SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Knowledge
Center


การจัดการความรูคออะไร
                 ื

                  การจัดการความรูเปนกระบวนการ (Process) ที่ดําเนินการรวมกันโดยผูปฏิบัติงานใน
องคกรหรือหนวยงานยอยขององคกร เพื่อสรางและใชความรูในการทํางานใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ดีขึ้นกวาเดิม
                  การจัดการความรูในความหมายนี้จึงเปนกิจกรรมของผูปฏิบัติงาน ไมใชกิจกรรมของ
นักวิชาการหรือนักทฤษฎี แตนักวิชาการหรือนักทฤษฎีอาจเปนประโยชนในฐานะแหลงความรู (Resource
Person)
                  การจัดการความรูเปนกระบวนการที่เปนวงจรตอเนื่อง เกิดการพัฒนางานอยางตอเนื่อง
สม่ําเสมอ เปาหมาย คือ การพัฒนางานและพัฒนาคน โดยมีความรูเปนเครื่องมือ มีกระบวนการจัดการ
ความรูเปนเครื่องมือ
                          “การจัดการความรูเปนเครื่องมือ ไมใชเปาหมาย”

หลักการ 4 ประการของการจัดการความรู

                   หลักการสําคัญ 4 ประการ ไดแก

                1. ใหคนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิด ทํางานรวมกันอยางสรางสรรค
                การจัดการความรูที่มีพลังตองทําโดยคนที่มีพื้นฐานแตกตางกัน มีความเชื่อหรือวิธีคิด
แตกต า งกั น (แต มี จุ ด รวมพลั ง คื อ มี เ ป า หมายอยู ที่ ง านด ว ยกั น ) ถ า กลุ ม ที่ ดํ า เนิ น การจั ด การความรู
ประกอบดวยคนที่คิดเหมือน ๆ กัน การจัดการความรูจะไมมีพลัง
                ในการจัดการความรู ความแตกตางหลากหลาย (Heterogeneity) มีคุณคามากกวาความ
เหมือน (homogeneity)

               2. รวมกันพัฒนาวิธีทํางานในรูปแบบใหม ๆ เพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กําหนดไว หรือ
ฝนวาจะได ในการจัดการสมัยใหม ประสิทธิผลประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ
               - การตอบสนองความตองการ (Responsiveness) ซึ่งอาจเปนความตองการของลูกคา
ความตองการของสังคม หรือความตองการที่กําหนดโดยผูบริหารองคกร
Knowledge
Center


                   - นวัตกรรม (Innovation) ซึ่งอาจเปนนวัตกรรมดานผลิตภัณฑใหม ๆ หรือวิธีการใหม ๆ ก็ได
                   - ขีดความสามารถ (Competency) ของขาราชการ และขององคกร
                   - ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการทํางาน

              3. ทดลองและเรียนรู เนื่องจากกิจกรรมการจัดการความรูเปนกิจกรรมสรางสรรค ซึ่ง
หมายความวาตองคิดแบบ “หลุดโลก” จึงตองมีวิธีดึงกลับมาสูความเปนจริงในโลก หรือในสังคมโดยการ
ทดลองทําเพียงนอย ๆ ซึ่งถาลมเหลวก็กอผลเสียหายไมมากนัก ถาไดผลไมดีก็ยกเลิกความคิดนัน ถาไดผลดี
                                                                                        ้
จึงขยายการทดลองเปนทํามากขึ้น จนในที่สุดขยายเปนวิธีทํางานแบบใหม หรือได Best Practice ใหม
นั่นเอง

                   4. นําเขาความรูจากภายนอกอยางเหมาะสม โดยตองถือวาความรูจากภายนอก
ยัง เป นความรูที่ยั ง “ดิ บ” อยู ตองเอามาทํา ให “สุก ” ใหพ รอมใชในบริ บทของเรา โดยการเติ มความรู
เชิงบริบทลงไป

เกลียวความรู SECI

                      เกลียวความรู SECI ที่เสนอโดยในนากะและทาเกอุจิ เปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการ
ยกระดับความรู และนําความรูไปใชประโยชน โดยเริ่มจาก Socialization คือ การจัดใหคนมามีปฏิสัมพันธ
(Socialize) กั น ในรู ป แบบต า ง ๆ ทํ า ให เ กิด การแลกเปลี่ย นความรูฝง ลึ ก (Tacit          Knowledge) หรื อ
ประสบการณ ตามมาดวย Externalization ซึ่งเปนกระบวนการสื่อความรูจากประสบการณในการทํางาน
ออกมาเป น ภาษาพู ดหรือ ภาษาเขี ย นเท า กั บเปน การเปลี่ย นความรูฝ ง ลึ ก เปน ความรู ชัดแจ ง (Explicit
knowledge) หรือความรูที่เขารหัส (Codified knowledge) ซึ่งเปนความรูที่สามารถแลกเปลี่ยนกันได
โดยงายผานวิธีการดานเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ กระบวนการผนวกรวมความรูชัดแจงเขาดวยกัน
เรียกวา Combination ซึ่งเปนการ “จารึก” ความรูชัดแจง เปนความรูที่ฝงลึกในสมองคน หรือฝงเขาไปใน
ผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ กระบวนการทํ า งาน ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ กระบวนการนี้ จ ะไปสั ม พั น ธ กั บ ลู ก ค า หรื อ ผู ใ ช
ผลิตภัณฑ และเกิด “ขอมูล” ความพึงพอใจหรือประสบการณในการใชผลิตภัณฑหรือใชกระบวนการทํางาน
นั้น เปนขอมูลใหมหรือเพิ่มเติม เขามาในกระบวนการจัดการความรู ยกระดับเกลี่ยวความรูขึ้นไปอีก วงจร
SECI จะดําเนินการตอเนื่องเรื่อยไปไมมีสิ้นสุด
Knowledge
Center


                  นอกเหนือจากเกลียว SECI แลว ยังมีเกลียวความรู (Knowledge Spiral) ที่ชวยยกระดับ
 (Cross-Leveling) ความรู อี ก หลายแบบ เช น เกลี ย วความรู ข า มระดั บ พนั ก งานระดั บ ล า ง- พนั ก งาน
ระดั บ กลาง- ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง เกลี ย วความรู ข า มระดั บ หน ว ยงานย อ ย เกลี ย วความรู ผ า นจตุ ร ภาค
(4 Quadrants) ในหัวขอจตุรภาคแหงการจัดการความรู และเกลียวความรูขามชั้นขององคกรแบบ
“พหุบาท” (Hypertext) ซึ่งจะไมกลาวถึง ณ ที่นี้

