SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
L a b S c h o o l P r o j e c t
73
มหัศจรรย์ป่าสาคู
73
การผลิตแป้งสาคู
	 สาคู สามารถนำ�มาผลิตเป็นแป้งได้ โดยเฉพาะส่วนกลาง (ไส้) ของลำ�ต้น
จะให้แป้งมากที่สุดแป้งที่ผลิตจากต้นสาคูจะมีสีเหลือง และจะมีสิ่งสกปรกปะปนอยู่มาก
ระยะของต้นสาคูที่เหมาะสมจะตัดมาทำ�แป้ง จะมีอายุประมาณ 9 - 10 ปี โดยเฉพาะที่
ช่วงความสูง 7.5 - 9 เมตร จะมีแป้งมากที่สุด ระยะนี้ต้นสาคูจะตั้งท้อง และเริ่มสร้างดอก
หลังจากระยะนี้แล้วลำ�ต้นของสาคูจะมีลักษณะกลวง และตายในที่สุด
การเลือกต้นสาคูทำ�แป้ง โดยสังเกตจากการเริ่มออกดอกของต้นสาคู ชาวบ้านจะ
เรียกว่า “การแตกเขากวาง” เป็นช่วงที่แป้งสาคู มีความสมบูรณ์ แต่หากเลยช่วงดังกล่าว
ไปจนสาคูออกผล ทำ�ให้ปริมาณแป้งสาคู ในลำ�ต้นลดลง ไม่สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้
แสดงภาพแป้งสาคู (ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต)
74
มหัศจรรย์ป่าสาคู
74
	 วิธีการทำ�แป้งสาคู ชาวบ้านจะโค่นต้นสาคูลงและตัดลำ�ต้นเป็นท่อนๆ ลอกเปลือก
นอกของลำ�ต้นออก หลังจากนั้นก็จะเอาเนื้อของต้นสาคู มาขูด หรือนำ�มาตำ� แล้วละลาย
ในน้ำ� คั้นแยกกากออกด้วยผ้าขาวบาง นำ�ไป ใส่ภาชนะทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เทส่วนที่
เป็นน้ำ�ออก จะได้แป้งสาคู และนำ�ไปผึ่งแดดให้แห้ง สามารถเก็บไว้ใช้ได้เป็นปีโดยไม่เสีย
ซึ่งสามารถจะนำ�มาผสมกับแป้งชนิดอื่น เพื่อประกอบเป็นอาหารได้ ทั้งคาวและหวาน
เช่น ขนมจีน ก๋วยเตี๋ยว พาสต้า คุกกี้ ลอดช่อง ข้าวเกรียบปากหม้อ ขนมดอกจอก
ขนมปังไส้ต่างๆ ตะโก้สาคู ข้าวเกรียบว่าว ข้าวเกรียบผสมกุ้ง หรือ ข้าวเกรียบผสมปลา
สำ�หรับทอด โดยในท้องถิ่นภาคใต้ จะเรียกว่า กือรือโป๊ะ /กือแลแป๊ะ
	 สาคูต้นหนึ่ง สามารถผลิตแป้งได้ ประมาณ 100 - 500 กิโลกรัม การนำ�ไป
ทำ�แป้งต้องทำ�หลังจากโค่นต้นสาคูภายใน1สัปดาห์ถ้าทิ้งไว้นานต้นสาคูจะเน่าเกษตรกร
ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปจะผลิตแป้งจากต้นสาคูกันมาก
ด้วยกรรมวิธีแบบง่ายสรุปเป็นขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการเตรียมแป้งสาคู
1.	 เอาต้นสาคู มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วล่องเรือออกมาจากป่า
(สาคูมักขึ้นในป่าพรุซึ่งเป็นป่า ที่มีน้ำ�ขัง จึงต้องนำ�ออกมาโดยการล่องเรือ)
2.	 นำ�มาปอกเปลือกลำ�ต้นออกแล้วใช้ แปรงขูดเอาเนื้อไม้ จะได้ผงแป้งออก
มาเป็นขุยๆ นำ�เอาขุยเหล่านั้นมาคั้นน้ำ� (เหมือนคั้นกะทิ) แล้วกรองด้วย
