SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
วิธีสอนโดยการใช้สถานการณ์
จาลอง (Simulation
)
วิธีสอนโดยการใช้สถานการณ์
จาลอง (Simulation)
วิธีการสอน เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนดาเนินการเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ได้มี
โอกาสศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมงาน พบวิธีการสอนมีหลายวิธี สามารถ
เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับเนื้อหาสาระและผู้เรียน ซึ่งในที่นี้จะนาเสนอ วิธีสอน
โดยการใช้สถานการณ์จาลอง (Simulation)
วิธีสอนโดยการใช้สถานการณ์
จาลอง (Simulation)
หมายถึง การสร้างสถานการณ์ขึ้นมาให้ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริง ที่ผู้เรียน อาจประสบในภายหลัง
การเรียนด้วยสถานการณ์จาลองนี้จะช่วยให้เกิดการถ่ายโยงความรู้ที่ดีและได้ผลมากที่สุด ผู้เรียนจะได้คิด
แก้ปัญหาจากสถานการณ์จาลองทาให้เกิดการเรียนรู้ และสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้การใช้
สถานการณ์จาลองได้ใช้มานานแล้ว ในวงการณ์ทหารและวิทยาศาสตร์ดังตัวอย่างสถานการณ์จาลองที่มี
ชื่อเสียงมาก ได้แก่การฝึก“The Link Trainer” เพื่อฝึกบินในสงครามโลกครั้งที่ 2 การฝึก
นักบินอวกาศในสภาพแวดล้อมที่เสมือนกับอยู่ในยานอวกาศและบนดวงจันทร์ ก็เป็นสถานการณ์จาลองที่
ได้ผลเป็นอย่างยิ่ง ในโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหรัฐอเมริกาก็จัดการสอนขับรถยนต์โดยการสร้างสถานการณ์
จาลองขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนเป็นจานวนมากสามารถเรียนขับรถในชั้นเรียนได้ (สุจริต เพียรชอบ
2531: 251)
วิธีสอนโดยการใช้สถานการณ์
จาลอง (Simulation)
สถานการณ์จาลองมีเงื่อนไขที่จาเป็ น 2 ประการ
คือ1. ผู้เรียนถูกมอบหมายให้แสดงบทบาทเฉพาะเจาะจง แสดงภายใต้สถานการณ์ที่ได้วางรูปแบบหรือ
กติกาไว้อย่างดี
2. ผู้เรียนจะต้องเผชิญหน้ากับสภาพจาลองของชีวิตจริงซึ่งจะต้องแสดงปฏิกิริยาตอบโต้อย่างจริงใจ
จึงกล่าวได้ว่าการสร้างสถานการณ์จาลองที่เน้นกระบวนการและบรรยากาศ ทั้งหมดของการแสดง
เน้นการจาลองสถานการณ์จริงมาไว้ในห้องเรียน แต่บทบาทสมมุติ
นั้นเน้นที่การแสดงออกและความรู้สึกของผู้แสดงแต่ละคน
ความมุ่งหมาย
1. เพื่อฝึกการคิดวิจัยแก้ปัญหา การควบคุมสถานการณ์ การตัดสินใจในสถานการณ์
ที่ผู้เรียนอาจได้พบในชีวิตจริง
2. เพื่อฝึกการทางานกลุ่ม การสร้างความสัมพันธ์กับสมาชิกกลุ่ม การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
การมีวินัยในตัวเองฯลฯ
3. เพื่อฝึกความกล้าของผู้เรียนให้กล้าคิด กล้าทา กล้าแสดงออก เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจที่ดีในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์จาลองนั้น
ขั้นการสอน
1.1 กาหนดจุดประสงค์ ผู้สอนควรเตรียมให้ชัดเจนมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรม
อะไรบ้าง เมื่อผู้เรียนเรียนรู้จากสถานการณ์แล้ว การกาหนดจุดประสงค์ไว้ชัดเจนช่วยให้การสร้าง
สถานการณ์จาลองทาได้ง่ายขึ้น
1.2กาหนดสถานการณ์จาลอง ผู้สอนควรได้พิจารณาเลือกสถานการณ์ที่เป็นจริงมาดัดแปลง
ให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนในห้องเรียน โดยเป็นสถานการณ์ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์
วินิจฉัย ตัดสินใจที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง ซึ่งก่อให้เกิดการเรียนรู้และทักษะที่ต้องการ
1. ขั้นเตรียมการ
สอน
ขั้นการสอน
1.3กาหนดโครงสร้างของสถานการณ์จาลองซึ่งประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1)กาหนดจุดประสงค์ของสถานการณ์จาลอง
2)กาหนดบทบาทของผู้ร่วมกิจกรรมแต่ละคน
3)เตรียมข้อมูลข่าวสารที่จาเป็นและเนื้อหา
4)กาหนดสถานการณ์ต่างๆ ให้เห็นเหมือนจริงในสังคม
5)ลาดับขั้นเหตุการณ์ เวลา และปัญหาจากสถานการณ์
6)จบสถานการณ์สรุป อภิปราย
1.4 กาหนดสื่อการสอนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้ให้พร้อม
ขั้นการสอน
2. ขั้นดาเนินการ
สอน
2.1ผู้สอนเสนอสถานการณ์จาลองโดยอาจใช้วิธีการต่อไปนี้
1. เล่าให้ฟังถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
2. ให้ดูรูปภาพแล้วเล่าเรื่องประกอบ
3. ให้ดูภาพยนตร์สถานการณ์ที่เกิดขึ้น
4. ให้ดูจากฉากที่จัดไว้และมีผู้แสดงบทบาทประกอบ
2.2 ผู้เรียนศึกษาปัญหาและแนวทางที่จะแก้ปัญหา อาจให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มย่อยร่วมกัน
แสดงความคิดเห็น
2.3 ผู้เรียนเสนอผลงานแนวทางที่จะแก้ปัญหา ซึ่งอาจเป็นตัวแทนกลุ่มหรือทั้งหมด
ขั้นการสอน
3. ขั้นอภิปรายและ
สรุปผล
การอภิปรายภายหลังการจบสถานการณ์จาลอง เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมกันโดย
พยายามค้นหาว่าเกิดอะไรขึ้น และทาไมจึงเกิดสถานการณ์เช่นนั้น
การอภิปรายจะช่วยให้ครูประเมินความสาเร็จและความล้มเหลวของสถานการณ์ และควรทาทันทีที่จบ
สถานการณ์จาลองนั้น ๆ ลักษณะของการอภิปราย ครูอาจใช้คาถามในลักษณะที่ประเมินผลผู้ร่วมกิจกรรม
โดยให้อธิบายว่าเกิดความคิดอะไรบ้าง ในขณะที่เข้าไปร่วมกิจกรรมในสถานการณ์นั้นๆและได้กระทาอะไร
จากความคิดนั้นไปบ้าง และใครเป็นผู้มีอิทธิพลมากที่สุด และใครเข้าร่วมกิจกรรมได้ดีที่สุดให้ผู้ร่วมกิจกรรม
อธิบายความรู้สึกที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการประเมินผลในการสรุปตอนท้าย ควรอภิปรายเกี่ยวกับข้อดีข้อเสีย
และสิ่งที่ควรปรับปรุง เพื่อจะใช้สถานการณ์จาลองนั้นซ้าอีก
ขั้นตอนการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง
1. ขั้นเตรียมการสอน
-กาหนดจุดประสงค์
-กาหนดสถานการณ์จาลอง
-กาหนดโครงสร้างของสถานการณ์จาลอง
-กาหนดสื่อการสอน
2. ขั้นสอน
-ผู้สอนเสนอสถานการณ์
-ผู้เรียนศึกษาปัญหา
-ผู้เรียนเสนอผลงาน
3. ขั้นอภิปรายและสรุปผล
-ผู้เรียนอภิปรายและร่วมกับผู้สอนสรุปผล
ข้อดีและข้อจากัดของการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง
1. ช่วยให้ผู้เรียนได้มองเห็นสถานการณ์ด้วยตนเอง บางสถานการณ์ที่เป็นนามธรรมก็สามารถ
เข้าใจและทาให้เป็นจริงขึ้นมาได้
2. ช่วยให้ผู้เรียนตื่นตัว กระตือรือร้น ให้ความร่วมมือและกล้าแสดงความคิดเห็น
3. ช่วยให้เกิดความร่วมมือโดยไม่คิดถึงการแข่งขัน
4. ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา แม้จะผิดพลาดก็ไม่ทาให้เกิดผลเสียหายขึ้น
ข้อดี
ข้อดีและข้อจากัดของการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง
1. ผู้สอนต้องเตรียมสถานการณ์จาลองเพื่อใช้ในห้องเรียน ทาให้ต้องใช้เวลาในการเตรียม จึงไม่
จูงใจให้ผู้สอนใช้วิธีนี้ในการสอน
2. การอภิปรายและสรุปผล เป็นขั้นสาคัญซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์ความชานาญของผู้สอนจึง
จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
3. ต้องมีเวลาเพียงพอในการดาเนินกิจกรรมและการอภิปรายสรุปผล
ข้อจากัด
จัดทาโดย
นางสาว อัมพร พัฒอินทร์ รหัสนักศึกษา 554145145
นางสาว อารีรัตน์ แร่มี รหัสนักศึกษา 554145146

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้รัก นำทาง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีmina612
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Similar a วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (1)

วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองวิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองAmporn Patin
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
Learning style 260658
Learning style 260658Learning style 260658
Learning style 260658Pairnat' Xcx
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2lalidawan
 
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการ
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการการพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการ
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการDuangthip Jaiyasu
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการphonon701
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓snxnuux
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรม
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรมSl1ปกบทเรียนโปรแกรม
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยFern's Phatchariwan
 

Similar a วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (1) (20)

วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองวิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
Learning style 260658
Learning style 260658Learning style 260658
Learning style 260658
 
Teaching
TeachingTeaching
Teaching
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการ
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการการพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการ
การพัฒนาการอ่านแบบบูรณาการ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
E2
E2E2
E2
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรม
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรมSl1ปกบทเรียนโปรแกรม
Sl1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
 

วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (1)