ความรู 5 กลุม

                 ในตอนตน ได ก ล า วถึ ง ความรู 2 กลุ ม คือ  ความรู ชัด แจง (Explicit หรือ Codified
Knowledge) กับความรูฝงลึก (Tacit Knowledge) David Snowden แหงศูนยพัฒนาศาสตรดานการ
จัดการความรูช่อ Cynefin Centre ของบริษัทไอ บี เอ็ม ไดเสนอใหจําแนกความรูออกเปน 5 กลุม คือ
               ื
                  Artifact หมายถึง วัตถุซงหอหุมความรูหรือเทคโนโลยีไว หรือกลาวอีกนัยหนึง มีความรูฝง
                                            ึ่                                              ่
อยูภายใน
                 Skills หมายถึง ทักษะในการปฏิบัติงานหรือกระทํากิจการตาง ๆ อันเปนผลจากการไดฝก
ทําหรือทํางานจนเกิดเปนทักษะ
                 Heuristics หมายถึง กฎแหงสามัญสํานึก หรือเหตุผลพืน ๆ ทั่ว ๆ ไป
                                                                      ้
                 Experience หมายถึง ประสบการณจากการไดผานงานหรือกิจการเชนนันมากอน้
                 Talent หรือ Natural Talent หมายถึง พรสวรรค อันเปนความสามารถพิเศษเฉพาะตัวที่มี
มาแตกําเนิด
Knowledge
Center


                 คุ ณ สมบั ติ ทั้ ง 5 กลุ ม นี้ ถื อ เป น ความรู ทั้ ง สิ้ น และจะต อ งรู จั ก นํา มาใช ป ระโยชน ใ น
กระบวนการจัดการความรู เมื่อนําอักษรตัวหนาของคําทั้ง 5 มาเรียงกันเขาจะไดเปน ASHET หรือ ASHEN
ความรูกลุมที่อยูคอนไปทางขางบน จะมีลักษณะ “ชัดแจง” (Explicit) มากกวา สามารถหยิบฉวยมาใช
โดยตรงไดงายกวาสวนกลุมที่อยูคอนมาทางขางลาง จะมีลักษณะ “ฝงลึก” (tacit) มากกวา แลกเปลี่ยนได
            
ยาก ยิ่งพรสวรรคจะยิ่งแลกเปลี่ยนไมไดเลย จะสังเกตเห็นวาในความรู 5 กลุมนี้ เปนพรสวรรค 1 กลุม และ
เปนพรแสวง 4 กลุม
(โปรดดูแผนภาพที่ 4)


                                                 ความรู 5 กลุม
                                                              
                                 Documents
                      Explicit




                                             A   - Artifacts วัตถุ เครืองหอหุม
                                                                       ่
                                             S   - Skills ทักษะ
                                                 - Heuristics กฎแหงสามัญสํานึก
                                             H   - Experience ประสบการณ
                                             E   - Natural Talent พรสวรรค

                                             T                            Snowden, 23 May 03
                                    Heads
                    Tacit




                                                                                                   20/19




                                                     แผนภาพที่ 4
Knowledge
Center


      จตุรภาคแหงการจัดการความรู (The Cynefin Framework of Knowledge Management)




                                             แผนภาพที่ 5

                ในการดําเนินการจัดการความรู จะตองเคลื่อนหนวยงานหรือองคกรเขาไปอยูใน 4 ภาค
(4 quadrants) ของสถานการณอยางชาญฉลาด จึงจะเกิดการจัดการความรูที่มีพลังและเกิดการสรางสรรคสูงสง
                การดําเนินงานปกติ อยูในสภาพของพื้นที่ลางขวา อันเปนพื้นที่แหงงานประจํา การทํางาน
มีแบบแผนกฎเกณฑแนนอนชัดเจน เจาหนาที่ทํางานอยางคุนเคย ไมมีความยากลําบาก ทุกคนมีความ
สะดวกใจที่จะทํางานในลักษณะนี้ แตถาทํางานในลักษณะนี้นานไป โลกและสังคมเปลี่ยนไป แตเรายัง
ทํางานแบบเดิม ก็จะเทากับลาหลัง
                หากจะใหเกิดความเจริญกาวหนาของหนวยงานหรือองคกร ผูนําจะตองมีความกลาหาญ
และความชาญฉลาดที่จะนําหนวยงานเขาสูพื้นที่ลางซาย อันเปนพื้นที่แหงความไรระเบียบ (chaos) ซึงเรามี   ่
ความรูความเขาใจนอย ไมมีความคุนเคย ทุกคนในหนวยงานจะถูกบังคับโดยสถานการณใหตองตืนตัว และ        ่
รวมตัวกันคิดและดิ้นรนหาลูทางใหม ๆ พอเริ่มตั้งตัวไดบางก็จะเคลื่อนสูพ้นที่บนซาย ซึ่งเปนพื้นที่ที่มี
                                                                         ื
Knowledge
Center

ความสรางสรรคสูงสง เรียกวาพื้นที่แหงความซับซอนและปรับตัว (complex adaptive) มีการ “ผุดบังเกิด”
(emergence) ของความคิดและวิธีการใหม ๆ อยางหลากหลาย และเขาสูพื้นที่บนขวา ซึ่งเปนพื้นที่แหงการ
ทดลองและปรับปรุง (improvement) นําเอาวิธีการใหม ๆ ที่คิดขึ้นไดในพื้นที่แหงความซับซอนและปรับตัว
มาทดลองและปรับปรุง จนในที่สุดไดวิธีทํางานแบบใหม (หรือไดสินคาชนิดใหม) เคลื่อนลงสูพื้นที่ลางขวา
กลายเปนมาตรฐานการทํางานใหมหรือ best practice ใหมนั่นเอง
       ในการดําเนินการจัดการความรู ผูบริหารระดับสูงจะตองรูจักใชหลักการและวิธีการ วงจรจตุรภาค
(4 quadrants) หรือเกลียวความรู (knowledge spiral) รูปแบบหนึ่ง

แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินการจัดการความรูในหนวยงานราชการ

               การดําเนินการจัดการความรูในหนวยราชการควรใชหลักการ “พลังสาม รวมเปนหนึ่งเดียว”
               (1) ใชพลังของระบบ “ราชการประจํา” ซึ่งมีการทํางานตามกฎระเบียบ มีรูปแบบที่ชัดเจน
               (2) ใชพลังของ “ระบบแหงความสรางสรรค” มีการทดลองรูปแบบใหม ๆ ของการทํางาน
เปน project team ทํางานมุงเปาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ภายใตแนวคิดของ “ระบบที่ซับซอนและปรับตัว”
(complex-adaptive system) และ
               (3) ใช พ ลัง สร า งสรรค ที่มี อยู แล ว ภายในองค ก ร ในรู ป ของการรวมตั ว กั น เองเป น กลุ ม
เชื่อมโยงกับระบบราชการประจํา และระบบแหงการสรางสรรค เนนที่การแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จะนําไปสูการ
พัฒนา best practices จากการเรียนรู จากการทํางานภายในองคกร และจากการ “ตรวจจับ” (capture)
ความรูจากภายนอกองคกรเอามาปรับใชในการทํางาน

