาานภภาาครรััฐ ((TThhaaiillaanndd IInntteerrnnaattiioonnaall PPuubblliicc SSeeccttoorr SSttaannddaarrdd MMaannaaggeemmeenntt SSyysstteemm aanndd OOuuttccoommeess :: PP..SS..OO..)) หมมาายถถึงึง รระะบบมมาาตรฐฐาานคคุณุณภภาาพ หรรืือกกาารปรระะกกันันคคุณุณภภาาพ ทที่ไี่ไดด้้ รรัับกกาารออกแแบบบใใหห้เ้เหหมมาาะะสมกกับับ รระะบบรราาชกกาารไไททย
  • 49. ลลัักษณณะะของ PP..SS..OO.. ลักษณะของ P.S.O. มาตรฐานสากลภาครัฐ (P.S.O) เป็นนวัตกรรม ใหม่ของประเทศ ไทย ซึ่งเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบ มาตรฐาน การจัดการและสัมฤทธิ์ผลภาครัฐ โดยแบ่ง เป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนแรก ได้แก่ระบบมาตรฐานคุณภาพด้านการ บริหารจัดการ ส่วนที่สอง ได้แก่มาตรฐานสัมฤทธิ์ผลของการ ปฏิบัติ คือ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลลัพธ์บั้นปลายและระบบ ป้องกันผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่พึงปรารถนา
  • 50. คคุุณลลัักษณณะะทที่สี่สำาำาคคััญของ รระะบบมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 1. มุ่งเน้นสัมฤทธิ์ผลของภาคราชการทั้งระบบ (ขณะที่ ISO เป็นเรื่องจุลภาคเน้นองค์การภาคเอกชนเฉพาะองค์การ ) 2. มุ่งผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์ผลบั้นปลาย (Ultimate Outcomes) เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำาคัญ ส่งเสริมภาคี ความร่วมมือ 3. มุ่งการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของภาครัฐ 4. เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำาคัญ ส่งเสริมภาคีความ ร่วมมือ 5. ยืดหยุ่น เปิดกว้าง สามารถบูรณาการร่วมกับระบบ มาตรฐานอื่น ๆ 6. มาตรฐานบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาค ประชาชนและชุมชน
  • 51. กกาารจจัดัดททำาำา PP..SS..OO.. ใในนกกาารบรริิหหาาร งงาาน การทำามาตรฐาน P.S.O. มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์โดยรวมของ ภาคราชการทั้งระบบ และเน้นให้หน่วยงานภาครัฐ พัฒนามาตรฐานใน 2 ด้าน คือ 1. ด้านการจัดการ(Management System) 2. ด้านสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน(Outcomes) โดยมีเป้าหมายเป็นผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์บั้นปลาย (Ultimate outcomes) เพื่อให้ราชการมีระบบบริหารและจัดการที่ดี อำานวย ประโยชน์แก่ประชาชน และสังคม
  • 52. 11.. มมาาตรฐฐาานดด้้าานกกาารจจััดกกาาร ปรระะกอบ ดด้ว้วย 1100 รระะบบยย่่อย ดดัังนนีี้้1. P.S.O.1101 (ระบบ ข้อมูล) 2. P.S.O.1102 (ระบบการสื่อสาร) 3. P.S.O.1103 (ระบบการตัดสินใจ) 4. P.S.O.1104 (ระบบการพัฒนาบุคลากร) 5. P.S.O.1105 (ระบบการตรวจสอบถ่วงดุล) 6. P.S.O.1106 (ระบบการมีส่วนร่วม) 7. P.S.O.1107 (ระบบการบริการภาคเอกชนและ ประชาชน) 8. P.S.O.1108 (ระบบประเมินผล) 9. P.S.O.1109 (ระบบการคาดคะเนและแก้ไขวิกฤติ) 10. P.S.O.1110 (ระบบวัฒนธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ)
  • 53. 2. มาตรฐานด้านสัมฤทธิ์ผลของ การปฏิบัติงาน P.S.O.2201 ประกอบด้วย ผลงาน/ผลผลิต ผลลัพธ์ บั้นปลาย และระบบป้องผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่ พึงปรารถนา
  • 54. ขข้้าารราาชกกาารไไดด้อ้อะะไไรรจจาากมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO..  ได้รับความศรัทธาจากประชาชน  ภูมิใจในศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการ  มีความสามัคคีจากการทำางานเป็นทีม  เข้าใจงานอื่นๆ ในหน่วยงานได้ดีกว่าเดิม  ลดภาระงาน ไม่ต้องอธิบายขั้นตอนมาก  มีทัศนคติที่ดีต่อการทำางานและคำาวิจารณ์  มีความสนุกสนานและผ่อนคลายในการทำางาน  ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง  มีความกระตือรือร้นในการเพิ่มพูนความรู้  ใกล้ชิดกับผู้บังคับบัญชาและประชาชนมากขึ้น
  • 55. ปรระะชชาาชนไไดด้อ้อะะไไรรจจาากมมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO..  ความเสมอภาคในการบริการ  ความเป็นธรรมในการบริการ  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน  สิทธิเสรีภาพของประชาชน  ความทั่วถึงของบริการสาธารณะ  ความพึงพอใจของประชาชนในฐานะลูกค้า  ความประหยัดทั้งของภาคราชการและประชาชนผู้รับ บริการ  คุณภาพและความถูกต้องของบริการและเอกสารที่ เกี่ยวข้อง  การรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ความผาสุกและ  คุณภาพชีวิตประชาชนโดยรวม
  • 56. เเกกณฑฑ์ม์มาาตรฐฐาานแแลละะตตััวชวี้วีัั้ด PP..SS..OO.. 11110011 1. ความครอบคลุม 2. ความรวดเร็ว 3. ความถูกต้อง 4. ความเชื่อมโยง 5. ความทันสมัย 6. ความน่าเชื่อถือ 7. ความสามารถในการเข้าถึง 8. ความสามารถในการตรวจสอบ 9. การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล
  • 57. กรระะบวนกกาารพพััฒนนาารระะบบ มมาาตรฐฐาาน PP..SS..OO.. 1. การเข้าสู่ระบบมาตรฐาน P.S.O 2. การดำาเนินการพัฒนาระบบ 3. การตรวจรับรองมาตรฐาน 4. การรักษามาตรฐาน
  • 58. ปรระะโโยยชนน์์ของ PP..SS..OO.. ประโยชน์ของกระบวนการพัฒนา ระบบมาตรฐาน P.S.O. 1. การเข้าสู่ระบบมาตรฐาน P.S.O. 2. การดำาเนินการพัฒนาระบบ 3. การตรวจรับรองมาตรฐาน 4. การรักษามาตรฐาน
  • 60. ตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับ ISO 9001:2008 กับการบริหารงานบุคคล
  • 61. QQ&AA