SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
Descargar para leer sin conexión
พระพุทธศาสนากับ 
วิทยาศาสตร์ 
โลกทัศน์พื้นฐานของ 
พระพุทธศาสนา
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของ 
โลก 
วิทยาศาสตร์ทไี่ม่มีศาสนาย่อมพิกลพิการ 
ส่วนศาสนาที่ไม่มีวิทยาศาสตร์ย่อมมืดบอด 
(Science without religion is lame, religion without science is blind)
วัตถุประสงค์ของพุทธศาสนาและ 
วิทยาศาสตร์ 
เพื่อศึกษาทัศนะเกยี่วกบัมนุษย์ 
และความแตกต่างระหว่างมนุษย์ 
(Human being) กบัสัตภาวะ (Non-human 
being) อื่น ๆ 
ศึกษาลักษณะ ธรรมชาติ และ 
คุณสมบัติของความเป็นมนุษย์ รวม 
ทั้งความเป็นไปของมนุษย์ใน 
จักรวาล
ชีวิตในสังสารวัฎ
มนุษย์กับจักรวาล (Man and 
Universe) 
สภาวะการเป็นมนุษย์ของมนุษย์ใน 
ปัจจบุัน เป็นเพียงจุดหนงึ่ของ 
กระแสชีวิตอันยาวไกล ซึ่งไมอ่าจ 
กำาหนดได้แน่ชัดว่าเริ่มต้นเมื่อไร 
และจะสิ้นสุดเมื่อใด
สภาวะของมนุษย์ (State of 
Man) 
มนุษย์แตกต่างจากสภาวะอนื่ ๆ 
ที่มใิช่มนุษย์ ทั้งในแงก่ายภาพ 
และจติภาพ แต่ความแตกต่าง 
เหล่านี้เป็นเพียง “อุบัติการณ์” 
ชั่วคราว
มนุษย์และกรรม (Man and 
Karma) 
การกระทำาของสตัว์ (มนุษย์) – 
เป็นพลังผลักดันให้สัตว์ 
(มนุษย์) เคลื่อนสู่สถานะต่าง ๆ 
ทั้งสงูและตำ่า ในเวลาอันไม่ 
จำากัด
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
อนภุาคฮิกส์ (God particle) 
.
การเดินทางของสัตว์โลก (1) 
พระพุทธเจา้ตรัสว่า จุดเริ่มต้น 
ของชีวิตสัตว์โลก ไม่สามารถสืบ 
สาวหาจุดเริ่มต้นได้ 
ปัจจุบัน ยังไม่มเีครื่องมือใด ช่วย 
ให้มนุษย์ค้นพบจดุเริ่มต้น / จุด 
กำาเนิดของสรรพสิ่งในจักรวาล
จุดเริ่มต้น 
ของชีวิตใน 
จักรวาล
การเดินทางของสัตว์โลก (2) 
กองกระดูกของมนุษย์คนหนึ่งที่ 
เกิดมาในสงสารวัฏ สูงกว่าภูเขา 
สิเนรุ (เขาพระสุเมรุ) 
นำ้าตาของสัตว์ผู้เศร้าโศก เพราะ 
ทุกข์ในสังสารวัฏ มากยิ่งกว่านำ้า 
ในมหาสมุทร
คำาสอนเรื่องกำาเนิดโลก ปรากฏ 
เฉพาะในคำาสอนทางศาสนา ที่ 
อาศัยการพิสูจน์ดว้ยศรัทธา 
แนวคดิเรื่อง “การระเบดิครั้ง 
ใหญ่” (Big Bang) ของจกัรวาล 
เป็นเพียง “ทฤษฎี” ที่ยังไมใ่ช่คำา 
ตอบสุดท้ายของมนุษย์
ชีวิต-ในแง่มุมของพุทธศาสนา 
มีพื้นที่ทับซ้อน-เปิดกว้างไม่จำากัด 
ระยะ “เวลา” มีไมจ่ำากดั
ชีวิต-จากแง่มุมวิทยาศาสตร์ 
 มีพื้นที่จำากัด 
 มีเวลาจำากัด
มนุษย์ท่ามกลางสังสารวัฏ 
เทวดา 
อสุรก 
าย 
เดรัจ 
มนุษ 
ฉาน 
ย์ 
นรก เปรต
อริยสัจกับหลักการทาง 
วิทยาศาสตร์ 
๑. การกำาหนดรู้ทุกข์ = การกำาหนดขอบเขต 
ของปัญหา 
๒. การค้นหาสมุทัย = การตั้งสมมติฐาน 
๓. การเก็งนิโรธ = การคาดคะเน 
๔. การดำาเนินตามมรรค = การพิสจูน์ทดลอง
ธรรมชาติ ของมนุษย์ 
มนษุย์ : ขันธ์ 5 
รูปขันธ์ : สสารวัตถุและคุณสมบัติ 
ต่าง ๆ ที่อาศัยสสารวัตถุ 
นามขันธ์ : จิตและคุณสมบัติต่าง 
ๆ ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยจิต (เวทนา 
สัญญา สังขาร วิญญาณ)
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของความเป็น 
มนุษย์ 
ร่างกาย / สสาร / รูป (physical) 
จิตใจ /อสสาร / นาม (psychic)
องค์ประกอบทางด้านร่างกาย 
ธาตุพนื้ฐาน 4 : ดิน นำ้า ไฟ ลม 
สิ่งที่อาศัยธาตุพื้นฐาน : ผิว 
พรรณ ประสาทสัมผัส 
สมรรถนะในการรับรู้ ความเป็น 
หญิง ความเปน็ชาย ฯลฯ
องค์ประกอบด้านจิตใจ 
เวทนา / sensation / feeling 
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากการสัมผัส 
ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 หรือทาง 
ใจ 
สุข 
ทุกข์ 
อุเบกขา / เป็นกลาง / ไม่สขุไม่ 
ทุกข์
สัญญา (ความจำา) 
Memory / เกบ็ข้อมลู / จำาไว้ 
Recognition /การระลึกได้ / จำาได้ 
(เปรียบเทียบข้อมูล)
มนุษย์มีสัญญา 2 ระดับ 
สัญญาบริสุทธิ์ :ไม่มีการให้คุณค่า 