การพัฒนารูปแบบการจัดการความรูในหนวยราชการ

                 การจัดการความรูเปนทักษะ ตองฝกฝนจึงจะทําเปน อยูในภาพที่ “ไมทํา ไมรู” ไมมีการ
บรรยายใดที่จะทําใหผูฟงมีความสามารถในการดําเนินการจัดการความรูได หนวยราชการใดตองการ
พัฒนางานของตนใหมีสัมฤทธิผลอยางถึงขนาด นาจะพิจารณานําวิธีการจัดการความรูไปประยุกตใช โดย
ตองเริ่มลงมือดําเนินการ หนวยราชการในระดับจังหวัดมีความเหมาะสมที่จะใชการจัดการความรูในการ
พัฒนางานของจังหวัด เนื่องจากจังหวัดมีหนวยงานที่หลากหลายมาก ความแตกตางหลากหลายเปนพลัง
สําหรับการจัดการความรู อาจดําเนินการพัฒนารูปแบบของการจัดการความรูของจังหวัด
Knowledge
Center


โดยเลือกหนวยงาน 5-10 หนวย แต ละหน วยมี แกนนําจัดการความรู 5-10 คน รวมมีขาราชการระดับ
ปฏิบัติการเขารวมทํากิจกรรมดําเนินการจัดการความรู 30-50 คน เรียกวา “คุณกิจ” (ทํากิจกรรม) และมี
ข า ราชการที่ เ ป น ผู บ ริ ห ารระดั บ กลางหน ว ยงานละ 1 คน ทํ า หน า ที่ เ ป น “คุ ณ อํ า นวย” (knowledge
facilitator) คอยอํานวยความสะดวกและกระตุนการดําเนินการจัดการความรู
                    กิจกรรมเริ่มดวยการประชุมปฏิบัติการปูพื้นความรูเชิงทฤษฎีและเทคนิคในการดําเนินการ
จัดการความรู และสงเสริมให “คุณกิจ” ของแตละหนวยงานวิเคราะหงานของตนเองและตั้งเปาวาภายใน
ระยะเวลา 18 เดื อ นของโครงการ จะพั ฒ นางานของตนไปสู ส ภาพใด และกํ า หนดหลั ก หมายของ
ความกาวหนาไวเปนระยะ ๆ แลวดําเนินการจัดการความรูเพื่อพัฒนางานของตนโดยมี “คุณอํานวย” เปนผู
คอยสงเสริมอํานวยความสะดวก

                  ทุกเดือน (หรือทุก 2 เดือน) “คุณกิจ” และ “คุณอํานวย” ทั้งหมดมาประชุมรวมกัน 2 วัน
วันแรกเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม วาในเดือนที่ผานมาไดทํากิจกรรมใดบาง และเกิดการเรียนรู
อะไรบางในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนางานของตน และที่เกี่ยวกับการจัดการความรู ในวันที่ 2 เปนการกําหนด
แผนงานของเดือนถัดไปรวมกันในแตละกลุม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม ในชวง 2 วันนี้จะมี
วิทยากรมาใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรูสําคัญในการทํางาน และเกี่ยวกับการจัดการความรู
                  “คุณอํานวย” จะมีการประชุมปฏิบัติการรวมกันกับ “คุณอํานวย” จากโครงการอื่น เพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรูความรูและทักษะในการเปน “คุณอํานวย” และเพื่อเพิ่มเติมความรูจากวิทยากร
                  “คุณกิจ” และคุณอํานวย จะชวยกันยกราง “คูมือในการจัดการความรูของจังหวัด” และ
ปรับปรุงขึ้นเรื่อย ๆ จนเมื่อใกลจบโครงการ (18 เดือน) ก็จะไดคูมือฉบับสมบูรณ สําหรับใหจังหวัดอื่นนําไป
ปรับใชตอไป
                  “คุณอํานวย” ก็จะชวยกันเขียน “คูมือการเปน knowledge facilitator” เชนเดียวกันเมื่อครบ
กําหนด 18 เดือน ผลที่ไดรับไดแก
Knowledge
Center


                1. “คุณกิจ” ทุกคนมีความรูความชํานาญในการดําเนินการจัดการความรู โดยกวาครึ่งมี
ความรูความชํานาญระดับสูง สามารถเปนวิทยากรเผยแพรหลักเกณฑและวิธีการจัดการความรูได
                2. “คุณอํานวย” ทุกคนมีความรูความชํานาญในการอํานวยความสะดวกตอการจัดการ
ความรู และเกือบทุกคนสามารถเปนวิทยากรในเรื่องดังกลาวได
                3. งานของแตละหนวยงานไดรับการพัฒนาสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวตอนเริ่มโครงการ
                4. ทั้ ง “คุ ณ กิ จ” และ “คุ ณ อํ า นวย” มีค วามรูเ กี่ ย วกั บ งานของตนเพิ่ ม พูน ขึ้ น อย า งมาก
รวมทั้งมีลักษณะเปน “บุคคลเรียนรู”
                5. หนวยงานที่เขารวมโครงการเปน “องคกรเรียนรู”
รูปแบบ (โมเดล) จัดการความรูอยางงาย

                   หลักการสําคัญที่สุดในการดําเนินการจัดการความรู คือ ตองดําเนินการอยางงายที่สุด ไม
เนนการใชเครื่องมือหรูหราหรือยุงยาก เริ่มจากกิจกรรมดี ๆ เชน best practice, กิจกรรมกลุมสรางสรรคใน
งานประจํ า ที่ มี อ ยู แ ล ว ภายในหน ว ยงานหรื อ องค ก ร นํ า มาจั ด การประชุ ม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู โ ดยมี
ผูทรงคุณวุฒิชวยกระตุนและมี “คุณอํานวย” ชวยตั้งคําถามเพื่อใหกลุมเหลานั้นนําเสนอกิจกรรมของตน
อยางมีชีวิตชีวาและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่ทรงพลัง ตัวอยางคําถาม เชน
             • มีใครหรือเหตุการณใดที่เปนตัวกระตุนใหเกิดการพัฒนางานจนเกิด best practice อยางที่
เปนอยูในปจจุบัน              ในชวงเวลาของการพัฒนาดังกลาวใครบางเขามามีสวนรวม รวมอยางไร เกิด
กระบวนการอะไรบางที่เปนปจจัยสําคัญนําไปสูความสําเร็จ ความยากลําบากที่ตองเผชิญคืออะไรบาง ได
เอาชนะอุปสรรคนั้นอยางไร
             • ใชความรูอะไรบางในการดําเนินกิจกรรมดังกลาว เอาความรูเหลานั้นมาจากไหน
             • มีแผนจะทําใหดียิ่งขึ้นอยางไร ตองการความชวยเหลืออะไรบาง
             • คิดวามีหนวยงานใดบางที่นาจะเรียนรูจากกิจกรรมของกลุมของทานได
             • มีความรูอะไรบางที่พรอมจะแลกเปลี่ยนกับเพื่อนรวมงานในหนวยงานอื่นภายในองคกร

