Inicio
Explorar
Enviar búsqueda
Cargar
Iniciar sesión
Registrarse
Próximo SlideShare
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
Cargando en ... 3
1
de
164
Top clipped slide
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2556)
8 de Aug de 2013
•
0 recomendaciones
10 recomendaciones
×
Sé el primero en que te guste
ver más
•
18,763 vistas
vistas
×
Total de vistas
0
En Slideshare
0
De embebidos
0
Número de embebidos
0
Descargar ahora
Descargar para leer sin conexión
Denunciar
Educación
เอกสารสำหรับจัดการเรียนการสอน IS1-IS3
supattrajra
Seguir
Recomendados
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
Komsun See
35K vistas
•
164 diapositivas
World-Class Standard School
Boonlert Aroonpiboon
1.8K vistas
•
164 diapositivas
School Library Standard, Thailand
Boonlert Aroonpiboon
2.2K vistas
•
66 diapositivas
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
Somchart Phaeumnart
980 vistas
•
121 diapositivas
รายงานผลการดำเนินงาน
rbsupervision
4.7K vistas
•
74 diapositivas
School lib-standard-th-56
Boonlert Aroonpiboon
3.7K vistas
•
98 diapositivas
Más contenido relacionado
Similar a แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2556)
(20)
E book world-class
Krookhuean Moonwan
•
2.7K vistas
ชุดฝึกอบรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Sununtha Putpun
•
781 vistas
B1
Nan Wanwalit
•
250 vistas
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
Chay Kung
•
4.4K vistas
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
Boonlert Sangdee
•
6.7K vistas
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
Wichai Likitponrak
•
153.7K vistas
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
comed
•
280 vistas
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
•
1.4K vistas
World-Class Standard School
Boonlert Aroonpiboon
•
5.4K vistas
Tqa presentation
krupanisara
•
397 vistas
วรสารเดือน พ.ค
สำเริง ยิ้มดี
•
347 vistas
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
tassanee chaicharoen
•
765 vistas
Focus7
kruchaily
•
407 vistas
2552 high school performance standards.9
ชญานิษฐ์ ทบวัน
•
439 vistas
การคิด วิทย์ มัธยม
Matdavit Physics
•
633 vistas
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
Nang Ka Nangnarak
•
5.6K vistas
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
kruthai40
•
282 vistas
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
worapanthewaha
•
5.1K vistas
จุดเน้นที่ 7
Suwakhon Phus
•
564 vistas
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
สำเริง ยิ้มดี
•
2.4K vistas
Último
(20)
research 653.pdf
peter dontoom
•
17 vistas
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Bangkok University
•
4 vistas
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
6 vistas
4conic_formula.pdf
SunisaTheswan
•
2 vistas
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
Supat Buddee
•
7 vistas
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
Kru Bio Hazad
•
5 vistas
นิ่วในไต.pdf
ssuser49a477
•
5 vistas
รายละเอียดการสอบคัดเลือก 2566 (รอบ3).pdf
Siraphop Ratanasuban
•
2 vistas
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
jintana ver
•
15 vistas
ประมวลจริยธรรม กระทรวงการอุดมศึกษาฯ.pdf
Postharvest Technology Innovation Center
•
27 vistas
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
PhanumatPH
•
6 vistas
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
15 vistas
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
7 vistas
หลักการและเหตุผลงานพัสดุ 2560.pdf
Naruechon Khwanpremruethai
•
1 vista
pdf2.pdf
Sanzero1
•
4 vistas
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Tassanee Lerksuthirat
•
28 vistas
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
13 vistas
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 vistas
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
pitsanu duangkartok
•
10 vistas
label stoi exercise.pptx
ssuseref5b61
•
5 vistas
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2556)
แนวทางการจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง ส�ำนักบริหำรงำนกำรมัธยมศึกษำตอนปลำย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร WORLD-CLASSSTANDARDSCHOOL
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง ปีที่พิมพ์ พ.ศ.