ผ้าขาวบางจะได้ส่วนที่เป็นแป้งสาคูตกตะกอนและส่วนน้ำ�ซึ่งจะเรียกว่า
น้ำ�ฝาด (เป็นส่วนประกอบอื่นๆ ในต้นสาคู)
3.	 รินแยกน้ำ�ฝาดออกจากแป้งสาคู แยกเอาแต่แป้ง ล้างจนน้ำ�ใส ได้แป้งสีขาว
4.	 เอาแป้งสีขาวมาตากแดด
5.	 ทำ�แป้งให้แห้งสนิทโดยคั่ว หรืออบโดยใช้ความร้อน
6.	 เก็บแป้งไว้ในถุงแบ่งตามคุณภาพ ความหยาบ และละเอียด จากนั้นก็นำ�ไป
ทำ�ขนมต่างๆ ดังแผนผังหน้าที่ 75
L a b S c h o o l P r o j e c t
75
มหัศจรรย์ป่าสาคู
75
แสดงภาพ แผนผังขั้นตอนการทำ�แป้งสาคูในท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง
แสดงภาพ การเลื่อยต้นสาคู
แสดงภาพ ปอกเปลือกต้นสาคู
แสดงภาพ ท่อนสาคูสำ�หรับขูด
เพื่อทำ�แป้ง
76
มหัศจรรย์ป่าสาคู
76
แสดงภาพ ขูดสาคูด้วยที่ขูดมะพร้าว
หรือ ใช้อุปกรณ์แบบดั้งเดิม
แสดงภาพ “กบนอกกะลา”
ตอน ตามหาสาคู อ.นาโยง
แสดงภาพ ขยำ�แป้งที่ผสมน้ำ�
แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน
ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง
แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน
ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง
แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน
ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง
L a b S c h o o l P r o j e c t
77
มหัศจรรย์ป่าสาคู
77
สรุป
การทำ�แป้งสาคู เริ่มจากการคัดเลือกโค่นต้นสาคู ที่มีลักษณะดังที่กล่าวมาข้างต้น
ตัดส่วนปลายและส่วนโคนออก เพราะมีแป้งน้อยและมีเสี้ยนมาก ซึ่งนิยมใช้เลี้ยงสัตว์ ตัด
สาคูเป็นท่อน ๆ ขนาดที่ขนย้าย สะดวก นำ�มา ถาก/ปอก เปลือกนอกออก นำ�เนื้อต้นสาคู
ที่ได้มาบด หรือขูดด้วยที่ขูดมะพร้าว หรือตำ� หรือโม่ให้ละเอียดแล้วละลายในน้ำ�สะอาด
คั้นหรือบีบเพื่อแยกแป้งออกจากกาก แล้วกรองเอากากออกด้วยผ้าขาวบาง ใส่ภาชนะ
วางทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เทน้ำ�ส่วนบนทิ้ง นำ�แป้งที่ได้ ไปผึ่งแดดให้แห้งสามารถที่จะเก็บไว้
ได้นาน               
แสดงภาพ แป้งสาคู
สมาคมหยาดฝน เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล
78
มหัศจรรย์ป่าสาคู
78
แสดงภาพ กากแป้งสาคูใช้ทำ�ปุ๋ย (ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
กากแป้งสาคูใช้ทำ�ปุ๋ย
การใช้เนื้อในลำ�ต้นสาคูเป็นปุ๋ย เป็นการใช้ประโยชน์ทางอ้อม โดยการนำ�กากสาคูที่
เหลือจากการทำ�แป้งหรือส่วนที่ไม่ใช้เป็นอาหารสัตว์ ไปใส่บริเวณโคนต้นไม้ เมื่อใส่
หลายๆครั้งจะเกิดการทับถมเป็นปุ๋ยในที่สุดหรือจะนำ�ผสมวัสดุอื่นๆทำ�เป็นปุ๋ยชีวภาพก็ได้