                 การแลกเปลี่ยนเรียนรูเปนหัวใจของการจัดการความรู การจัดบรรยากาศและเครื่องอํานวย
ความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรูถือเปนการจัดการความรูทั้งสิ้น          เชน การสงเสริมใหเกิดชุมชน
นักปฏิบัติ (จัดการความรู) หรือ CoP (Community of Practice) การจัดใหมี Knowledge Portal ให
พนักงานสามารถเขาถึ งความรูภายในองคกรและภายนอกองคกรไดอยางสะดวกผานทางวิธีการดา น
อิเล็กทรอนิกส เปนตน
Knowledge
Center

                  โมเดลของการจัดการความรูอยางงายที่สุดมาจากหนังสือ Learning to fly ซึ่งอาจจะ
เรียกวา “วงจรเรียนรูยกกําลังสาม บวก ควา” คือใชวงจรดังกลาวหมุนวัตถุประสงคหรือเปาหมายของงานสู
ผลสําเร็จ การเรียนรู 3 ประการ คือ เรียนรูกอนทํางาน ใชเทคนิค Peer Assist, เรียนรูระหวางทํางาน ใช
เทคนิค AAR (After Action Review) เรียนรูหลังงานเสร็จสิ้น ใชเทคนิค Retrospect โดยใชเทคนิคทั้ง 3 นี้
ร ว มกั บ การ “คว า ” (capture) ความรู จ ากภายนอก และจากภายในองค ก รเอง เอามาปรั บ ปรุ ง และ
ประยุกตใชในกิจการ เมื่อใชงานและผานกระบวนการ AAR และ Retrospect แลว ก็นําความรูที่ไดจาก
ประสบการณการทํางานมาตรวจสอบและยกระดับขึ้น (โปรดดูแผนภาพที่ 6)


                      ใชโมเดล “วงจรเรียนรูยกกําลังสาม” บวก ควา
                                           


                        ควา                     ควาความรู                  ตรวจสอบ
                        เอามา                                                      และ
                     ประยุกต                                                  ยกระดับ
                                                      รร


                 เปาหมาย
                                                                                     ผลงาน
                 ของงาน
                                          รก                     รล

                                                                        Learning to Fly19/19



                                                แผนภาพที่ 6

                    จะเขาใจเรื่องการจัดการความรูในหนวยราชการโดยถองแทได ตองลงมือทํา สงเสริมใหมี
“กลุมนํารอง” พัฒนารูปแบบการจัดการความรูขึ้นมาเอง โดยปรับจากแนวทางและวิธีการที่มีผูนําในองคกร
แบบอื่ น อยู แ ล ว ผู เ ขี ย นมี ค วามเชื่ อ ว า ผลของการจั ด การความรู 5 ประการที่ ก ล า วแล ว ในตอนต น
จะเกิดขึ้นในระดับ “กาวกระโดด” และเปนผลในระดับ “ไมนาเชื่อ” วาจะเกิดขึ้นได
ฉบับตอไป
               เอกสารหมายเลข 006           พบกับ
                           Strategy Maps                 หนังสือเลมนี้ Kaplan และ Norton พูดถึงวิธีการ
                       สรางแผนผังกลยุทธที่ จะนําองคกรไปสูความสําเร็จ และวิธีการที่จะบอกไดวา
                       ขั้ น ต อ น ภ า ย ใ น อ ง ค ก ร ขั้ น ต อ น ใ ด นั บ เ ป น ขั้ น ต อ น ที่ สํา คั ญ
                       Kaplan และ Norton ไดเสนอความคิดเอาไววา ปจจัยที่สําคัญที่สุดของการ
                       สร า งกลยุ ท ธ ที่ ส ร า งคุ ณ ค า มี 4 อย า ง นั่ น คื อ การปฏิ บั ติ ง าน การสร า ง
                       ความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ความคิดนวัตกรรมใหม ๆ และขั้นตอนตามกฎทางการ
                       ปฏิ บั ติ ง านและสั ง คมในองค ก ร ซึ่ ง ในเล ม นี้ จ ะพู ด ถึ ง ว า แต ล ะองค ก รจะใช
strategy map เพื่อใชงบประมาณ,ปจจัย และขั้นตอนเหลานี้เขากับความตองการของลูกคา ประเมินผลงาน
วัดคุณภาพงาน และพัฒนาการทํางานตาง ๆ ใหประสบความสําเร็จไดอยางไร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่Panuwat Butriang
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิดNapakan Srionlar
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 

La actualidad más candente (6)

งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิด
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Knowledge Understanding
Knowledge UnderstandingKnowledge Understanding
Knowledge Understanding
 

Destacado

12-12-2014 Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...
12-12-2014  Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...12-12-2014  Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...
12-12-2014 Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...Guillermo Padrés Elías
 
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...Guillermo Padrés Elías
 
Rules of Riviera
Rules of RivieraRules of Riviera
Rules of Rivieramaggigyo
 
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...Santiago Varela Bedoya
 
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)ijceronline
 
Alaska slides
Alaska slidesAlaska slides
Alaska slideshamdantba
 
Montageplan briefplooier definitieve versie
Montageplan briefplooier definitieve versieMontageplan briefplooier definitieve versie
Montageplan briefplooier definitieve versieIvoSix6
 
Ibm and open data final
Ibm and open data finalIbm and open data final
Ibm and open data finalloredanasales
 
Social taggingpresentation
Social taggingpresentationSocial taggingpresentation
Social taggingpresentationmolleem
 
Hđ nghiệm thu mương 2014
Hđ nghiệm thu mương 2014Hđ nghiệm thu mương 2014
Hđ nghiệm thu mương 2014htxhanhthinh
 
Noise Removal with Morphological Operations Opening and Closing Using Erosio...
Noise Removal with Morphological Operations Opening and  Closing Using Erosio...Noise Removal with Morphological Operations Opening and  Closing Using Erosio...
Noise Removal with Morphological Operations Opening and Closing Using Erosio...IJMER
 
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11Akihiro HATANAKA
 
Acorazados clase king george v
Acorazados clase king george vAcorazados clase king george v
Acorazados clase king george vAmbrosioS
 
Study Guide: Franklin & Join or Die! Salem & Zenger & War, Oh, MY!
Study Guide: Franklin & Join or Die!  Salem & Zenger & War, Oh, MY!Study Guide: Franklin & Join or Die!  Salem & Zenger & War, Oh, MY!
Study Guide: Franklin & Join or Die! Salem & Zenger & War, Oh, MY!bkind2animals
 
Trabajo practico n 14
Trabajo practico n 14Trabajo practico n 14
Trabajo practico n 14emiilsediiaz
 
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...Guillermo Padrés Elías
 

Destacado (20)

12-12-2014 Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...
12-12-2014  Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...12-12-2014  Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...
12-12-2014 Hospital Chávez de ISSSTESON único en el Estado certificado por C...
 