2555 จ�ำนวนพิมพ์ 10,000 เล่ม ลิขสิทธิ์เป็นของ ส�ำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 978-616-202-678-2 พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด 79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนดนโยบายให้โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-ClassStandardSchool)
เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน การพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผู้เรียนมีศักยภาพและ ความสามารถทัดเทียมกับผู้เรียนนานาประเทศ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี2553 มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ3 ประการ คือ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล และบริหาร จัดการด้วยระบบคุณภาพ โดยมีโรงเรียนเป้าหมาย500 โรงเรียนเป็นกลุ่มบุกเบิก เพื่อให้การด�ำเนินการ บรรลุวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน มาตรฐานสากลบังเกิดผลเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ ทบทวนและก�ำหนดแนวทาง โดยจัดท�ำเอกสารแนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐาน สากล (ฉบับปรับปรุง) ขึ้น ทั้งนี้รายละเอียดของเอกสารจะช่วยให้โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า “บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผู้เรียน สู่มาตรฐานสากล” (Five Steps for Student Development) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารแนวทางการจัด การเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง) ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ครูผู้สอน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ขอขอบคุณคณะท�ำงานและทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ เอกสารให้ส�ำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้เป็นอย่างดี (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอนที่ 1 สวนนํา
1 หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล 3 ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล 11 การดําเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล 12 ความสําเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล 14 เปาหมายความสําเร็จในการดําเนินงานดานผูเรียน 15 ตอนที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 19 คุณลักษณะและศักยภาพผูเรียนที่เปนสากล 21 การจัดทําหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสูสากล 23 กระบวนการพัฒนาผูเรียนสูคุณภาพที่คาดหวัง 24 การศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) เครื่องมือสําคัญ ในการพัฒนา 25 เปาหมายคุณภาพผูเรียนในสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง 27 ตอนที่ 3 การจัดหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล 33 ระดับประถมศึกษา 35 ระดับมัธยมศึกษา 38 ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับชั้นประถมศึกษา 40 ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษา 41 ตัวอยางคําอธิบายรายวิชา 42 สารบัญ
ตอนที่ 4 การจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากล
49 แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 52 ธรรมชาติของผูเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 53 การจัดการเรียนรูตองเนนการทํางานของสมอง 55 การจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีการสรางความรู 57 การศึกษาคนควาดวยตนเอง 60 แนวทางการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง 62 บทบาทของผูสอน 65 บทบาทของผูเรียน 66 การจัดการเรียนรูระดับประถมศึกษา 68 บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผูเรียนสูมาตรฐานสากล 70 การจัดกิจกรรมเพื่อนําความรูหรือประสบการณไปใชบริการสังคม 71 ตอนที่ 5 การวัดและประเมินผล 73 แนวทางการวัดและประเมินผล 75 ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 76 ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 77 ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับมัธยมศึกษา 86 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 88 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 89 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 91 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 93 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 96 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 98 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 102 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 107 แนวทางการรายงานผลการเรียนรูสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) 113 การรายงานภาพรวมระดับหองเรียน 116 ภาคผนวก 117 เอกสารอางอิง 153 คณะทํางาน 154
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 1 ส่วนน�ำ ตอนที่ 1 ส่วนน�า