สัญญาซ้อนเสริม : ให้คุณค่า ดี- 
เลว
สัญญาซ้อนเสริม 2 ประเภท 
กำาหนดความหมาย / จดจำาสิ่ง 
ต่าง ๆ ตาม 
ความต้องการของตนเอง 
การยึดเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง 
ความเชื่อความคิดเห็น 
ให้ความหมาย / จดจำา ด้วย 
ความคิดที่ดี ความเข้าใจที่ถูก
สังขาร / mental formation, 
Conception 
สภาพปรุงแต่งจิต ให้ดี-ให้ชั่ว– 
เป็นกลาง 
พฤติกรรม ลักษณะ คุณสมบัติต่าง 
ๆ ของจิต (ซึ่งทำาให้จิตนึกคิดและ 
แสดงออกทางกายวาจาในลักษณะ 
ต่าง ๆ)
วิญญาณ (Consciousness) 
ส่วนที่เป็นความรู้แจ้งอารมณ์ทาง 
ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 และทางใจ 
เป็นความรู้ประเภทยืนพื้น เป็นฐาน 
แห่งเวทนา สัญญา สังขาร
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของมนุษย์ 
มนุษย์ ประกอบด้วย 
สสาร(กายภาพ) และอ 
สสาร(จิตภาพ) 
องค์ประกอบทางด้านกายภาพ 
(รูป) เป็นสภาวะที่สามารถมองเห็น 
จากรูปลักษณ์ภายนอก พร้อมทั้ง 
กริยาอาการ หรือ คุณสมบัติทาง 
กาย
องค์ประกอบของมนุษย์ 
องค์ประกอบทางด้านจิตภาพ 
(จิต / วิญญาณ) ทำาหน้าที่รับรู้ 
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และ 
อารมณ์ทางใจ เสวยอารมณ์ จดจำา 
กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางกาย 
วาจา
พุทธศาสนา - วิทยาศาสตร์ 
มนุษย์ในทัศนะทาง 
วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยสสาร 
ซึ่งวิวัฒนาการมาตามลำาดับ 
จิต และ ลักษณะทางจติ เป็น 
ผลพลอยไดจ้ากวิวัฒนาการ แต่ 
ไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่ก่อนวัตถุสสาร
พุทธศาสนา - วิทยาศาสตร์ 
พระพุทธศาสนา มนุษย์มีองค์ 
ประกอบบางส่วนที่ไม่สามารถรับรู้ 
ได้โดยตรง คือส่วนที่เรียกว่า จิต 
เป็นนามธรรมที่ไม่สามารถพิสูจน์ 
ด้วยวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนา - วิทยาศาสตร์ 
จิตใจเป็นองค์ประกอบ 
สำาคัญ 
กำาหนดรูปแบบการ 
แสดงออกทางกาย วาจา
พุทธศาสนา-วิทยาศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์มีจุดยืนแบบ 
สสารนิยม 
มนุษย์ในทัศนะของ 
วิทยาศาสตร์ เกิด-ดำารงอย-ู่จบ 
ชีวิตลง ภายในชาติเดยีว
พุทธศาสนา-วิทยาศาสตร์ 
พระพุทธศาสนามีจุดยืนคล้าย 
จิตนิยม 
มนษุย์ในทัศนะดังกล่าว มิได้ เกิด 
– ดำารงอยู่-จบชีวิตลง ภายในชาติ 
เดียว 
ชีวิต-ดำารงอยู่-ในกาละและเทศะ 
อันไพศาลซับซ้อน
. 
ศาสนาในอนาคตจะต้องเป็นศาสนาครอบ 
จักรวาล ศาสนานั้นควรไปพ้นเรื่องพระเจ้า 
ที่มีตัวตน และไม่มีคำาสอนที่ให้ยึดติดคัมภีร์ 
และเทววิทยา 
The religion of the future will be a cosmic religion.It 
should transcend personal God and avoid dogma and 
theology
. 
ศาสนาใดศาสนาหนึ่งที่ตอบสนองความ 
ต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ศาสนา 
นั้นก็คือพระพุทธศาสนา 
If there is any religion that could cope with modern 
scientific needs it would be Buddhism
โลกวิทู สัพพัญญู 
.
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 

La actualidad más candente (20)

พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 

Destacado

!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 

Destacado (11)

13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 

Similar a พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์

คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีPa'rig Prig
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 

Similar a พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์ (20)

10
1010
10
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
333
333333
333
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์