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...
02-10-2013 El Gobernador Guillermo Padrés presidió “Compartiendo Sonora, Comp...
 
Rules of Riviera
Rules of RivieraRules of Riviera
Rules of Riviera
 
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...
Sistemafinancierodelospadresdelosestudiantesdelcolegioloyola2 120227134323-ph...
 
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)
International Journal of Computational Engineering Research(IJCER)
 
Best photos Volcano ETNA
Best photos Volcano ETNABest photos Volcano ETNA
Best photos Volcano ETNA
 
Alaska slides
Alaska slidesAlaska slides
Alaska slides
 
Uma homenagem
Uma homenagemUma homenagem
Uma homenagem
 
Montageplan briefplooier definitieve versie
Montageplan briefplooier definitieve versieMontageplan briefplooier definitieve versie
Montageplan briefplooier definitieve versie
 
Ibm and open data final
Ibm and open data finalIbm and open data final
Ibm and open data final
 
Social taggingpresentation
Social taggingpresentationSocial taggingpresentation
Social taggingpresentation
 
Hđ nghiệm thu mương 2014
Hđ nghiệm thu mương 2014Hđ nghiệm thu mương 2014
Hđ nghiệm thu mương 2014
 
Noise Removal with Morphological Operations Opening and Closing Using Erosio...
Noise Removal with Morphological Operations Opening and  Closing Using Erosio...Noise Removal with Morphological Operations Opening and  Closing Using Erosio...
Noise Removal with Morphological Operations Opening and Closing Using Erosio...
 
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11
Questetra ハンズオンセミナー 「ビギナー向け業務プロセス設計」 2014/06/11
 
Acorazados clase king george v
Acorazados clase king george vAcorazados clase king george v
Acorazados clase king george v
 
Study Guide: Franklin & Join or Die! Salem & Zenger & War, Oh, MY!
Study Guide: Franklin & Join or Die!  Salem & Zenger & War, Oh, MY!Study Guide: Franklin & Join or Die!  Salem & Zenger & War, Oh, MY!
Study Guide: Franklin & Join or Die! Salem & Zenger & War, Oh, MY!
 
Trabajo practico n 14
Trabajo practico n 14Trabajo practico n 14
Trabajo practico n 14
 
Asomap
AsomapAsomap
Asomap
 
Webs 2.0
Webs 2.0Webs 2.0
Webs 2.0
 
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...
26-09-2013 El Gobernador Guillermo Padrés en entrevista informó que la constr...
 

Similar a Km` กพร

การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2siep
 
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้ Kanyarat Okong
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Black Coffee
 
9789740330547
97897403305479789740330547
9789740330547CUPress
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาNona Khet
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 

Similar a Km` กพร (20)

การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Km
KmKm
Km
 
การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2
 
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฎีสำหรับการบริหารจัดการความรู้
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 
9789740330547
97897403305479789740330547
9789740330547
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Km
KmKm
Km
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญา
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
7-KM Process
7-KM Process7-KM Process
7-KM Process
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 