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 2
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 3 ส่วนน�ำ หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว
ทั้งด้านวิทยาการ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยู่โดยล�ำพัง ต้องร่วมมือและพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน การด�ำรงชีวิตของคนในแต่ละประเทศ มีการติดต่อสื่อสารซึ่งกัน และกันมากขึ้น มีความร่วมมือในการปฏิบัติภารกิจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน มากขึ้น ในขณะเดียวกัน สังคมโลกในยุคปัจจุบัน เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ท�ำให้คนต้องคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีการตัดสินใจที่รวดเร็ว เพื่อให้ทันกับ เหตุการณ์ในสังคม ที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้น�ำไปสู่สภาวการณ์ ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นแรงผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้หลายประเทศต้องปฏิรูป การศึกษา คุณภาพของการจัดการศึกษาจึงเป็นตัวบ่งชี้ส�ำคัญประการหนึ่ง ส�ำหรับ ความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก ของแต่ละประเทศ ประเทศที่จะอยู่รอดได้หรือคงความได้เปรียบก็คือประเทศ ที่มีอ�ำนาจทางความรู้และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งในยุคโลกไร้พรมแดน คนต่างชาติจะเข้ามาท�ำงาน และประกอบอาชีพในประเทศไทยมากขึ้น ขณะเดียวกันคนไทยก็มีโอกาสไปท�ำงานและประกอบอาชีพในต่างประเทศ มากขึ้นด้วยเช่นกัน นอกจากนั้น ปัจจุบันปรากฏสภาพปัญหา ที่คนทั่วโลกต้องเผชิญ กับวิกฤตการณ์ร่วมกันในเรื่องความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมและอุบัติภัยต่างๆที่เกิดบ่อยๆและรุนแรงมากยิ่งขึ้นส่งผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อมวลมนุษย์โดยทั่วไป สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มว่าคนยุคใหม่ จะต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่หลากหลาย เป็นสัญญาณเตือนว่า โลกในยุคหน้า จะมีปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเกินกว่าจะคาดคิด ด้วยเหตุนี้ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่แต่ละประเทศต้องเตรียมคนรุ่นใหม่ ที่มีทักษะและ ความสามารถในการปรับตัว มีคุณลักษณะส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ได้ อย่างรู้เท่าทัน สงบ สันติ มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมและเพียงพอ 1
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 4 การจัดหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนจ�ำเป็นต้องมีความ เป็นพลวัต ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลงต่าง
ๆ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรและกิจกรรม การเรียนการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาไทยให้พร้อมส�ำหรับ การแข่งขันในเวทีโลกในยุคศตวรรษที่ 21 สรุปได้ดังนี้ 1) โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น เพราะในปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมที่ไร้พรมแดน ที่มีการติดต่อประสาน สัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ มากขึ้น อีกทั้งการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จะมีผลต่อการเปิดเสรีทางการศึกษา ซึ่งจะท�ำให้เกิดการ แข่งขันในการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้น ในอนาคตโรงเรียนแต่ละแห่งจะต้องมีการแข่งขันด้านคุณภาพมากขึ้น โรงเรียน ในประเทศไทยเองจ�ำเป็นต้องพัฒนาให้เป็นหน่วยบริการทางการศึกษา ที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับการแข่งขันที่จะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีทางการศึกษา 2) หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น เนื่องจาก ยุคโลกาภิวัตน์ มีการเชื่อมโยงด้านการค้าและการลงทุน ท�ำให้ตลาดแรงงาน ในอนาคตต้องการคนที่มีศักยภาพในหลายด้าน รวมทั้งความสามารถด้าน ภาษาต่างประเทศ การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร คุณลักษณะในการเป็นพลโลก การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนจึงต้องปรับให้มีความเป็นสากลมากขึ้น นอกจากนี้การเปิดเสรีทางการศึกษา ท�ำให้สถาบันการศึกษาจากต่างประเทศ เข้ามาลงทุนด้านการจัดการศึกษาในประเทศไทย โรงเรียนควรหาภาคีเครือข่าย ในการจัดหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตรสมทบ หรือหลักสูตรร่วมกับสถาบัน ต่างประเทศ เพื่อความเป็นสากลของการศึกษา
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 5 ส่วนน�ำ 3) ต้องมีกำรพัฒนำทักษะกำรคิดมำกขึ้น สภำพสังคมโลกที่มีกำร แข่งขันสูง ท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำจ�ำเป็นต้องเน้นกำรพัฒนำทักษะเป็นส�ำคัญ ปัจจุบันโรงเรียนยังไม่สำมำรถพัฒนำทักษะกำรคิดของผู้เรียนได้ดีเท่ำที่ควร เนื่องจำกกำรเรียนกำรสอนยังเน้นให้ผู้เรียนคิดตำมสิ่งที่ผู้สอนป้อนควำมรู้ มำกกว่ำกำรคิดสิ่งใหม่