Más contenido relacionado

Más de ครู กัน

17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อนครู กัน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียงครู กัน
 
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

Más de ครู กัน (14)

17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

9การผลิตแป้งสาคู

  • 1. L a b S c h o o l P r o j e c t 73 มหัศจรรย์ป่าสาคู 73 การผลิตแป้งสาคู สาคู สามารถนำ�มาผลิตเป็นแป้งได้ โดยเฉพาะส่วนกลาง (ไส้) ของลำ�ต้น จะให้แป้งมากที่สุดแป้งที่ผลิตจากต้นสาคูจะมีสีเหลือง และจะมีสิ่งสกปรกปะปนอยู่มาก ระยะของต้นสาคูที่เหมาะสมจะตัดมาทำ�แป้ง จะมีอายุประมาณ 9 - 10 ปี โดยเฉพาะที่ ช่วงความสูง 7.5 - 9 เมตร จะมีแป้งมากที่สุด ระยะนี้ต้นสาคูจะตั้งท้อง และเริ่มสร้างดอก หลังจากระยะนี้แล้วลำ�ต้นของสาคูจะมีลักษณะกลวง และตายในที่สุด การเลือกต้นสาคูทำ�แป้ง โดยสังเกตจากการเริ่มออกดอกของต้นสาคู ชาวบ้านจะ เรียกว่า “การแตกเขากวาง” เป็นช่วงที่แป้งสาคู มีความสมบูรณ์ แต่หากเลยช่วงดังกล่าว ไปจนสาคูออกผล ทำ�ให้ปริมาณแป้งสาคู ในลำ�ต้นลดลง ไม่สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้ แสดงภาพแป้งสาคู (ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต)
  • 2. 74 มหัศจรรย์ป่าสาคู 74 วิธีการทำ�แป้งสาคู ชาวบ้านจะโค่นต้นสาคูลงและตัดลำ�ต้นเป็นท่อนๆ ลอกเปลือก นอกของลำ�ต้นออก หลังจากนั้นก็จะเอาเนื้อของต้นสาคู มาขูด หรือนำ�มาตำ� แล้วละลาย ในน้ำ� คั้นแยกกากออกด้วยผ้าขาวบาง นำ�ไป ใส่ภาชนะทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เทส่วนที่ เป็นน้ำ�ออก จะได้แป้งสาคู และนำ�ไปผึ่งแดดให้แห้ง สามารถเก็บไว้ใช้ได้เป็นปีโดยไม่เสีย ซึ่งสามารถจะนำ�มาผสมกับแป้งชนิดอื่น เพื่อประกอบเป็นอาหารได้ ทั้งคาวและหวาน เช่น ขนมจีน ก๋วยเตี๋ยว พาสต้า คุกกี้ ลอดช่อง ข้าวเกรียบปากหม้อ ขนมดอกจอก ขนมปังไส้ต่างๆ ตะโก้สาคู ข้าวเกรียบว่าว ข้าวเกรียบผสมกุ้ง หรือ ข้าวเกรียบผสมปลา สำ�หรับทอด โดยในท้องถิ่นภาคใต้ จะเรียกว่า กือรือโป๊ะ /กือแลแป๊ะ สาคูต้นหนึ่ง สามารถผลิตแป้งได้ ประมาณ 100 - 500 กิโลกรัม การนำ�ไป ทำ�แป้งต้องทำ�หลังจากโค่นต้นสาคูภายใน1สัปดาห์ถ้าทิ้งไว้นานต้นสาคูจะเน่าเกษตรกร ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปจะผลิตแป้งจากต้นสาคูกันมาก ด้วยกรรมวิธีแบบง่ายสรุปเป็นขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนการเตรียมแป้งสาคู 1. เอาต้นสาคู มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วล่องเรือออกมาจากป่า (สาคูมักขึ้นในป่าพรุซึ่งเป็นป่า ที่มีน้ำ�ขัง จึงต้องนำ�ออกมาโดยการล่องเรือ) 2. นำ�มาปอกเปลือกลำ�ต้นออกแล้วใช้ แปรงขูดเอาเนื้อไม้ จะได้ผงแป้งออก มาเป็นขุยๆ นำ�เอาขุยเหล่านั้นมาคั้นน้ำ� (เหมือนคั้นกะทิ) แล้วกรองด้วย ผ้าขาวบางจะได้ส่วนที่เป็นแป้งสาคูตกตะกอนและส่วนน้ำ�ซึ่งจะเรียกว่า น้ำ�ฝาด (เป็นส่วนประกอบอื่นๆ ในต้นสาคู) 3. รินแยกน้ำ�ฝาดออกจากแป้งสาคู แยกเอาแต่แป้ง ล้างจนน้ำ�ใส ได้แป้งสีขาว 4. เอาแป้งสีขาวมาตากแดด 5. ทำ�แป้งให้แห้งสนิทโดยคั่ว หรืออบโดยใช้ความร้อน 6. เก็บแป้งไว้ในถุงแบ่งตามคุณภาพ ความหยาบ และละเอียด จากนั้นก็นำ�ไป ทำ�ขนมต่างๆ ดังแผนผังหน้าที่ 75
  • 3. L a b S c h o o l P r o j e c t 75 มหัศจรรย์ป่าสาคู 75 แสดงภาพ แผนผังขั้นตอนการทำ�แป้งสาคูในท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง แสดงภาพ การเลื่อยต้นสาคู แสดงภาพ ปอกเปลือกต้นสาคู แสดงภาพ ท่อนสาคูสำ�หรับขูด เพื่อทำ�แป้ง
  • 4. 76 มหัศจรรย์ป่าสาคู 76 แสดงภาพ ขูดสาคูด้วยที่ขูดมะพร้าว หรือ ใช้อุปกรณ์แบบดั้งเดิม แสดงภาพ “กบนอกกะลา” ตอน ตามหาสาคู อ.นาโยง แสดงภาพ ขยำ�แป้งที่ผสมน้ำ� แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง แสดงภาพ ขั้นตอนการผลิตแป้งสาคูใน ท้องถิ่น อ.นาโยง จ.ตรัง
  • 5. L a b S c h o o l P r o j e c t 77 มหัศจรรย์ป่าสาคู 77 สรุป การทำ�แป้งสาคู เริ่มจากการคัดเลือกโค่นต้นสาคู ที่มีลักษณะดังที่กล่าวมาข้างต้น ตัดส่วนปลายและส่วนโคนออก เพราะมีแป้งน้อยและมีเสี้ยนมาก ซึ่งนิยมใช้เลี้ยงสัตว์ ตัด สาคูเป็นท่อน ๆ ขนาดที่ขนย้าย สะดวก นำ�มา ถาก/ปอก เปลือกนอกออก นำ�เนื้อต้นสาคู ที่ได้มาบด หรือขูดด้วยที่ขูดมะพร้าว หรือตำ� หรือโม่ให้ละเอียดแล้วละลายในน้ำ�สะอาด คั้นหรือบีบเพื่อแยกแป้งออกจากกาก แล้วกรองเอากากออกด้วยผ้าขาวบาง ใส่ภาชนะ วางทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เทน้ำ�ส่วนบนทิ้ง นำ�แป้งที่ได้ ไปผึ่งแดดให้แห้งสามารถที่จะเก็บไว้ ได้นาน แสดงภาพ แป้งสาคู สมาคมหยาดฝน เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล
  • 6. 78 มหัศจรรย์ป่าสาคู 78 แสดงภาพ กากแป้งสาคูใช้ทำ�ปุ๋ย (ภาพจากอินเทอร์เน็ต) กากแป้งสาคูใช้ทำ�ปุ๋ย การใช้เนื้อในลำ�ต้นสาคูเป็นปุ๋ย เป็นการใช้ประโยชน์ทางอ้อม โดยการนำ�กากสาคูที่ เหลือจากการทำ�แป้งหรือส่วนที่ไม่ใช้เป็นอาหารสัตว์ ไปใส่บริเวณโคนต้นไม้ เมื่อใส่ หลายๆครั้งจะเกิดการทับถมเป็นปุ๋ยในที่สุดหรือจะนำ�ผสมวัสดุอื่นๆทำ�เป็นปุ๋ยชีวภาพก็ได้