Km` กพร

  • 1. Knowledge Center การจัดการความรูคออะไร ื การจัดการความรูเปนกระบวนการ (Process) ที่ดําเนินการรวมกันโดยผูปฏิบัติงานใน องคกรหรือหนวยงานยอยขององคกร เพื่อสรางและใชความรูในการทํางานใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ดีขึ้นกวาเดิม การจัดการความรูในความหมายนี้จึงเปนกิจกรรมของผูปฏิบัติงาน ไมใชกิจกรรมของ นักวิชาการหรือนักทฤษฎี แตนักวิชาการหรือนักทฤษฎีอาจเปนประโยชนในฐานะแหลงความรู (Resource Person) การจัดการความรูเปนกระบวนการที่เปนวงจรตอเนื่อง เกิดการพัฒนางานอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ เปาหมาย คือ การพัฒนางานและพัฒนาคน โดยมีความรูเปนเครื่องมือ มีกระบวนการจัดการ ความรูเปนเครื่องมือ “การจัดการความรูเปนเครื่องมือ ไมใชเปาหมาย” หลักการ 4 ประการของการจัดการความรู หลักการสําคัญ 4 ประการ ไดแก 1. ใหคนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิด ทํางานรวมกันอยางสรางสรรค การจัดการความรูที่มีพลังตองทําโดยคนที่มีพื้นฐานแตกตางกัน มีความเชื่อหรือวิธีคิด แตกต า งกั น (แต มี จุ ด รวมพลั ง คื อ มี เ ป า หมายอยู ที่ ง านด ว ยกั น ) ถ า กลุ ม ที่ ดํ า เนิ น การจั ด การความรู ประกอบดวยคนที่คิดเหมือน ๆ กัน การจัดการความรูจะไมมีพลัง ในการจัดการความรู ความแตกตางหลากหลาย (Heterogeneity) มีคุณคามากกวาความ เหมือน (homogeneity) 2. รวมกันพัฒนาวิธีทํางานในรูปแบบใหม ๆ เพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กําหนดไว หรือ ฝนวาจะได ในการจัดการสมัยใหม ประสิทธิผลประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ - การตอบสนองความตองการ (Responsiveness) ซึ่งอาจเปนความตองการของลูกคา ความตองการของสังคม หรือความตองการที่กําหนดโดยผูบริหารองคกร
  • 2. Knowledge Center - นวัตกรรม (Innovation) ซึ่งอาจเปนนวัตกรรมดานผลิตภัณฑใหม ๆ หรือวิธีการใหม ๆ ก็ได - ขีดความสามารถ (Competency) ของขาราชการ และขององคกร - ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการทํางาน 3. ทดลองและเรียนรู เนื่องจากกิจกรรมการจัดการความรูเปนกิจกรรมสรางสรรค ซึ่ง หมายความวาตองคิดแบบ “หลุดโลก” จึงตองมีวิธีดึงกลับมาสูความเปนจริงในโลก หรือในสังคมโดยการ ทดลองทําเพียงนอย ๆ ซึ่งถาลมเหลวก็กอผลเสียหายไมมากนัก ถาไดผลไมดีก็ยกเลิกความคิดนัน ถาไดผลดี ้ จึงขยายการทดลองเปนทํามากขึ้น จนในที่สุดขยายเปนวิธีทํางานแบบใหม หรือได Best Practice ใหม นั่นเอง 4. นําเขาความรูจากภายนอกอยางเหมาะสม โดยตองถือวาความรูจากภายนอก ยัง เป นความรูที่ยั ง “ดิ บ” อยู ตองเอามาทํา ให “สุก ” ใหพ รอมใชในบริ บทของเรา โดยการเติ มความรู เชิงบริบทลงไป เกลียวความรู SECI เกลียวความรู SECI ที่เสนอโดยในนากะและทาเกอุจิ เปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการ ยกระดับความรู และนําความรูไปใชประโยชน โดยเริ่มจาก Socialization คือ การจัดใหคนมามีปฏิสัมพันธ (Socialize) กั น ในรู ป แบบต า ง ๆ ทํ า ให เ กิด การแลกเปลี่ย นความรูฝง ลึ ก (Tacit Knowledge) หรื อ ประสบการณ ตามมาดวย Externalization ซึ่งเปนกระบวนการสื่อความรูจากประสบการณในการทํางาน ออกมาเป น ภาษาพู ดหรือ ภาษาเขี ย นเท า กั บเปน การเปลี่ย นความรูฝ ง ลึ ก เปน ความรู ชัดแจ ง (Explicit knowledge) หรือความรูที่เขารหัส (Codified knowledge) ซึ่งเปนความรูที่สามารถแลกเปลี่ยนกันได โดยงายผานวิธีการดานเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ กระบวนการผนวกรวมความรูชัดแจงเขาดวยกัน เรียกวา Combination ซึ่งเปนการ “จารึก” ความรูชัดแจง เปนความรูที่ฝงลึกในสมองคน หรือฝงเขาไปใน ผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ กระบวนการทํ า งาน ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ กระบวนการนี้ จ ะไปสั ม พั น ธ กั บ ลู ก ค า หรื อ ผู ใ ช ผลิตภัณฑ และเกิด “ขอมูล” ความพึงพอใจหรือประสบการณในการใชผลิตภัณฑหรือใชกระบวนการทํางาน นั้น เปนขอมูลใหมหรือเพิ่มเติม เขามาในกระบวนการจัดการความรู ยกระดับเกลี่ยวความรูขึ้นไปอีก วงจร SECI จะดําเนินการตอเนื่องเรื่อยไปไมมีสิ้นสุด
  • 3. Knowledge Center นอกเหนือจากเกลียว SECI แลว ยังมีเกลียวความรู (Knowledge Spiral) ที่ชวยยกระดับ (Cross-Leveling) ความรู อี ก หลายแบบ เช น เกลี ย วความรู ข า มระดั บ พนั ก งานระดั บ ล า ง- พนั ก งาน ระดั บ กลาง- ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง เกลี ย วความรู ข า มระดั บ หน ว ยงานย อ ย เกลี ย วความรู ผ า นจตุ ร ภาค (4 Quadrants) ในหัวขอจตุรภาคแหงการจัดการความรู และเกลียวความรูขามชั้นขององคกรแบบ “พหุบาท” (Hypertext) ซึ่งจะไมกลาวถึง ณ ที่นี้ ความรู 5 กลุม ในตอนตน ได ก ล า วถึ ง ความรู 2 กลุ ม คือ ความรู ชัด แจง (Explicit หรือ Codified Knowledge) กับความรูฝงลึก (Tacit Knowledge) David Snowden แหงศูนยพัฒนาศาสตรดานการ จัดการความรูช่อ Cynefin Centre ของบริษัทไอ บี เอ็ม ไดเสนอใหจําแนกความรูออกเปน 5 กลุม คือ ื Artifact หมายถึง วัตถุซงหอหุมความรูหรือเทคโนโลยีไว หรือกลาวอีกนัยหนึง มีความรูฝง ึ่ ่ อยูภายใน Skills หมายถึง ทักษะในการปฏิบัติงานหรือกระทํากิจการตาง ๆ อันเปนผลจากการไดฝก ทําหรือทํางานจนเกิดเปนทักษะ Heuristics หมายถึง กฎแหงสามัญสํานึก หรือเหตุผลพืน ๆ ทั่ว ๆ ไป ้ Experience หมายถึง ประสบการณจากการไดผานงานหรือกิจการเชนนันมากอน้ Talent หรือ Natural Talent หมายถึง พรสวรรค อันเปนความสามารถพิเศษเฉพาะตัวที่มี มาแตกําเนิด