ๆ ดังนั้น จึงควรมีกำรปรับรูปแบบกระบวนกำรจัดกำรเรียน กำรสอน เพื่อส่งเสริมทักษะกำรคิดให้มำกยิ่งขึ้น 4) ต้องมีกำรปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมำกขึ้น แนวคิดของทุนนิยม ที่มุ่งกำรแข่งขัน มีอิทธิพลท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนส่วนใหญ่เน้น และให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำควำมรู้และควำมสำมำรถ เพื่อควำมก้ำวหน้ำ ในหน้ำที่กำรงำนและกำรมีชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จนอำจละเลยกำรส่งเสริม ด้ำนคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อปัญหำทำงสังคมตำมมำ ดังนั้น ปรัชญำ กำรจัดกำรศึกษำ จึงต้องให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำบุคคลในองค์รวม ทั้งมิติ ของควำมรู้และคุณธรรมคู่กัน เพื่อให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนอันจะส่งผลให้ ประชำคมโลกอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุข 5) กำรสอนภำษำต่ำงประเทศต้องมีประสิทธิภำพมำกขึ้น ในยุคโลก ไร้พรมแดนนั้น ผู้มีควำมรู้ด้ำนภำษำต่ำงประเทศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำ ที่ใช้สื่อสำรกันอย่ำงกว้ำงขวำง เช่น ภำษำอังกฤษ หรือภำษำจีน ย่อมมีควำมได้ เปรียบในกำรติดต่อสื่อสำร กำรเจรจำต่อรองในเรื่องต่ำง ๆ ตลอดจนกำรประกอบ อำชีพ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนจึงควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกำสพัฒนำทักษะ ภำษำต่ำงประเทศอย่ำงเต็มศักยภำพ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 6 จากแนวคิดดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการจึงมีการทบทวนและปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของ ชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล รักความเป็นไทย มีทักษะในการคิด มีทักษะในการแก้ปัญหา มีทักษะด้านเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร และมีทักษะชีวิต สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ ในระดับที่ไม่ต�่ำกว่านักเรียน ของนานาอารยประเทศ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน เป็นการเพิ่ม ขีดความสามารถให้คนไทยก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า ของโลก มีศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 7 ส่วนน�ำ อย่างไรก็ตามผลการติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 พบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณภาพตามเจตนารมณ์ของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ การศึกษาหาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 2. ทักษะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและ การศึกษา หาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 3. ทักษะและความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และเรียนรู้จากการปฏิบัติทดลอง 4. ทักษะและความสามารถในการคิดรูปแบบต่างๆเช่นการคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงวิทยาศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นต้น 5. ทักษะและความสามารถในการท�ำงานและแข่งขันกับชาวต่างชาติ 6. โอกาสในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และการด�ำรงชีวิต 7. ความเป็นผู้มีจิตสาธารณะ และมุ่งมั่น ไม่ย่อท้อต่อปัญหาอุปสรรค
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 8 สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมาย ของหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างถ่องแท้
สามารถน�ำไปถ่ายทอด แก่ผู้เรียน และประยุกต์ใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เล็งเห็นความจ�ำเป็น อย่างรีบด่วนที่จะต้องเร่งหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาทักษะและ ความสามารถต่าง ๆ ดังกล่าวให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน เพื่อให้เป็นพื้นฐานที่จะเติบโต เป็นคนไทยที่มีความคิดเป็นสากล มีความสามารถในการร่วมมือท�ำงานและ แข่งขันกับนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะสิ่งเหล่านี้จะท�ำให้ประเทศไทย ด�ำรงอยู่ในเวทีระดับนานาชาติได้อย่างรู้เท่าทัน สมศักดิ์ศรี เคียงบ่าเคียงไหล่ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้รับประโยชน์ในสิ่งที่ควรจะได้รับ และมีคุณภาพชีวิต ที่ดี สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสงบ สันติ ถ้อยทีถ้อยอาศัยและช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โรงเรียนมาตรฐานสากลจึงเป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานน�ำมาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการยกระดับ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล เริ่มด�ำเนินการน�ำร่อง ในปีการศึกษา 2553 กับโรงเรียนจ�ำนวน 500 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ด้วยการให้โรงเรียนในโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเพิ่มเติม สาระการเรียนรู้ความเป็นสากล