  • 4. Knowledge Center คุ ณ สมบั ติ ทั้ ง 5 กลุ ม นี้ ถื อ เป น ความรู ทั้ ง สิ้ น และจะต อ งรู จั ก นํา มาใช ป ระโยชน ใ น กระบวนการจัดการความรู เมื่อนําอักษรตัวหนาของคําทั้ง 5 มาเรียงกันเขาจะไดเปน ASHET หรือ ASHEN ความรูกลุมที่อยูคอนไปทางขางบน จะมีลักษณะ “ชัดแจง” (Explicit) มากกวา สามารถหยิบฉวยมาใช โดยตรงไดงายกวาสวนกลุมที่อยูคอนมาทางขางลาง จะมีลักษณะ “ฝงลึก” (tacit) มากกวา แลกเปลี่ยนได  ยาก ยิ่งพรสวรรคจะยิ่งแลกเปลี่ยนไมไดเลย จะสังเกตเห็นวาในความรู 5 กลุมนี้ เปนพรสวรรค 1 กลุม และ เปนพรแสวง 4 กลุม (โปรดดูแผนภาพที่ 4) ความรู 5 กลุม  Documents Explicit A - Artifacts วัตถุ เครืองหอหุม ่ S - Skills ทักษะ - Heuristics กฎแหงสามัญสํานึก H - Experience ประสบการณ E - Natural Talent พรสวรรค T Snowden, 23 May 03 Heads Tacit 20/19 แผนภาพที่ 4
  • 5. Knowledge Center จตุรภาคแหงการจัดการความรู (The Cynefin Framework of Knowledge Management) แผนภาพที่ 5 ในการดําเนินการจัดการความรู จะตองเคลื่อนหนวยงานหรือองคกรเขาไปอยูใน 4 ภาค (4 quadrants) ของสถานการณอยางชาญฉลาด จึงจะเกิดการจัดการความรูที่มีพลังและเกิดการสรางสรรคสูงสง การดําเนินงานปกติ อยูในสภาพของพื้นที่ลางขวา อันเปนพื้นที่แหงงานประจํา การทํางาน มีแบบแผนกฎเกณฑแนนอนชัดเจน เจาหนาที่ทํางานอยางคุนเคย ไมมีความยากลําบาก ทุกคนมีความ สะดวกใจที่จะทํางานในลักษณะนี้ แตถาทํางานในลักษณะนี้นานไป โลกและสังคมเปลี่ยนไป แตเรายัง ทํางานแบบเดิม ก็จะเทากับลาหลัง หากจะใหเกิดความเจริญกาวหนาของหนวยงานหรือองคกร ผูนําจะตองมีความกลาหาญ และความชาญฉลาดที่จะนําหนวยงานเขาสูพื้นที่ลางซาย อันเปนพื้นที่แหงความไรระเบียบ (chaos) ซึงเรามี ่ ความรูความเขาใจนอย ไมมีความคุนเคย ทุกคนในหนวยงานจะถูกบังคับโดยสถานการณใหตองตืนตัว และ ่ รวมตัวกันคิดและดิ้นรนหาลูทางใหม ๆ พอเริ่มตั้งตัวไดบางก็จะเคลื่อนสูพ้นที่บนซาย ซึ่งเปนพื้นที่ที่มี ื
  • 6. Knowledge Center ความสรางสรรคสูงสง เรียกวาพื้นที่แหงความซับซอนและปรับตัว (complex adaptive) มีการ “ผุดบังเกิด” (emergence) ของความคิดและวิธีการใหม ๆ อยางหลากหลาย และเขาสูพื้นที่บนขวา ซึ่งเปนพื้นที่แหงการ ทดลองและปรับปรุง (improvement) นําเอาวิธีการใหม ๆ ที่คิดขึ้นไดในพื้นที่แหงความซับซอนและปรับตัว มาทดลองและปรับปรุง จนในที่สุดไดวิธีทํางานแบบใหม (หรือไดสินคาชนิดใหม) เคลื่อนลงสูพื้นที่ลางขวา กลายเปนมาตรฐานการทํางานใหมหรือ best practice ใหมนั่นเอง ในการดําเนินการจัดการความรู ผูบริหารระดับสูงจะตองรูจักใชหลักการและวิธีการ วงจรจตุรภาค (4 quadrants) หรือเกลียวความรู (knowledge spiral) รูปแบบหนึ่ง แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินการจัดการความรูในหนวยงานราชการ การดําเนินการจัดการความรูในหนวยราชการควรใชหลักการ “พลังสาม รวมเปนหนึ่งเดียว” (1) ใชพลังของระบบ “ราชการประจํา” ซึ่งมีการทํางานตามกฎระเบียบ มีรูปแบบที่ชัดเจน (2) ใชพลังของ “ระบบแหงความสรางสรรค” มีการทดลองรูปแบบใหม ๆ ของการทํางาน เปน project team ทํางานมุงเปาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ภายใตแนวคิดของ “ระบบที่ซับซอนและปรับตัว” (complex-adaptive system) และ (3) ใช พ ลัง สร า งสรรค ที่มี อยู แล ว ภายในองค ก ร ในรู ป ของการรวมตั ว กั น เองเป น กลุ ม เชื่อมโยงกับระบบราชการประจํา และระบบแหงการสรางสรรค เนนที่การแลกเปลี่ยนเรียนรูที่จะนําไปสูการ พัฒนา best practices จากการเรียนรู จากการทํางานภายในองคกร และจากการ “ตรวจจับ” (capture) ความรูจากภายนอกองคกรเอามาปรับใชในการทํางาน การพัฒนารูปแบบการจัดการความรูในหนวยราชการ การจัดการความรูเปนทักษะ ตองฝกฝนจึงจะทําเปน อยูในภาพที่ “ไมทํา ไมรู” ไมมีการ บรรยายใดที่จะทําใหผูฟงมีความสามารถในการดําเนินการจัดการความรูได หนวยราชการใดตองการ พัฒนางานของตนใหมีสัมฤทธิผลอยางถึงขนาด นาจะพิจารณานําวิธีการจัดการความรูไปประยุกตใช โดย ตองเริ่มลงมือดําเนินการ หนวยราชการในระดับจังหวัดมีความเหมาะสมที่จะใชการจัดการความรูในการ พัฒนางานของจังหวัด เนื่องจากจังหวัดมีหนวยงานที่หลากหลายมาก ความแตกตางหลากหลายเปนพลัง สําหรับการจัดการความรู อาจดําเนินการพัฒนารูปแบบของการจัดการความรูของจังหวัด
  • 7. Knowledge Center โดยเลือกหนวยงาน 5-10 หนวย แต ละหน วยมี แกนนําจัดการความรู 5-10 คน รวมมีขาราชการระดับ ปฏิบัติการเขารวมทํากิจกรรมดําเนินการจัดการความรู 30-50 คน เรียกวา “คุณกิจ” (ทํากิจกรรม) และมี ข า ราชการที่ เ ป น ผู บ ริ ห ารระดั บ กลางหน ว ยงานละ 1 คน ทํ า หน า ที่ เ ป น “คุ ณ อํ า นวย” (knowledge facilitator) คอยอํานวยความสะดวกและกระตุนการดําเนินการจัดการความรู กิจกรรมเริ่มดวยการประชุมปฏิบัติการปูพื้นความรูเชิงทฤษฎีและเทคนิคในการดําเนินการ จัดการความรู และสงเสริมให “คุณกิจ” ของแตละหนวยงานวิเคราะหงานของตนเองและตั้งเปาวาภายใน ระยะเวลา 18 เดื อ นของโครงการ จะพั ฒ นางานของตนไปสู ส ภาพใด และกํ า หนดหลั ก หมายของ ความกาวหนาไวเปนระยะ ๆ แลวดําเนินการจัดการความรูเพื่อพัฒนางานของตนโดยมี “คุณอํานวย” เปนผู คอยสงเสริมอํานวยความสะดวก ทุกเดือน (หรือทุก 2 เดือน) “คุณกิจ” และ “คุณอํานวย” ทั้งหมดมาประชุมรวมกัน 2 วัน วันแรกเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม วาในเดือนที่ผานมาไดทํากิจกรรมใดบาง และเกิดการเรียนรู อะไรบางในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนางานของตน และที่เกี่ยวกับการจัดการความรู ในวันที่ 2 เปนการกําหนด