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 9 ส่วนน�ำ อย่างไรก็ตามจากการก�ำกับติดตามการด�ำเนินงานของโรงเรียนใน โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ในปีการศึกษา2553-2554
พบปัญหาอุปสรรค ในการปฏิบัติบางประการ ได้แก่ การใช้ค�ำบางค�ำอาจท�ำให้เกิดการเข้าใจผิดว่า มีความซ�้ำซ้อนกับหลักสูตรบางหลักสูตร และการจัดสาระเพิ่มเติมในหลักสูตร ของสถานศึกษาหลายแห่งยังไม่สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่ก�ำหนด ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นอกจากนั้น เสียงสะท้อนของสังคมทั่วไปบ่งชี้ให้เห็นว่า ทักษะและ ความสามารถที่จ�ำเป็นที่จะช่วยท�ำให้เด็กและเยาวชนไทยสามารถพัฒนาตนเอง ไปสู่ความเป็นสากล ได้แก่ ทักษะและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด สร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงทักษะและความสามารถ ด้านเทคโนโลยี และทักษะและความสามารถในการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น ยังไม่อยู่ ในระดับที่น่าพอใจ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการ ทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และผลการทดสอบความถนัดทางวิชาการ และวิชาชีพ (PAT) ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับต�่ำและมีการกระจายสูง ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 10 ผลการเข้าร่วมโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme for
International Student Assessment : PISA) จัดโดย Organization for Economic Co-operation and Development : OECD) มีประเทศเข้าร่วม โครงการประมาณ70 ประเทศ คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนไทยต�่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของนานาชาติมาก ส่วนผลการเข้าร่วมโครงการการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษา ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ (Trended in International Mathematics and Science Study : TIMSS) จัดโดย The International AssociationfortheEvaluationofEducationalAchievement:IEA มีประเทศ เข้าร่วมโครงการประมาณ 60 ประเทศ คะแนนของนักเรียนไทยโดยเฉลี่ย ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของนักเรียนนานาชาติมากเช่นกัน จากข้อมูลดังกล่าวท�ำให้สังคมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สรุปและเชื่อว่าคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยเมื่อเทียบกับคุณภาพการศึกษา ของนานาชาติยังอยู่ในระดับต�่ำ ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น ที่ต่างชาติมีต่อประเทศไทย ตลอดจนการลงทุนของต่างชาติในประเทศไทยมาก จึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาและปรับปรุงการศึกษาไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกับ การศึกษาของนานาชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้พิจารณาทบทวน จุดที่เป็นปัญหาในการด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และพัฒนา ปรับปรุงแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และ การบริหารจัดการส�ำหรับโรงเรียนในโครงการ โดยเริ่มต้นใช้ในปีการศึกษา 2555 ทั้งนี้ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 11 ส่วนน�ำส่วนน�ำ ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนมำตรฐำนสำกล หมำยถึง โรงเรียนที่มีกำรพัฒนำหลักสูตร กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
และกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพ ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำผู้เรียนให้มีศักยภำพเป็นพลโลก มีทักษะ ควำมรู้ ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมำตรฐำน สำกลหรือมำตรฐำนของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพเยำวชนส�ำหรับยุคศตวรรษที่ 21 ตำมปฏิญญำ ว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ UNESCO ทั้ง 4 ด้ำน คือ Learning to know, Learning to do, Learning to live together and Learning to be 2
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 12 3 การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