แผนงานของเดือนถัดไปรวมกันในแตละกลุม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม ในชวง 2 วันนี้จะมี วิทยากรมาใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรูสําคัญในการทํางาน และเกี่ยวกับการจัดการความรู “คุณอํานวย” จะมีการประชุมปฏิบัติการรวมกันกับ “คุณอํานวย” จากโครงการอื่น เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรูความรูและทักษะในการเปน “คุณอํานวย” และเพื่อเพิ่มเติมความรูจากวิทยากร “คุณกิจ” และคุณอํานวย จะชวยกันยกราง “คูมือในการจัดการความรูของจังหวัด” และ ปรับปรุงขึ้นเรื่อย ๆ จนเมื่อใกลจบโครงการ (18 เดือน) ก็จะไดคูมือฉบับสมบูรณ สําหรับใหจังหวัดอื่นนําไป ปรับใชตอไป “คุณอํานวย” ก็จะชวยกันเขียน “คูมือการเปน knowledge facilitator” เชนเดียวกันเมื่อครบ กําหนด 18 เดือน ผลที่ไดรับไดแก
  • 8. Knowledge Center 1. “คุณกิจ” ทุกคนมีความรูความชํานาญในการดําเนินการจัดการความรู โดยกวาครึ่งมี ความรูความชํานาญระดับสูง สามารถเปนวิทยากรเผยแพรหลักเกณฑและวิธีการจัดการความรูได 2. “คุณอํานวย” ทุกคนมีความรูความชํานาญในการอํานวยความสะดวกตอการจัดการ ความรู และเกือบทุกคนสามารถเปนวิทยากรในเรื่องดังกลาวได 3. งานของแตละหนวยงานไดรับการพัฒนาสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวตอนเริ่มโครงการ 4. ทั้ ง “คุ ณ กิ จ” และ “คุ ณ อํ า นวย” มีค วามรูเ กี่ ย วกั บ งานของตนเพิ่ ม พูน ขึ้ น อย า งมาก รวมทั้งมีลักษณะเปน “บุคคลเรียนรู” 5. หนวยงานที่เขารวมโครงการเปน “องคกรเรียนรู” รูปแบบ (โมเดล) จัดการความรูอยางงาย หลักการสําคัญที่สุดในการดําเนินการจัดการความรู คือ ตองดําเนินการอยางงายที่สุด ไม เนนการใชเครื่องมือหรูหราหรือยุงยาก เริ่มจากกิจกรรมดี ๆ เชน best practice, กิจกรรมกลุมสรางสรรคใน งานประจํ า ที่ มี อ ยู แ ล ว ภายในหน ว ยงานหรื อ องค ก ร นํ า มาจั ด การประชุ ม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู โ ดยมี ผูทรงคุณวุฒิชวยกระตุนและมี “คุณอํานวย” ชวยตั้งคําถามเพื่อใหกลุมเหลานั้นนําเสนอกิจกรรมของตน อยางมีชีวิตชีวาและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่ทรงพลัง ตัวอยางคําถาม เชน • มีใครหรือเหตุการณใดที่เปนตัวกระตุนใหเกิดการพัฒนางานจนเกิด best practice อยางที่ เปนอยูในปจจุบัน ในชวงเวลาของการพัฒนาดังกลาวใครบางเขามามีสวนรวม รวมอยางไร เกิด กระบวนการอะไรบางที่เปนปจจัยสําคัญนําไปสูความสําเร็จ ความยากลําบากที่ตองเผชิญคืออะไรบาง ได เอาชนะอุปสรรคนั้นอยางไร • ใชความรูอะไรบางในการดําเนินกิจกรรมดังกลาว เอาความรูเหลานั้นมาจากไหน • มีแผนจะทําใหดียิ่งขึ้นอยางไร ตองการความชวยเหลืออะไรบาง • คิดวามีหนวยงานใดบางที่นาจะเรียนรูจากกิจกรรมของกลุมของทานได • มีความรูอะไรบางที่พรอมจะแลกเปลี่ยนกับเพื่อนรวมงานในหนวยงานอื่นภายในองคกร การแลกเปลี่ยนเรียนรูเปนหัวใจของการจัดการความรู การจัดบรรยากาศและเครื่องอํานวย ความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรูถือเปนการจัดการความรูทั้งสิ้น เชน การสงเสริมใหเกิดชุมชน นักปฏิบัติ (จัดการความรู) หรือ CoP (Community of Practice) การจัดใหมี Knowledge Portal ให พนักงานสามารถเขาถึ งความรูภายในองคกรและภายนอกองคกรไดอยางสะดวกผานทางวิธีการดา น อิเล็กทรอนิกส เปนตน
  • 9. Knowledge Center โมเดลของการจัดการความรูอยางงายที่สุดมาจากหนังสือ Learning to fly ซึ่งอาจจะ เรียกวา “วงจรเรียนรูยกกําลังสาม บวก ควา” คือใชวงจรดังกลาวหมุนวัตถุประสงคหรือเปาหมายของงานสู ผลสําเร็จ การเรียนรู 3 ประการ คือ เรียนรูกอนทํางาน ใชเทคนิค Peer Assist, เรียนรูระหวางทํางาน ใช เทคนิค AAR (After Action Review) เรียนรูหลังงานเสร็จสิ้น ใชเทคนิค Retrospect โดยใชเทคนิคทั้ง 3 นี้ ร ว มกั บ การ “คว า ” (capture) ความรู จ ากภายนอก และจากภายในองค ก รเอง เอามาปรั บ ปรุ ง และ ประยุกตใชในกิจการ เมื่อใชงานและผานกระบวนการ AAR และ Retrospect แลว ก็นําความรูที่ไดจาก ประสบการณการทํางานมาตรวจสอบและยกระดับขึ้น (โปรดดูแผนภาพที่ 6) ใชโมเดล “วงจรเรียนรูยกกําลังสาม” บวก ควา  ควา ควาความรู ตรวจสอบ เอามา และ ประยุกต ยกระดับ รร เปาหมาย ผลงาน ของงาน รก รล Learning to Fly19/19 แผนภาพที่ 6 จะเขาใจเรื่องการจัดการความรูในหนวยราชการโดยถองแทได ตองลงมือทํา สงเสริมใหมี “กลุมนํารอง” พัฒนารูปแบบการจัดการความรูขึ้นมาเอง โดยปรับจากแนวทางและวิธีการที่มีผูนําในองคกร แบบอื่ น อยู แ ล ว ผู เ ขี ย นมี ค วามเชื่ อ ว า ผลของการจั ด การความรู 5 ประการที่ ก ล า วแล ว ในตอนต น จะเกิดขึ้นในระดับ “กาวกระโดด” และเปนผลในระดับ “ไมนาเชื่อ” วาจะเกิดขึ้นได
  • 10. ฉบับตอไป เอกสารหมายเลข 006 พบกับ Strategy Maps หนังสือเลมนี้ Kaplan และ Norton พูดถึงวิธีการ สรางแผนผังกลยุทธที่ จะนําองคกรไปสูความสําเร็จ และวิธีการที่จะบอกไดวา ขั้ น ต อ น ภ า ย ใ น อ ง ค ก ร ขั้ น ต อ น ใ ด นั บ เ ป น ขั้ น ต อ น ที่ สํา คั ญ Kaplan และ Norton ไดเสนอความคิดเอาไววา ปจจัยที่สําคัญที่สุดของการ สร า งกลยุ ท ธ ที่ ส ร า งคุ ณ ค า มี 4 อย า ง นั่ น คื อ การปฏิ บั ติ ง าน การสร า ง ความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ความคิดนวัตกรรมใหม ๆ และขั้นตอนตามกฎทางการ ปฏิ บั ติ ง านและสั ง คมในองค ก ร ซึ่ ง ในเล ม นี้ จ ะพู ด ถึ ง ว า แต ล ะองค ก รจะใช strategy map เพื่อใชงบประมาณ,ปจจัย และขั้นตอนเหลานี้เขากับความตองการของลูกคา ประเมินผลงาน วัดคุณภาพงาน และพัฒนาการทํางานตาง ๆ ใหประสบความสําเร็จไดอยางไร