จะประสบความส�ำเร็จได้ จะต้องมีการพัฒนาหลายมิติไปพร้อมกัน โดยจะต้องด�ำเนินการทั้งระบบ คือ ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการบริหารจัดการ มิใช่ เป็นการจัดการศึกษาเพียงบางส่วนของโรงเรียน หรือเพียงจัดเป็นแผนการเรียน มาตรฐานสากล การจัดการศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากลจะต้องมี จุดมุ่งหมายและทิศทางที่ชัดเจน ดังนี้ 3.1 เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูง ได้แก่ ประเทศ ที่ประสบความส�ำเร็จสูงในการเข้าร่วมโครงการ PISA หรือ TIMSS โดยค�ำนึง ถึงความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านสติปัญญา ความสามารถ และความถนัด มีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการเพิ่มพูนศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริม พหุปัญญาของผู้เรียน บนพื้นฐานของความเข้าใจและรู้ใจ มีการใช้กระบวนการ คัดกรองในระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้สามารถพัฒนา ไปสู่จุดสูงสุดแห่งศักยภาพ 3.2 เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วย ระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ทั้งนี้เพื่อให้การพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนด�ำเนินไปตามมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูงทั้งหลาย
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 13 ส่วนน�ำ แต่ในสภำพควำมเป็นจริงกำรด�ำเนินงำนโรงเรียนมำตรฐำนสำกล ของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พบว่ำ โรงเรียนมำตรฐำนสำกล มีควำมแตกต่ำงกันทั้งบริบท
ศักยภำพ ขนำดโรงเรียน รวมทั้งสภำพแวดล้อม อื่น ๆ ดังนั้นเพื่อให้กำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพของโรงเรียน เกิดกำรพัฒนำ จึงก�ำหนดให้มีกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพเป็น3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับโรงเรียน (School Quality Award : SCQA) ระดับที่ 2 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ระดับที่ 3 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับชำติ (Thailand Quality Award : TQA) ทั้งนี้ หวังว่ำรูปแบบและแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ในแต่ละระดับจะท�ำให้โรงเรียนเกิดกำรพัฒนำอย่ำงมีขั้นตอนสอดคล้องกับสภำพ ปัจจุบัน และบริบทของโรงเรียน 3.3 เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีศักยภำพเป็นพลโลก โดยเน้นควำมเป็นเลิศ ทำงวิชำกำร สื่อสำรสองภำษำ ล�้ำหน้ำทำงควำมคิด ผลิตงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 14 ความส�ำเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล ความส�ำเร็จขั้นสุดท้ายของโรงเรียนมาตรฐานสากล คือ
คุณภาพของ ผู้เรียน โรงเรียนที่ได้รับการประเมินว่ามีหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการที่ดีเยี่ยม แต่การประเมินคุณภาพของผู้เรียนยังไม่ผ่าน เกณฑ์ตามที่โรงเรียนได้ก�ำหนดไว้ ก็ไม่ถือว่าโรงเรียนนั้นประสบความส�ำเร็จ ในการเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ความส�ำเร็จของโรงเรียนในการด�ำเนินงานตามโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลจะพิจารณาจากคุณภาพของผู้เรียนที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย ที่แต่ละโรงเรียนก�ำหนดและท�ำความตกลงไว้กับโครงการเป็นส�ำคัญ ความส�ำเร็จด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการโรงเรียนด้วยระบบบริหารคุณภาพ ถือเป็นความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเชื่อว่า ถ้าโรงเรียนมีหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และมีระบบการบริหารจัดการ โรงเรียนที่ดี ก็จะช่วยท�ำให้ผู้เรียนมีคุณภาพที่ดีขึ้นเป็นล�ำดับ ความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากลสรุปได้ ดังนี้ 4 เป็นเลิศวิชาการ ผู้เรียน สื่อสารสองภาษา ล�้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ตามเกณฑ์ระดับคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ระดับคุณภาพ สพฐ. (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ระดับคุณภาพโรงเรียน (School Quality Award : SCQA) หลักสูตรและกิจกรรม การเรียนการสอน ครู
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 15 ส่วนน�ำ แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 15 เปาหมายความส�าเร็จในการด�าเนินงานด้านผู้เรียน เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จในกำรด�ำเนินงำนด้ำนผู้เรียน ของโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มี 5
เป้ำหมำย แต่ละเป้ำหมำยจะมีตัวชี้วัด ควำมส�ำเร็จที่แตกต่ำงกันไป ในแต่ละปีกำรศึกษำโรงเรียนหรือผู้ด�ำเนินกำร อำจพิจำรณำปรับ ลด เพิ่ม ตัวชี้วัดให้มีควำมเหมำะสม สอดคล้องกับ สภำพกำรณ์ต่ำง ๆ ของปีนั้น ๆ ให้มำกยิ่งขึ้นต่อไป เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียนแต่ละข้อได้ระบุด้วยว่ำ โครงกำรมีวัตถุประสงค์ ที่จะพัฒนำคุณภำพของนักเรียนของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลให้อยู่ ในระดับเดียวกับนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง ซึ่งได้แก่ประเทศ ที่มีผลกำรประเมิน PISA อยู่ในกลุ่มสูง ในอนำคตโครงกำรจะได้จัดให้มีกำรประเมินคุณภำพด้ำนต่ำงๆของนักเรียน โรงเรียนมำตรฐำนสำกล เทียบกับคุณภำพนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพ กำรศึกษำสูงดังกล่ำวด้วย 5
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 16 ควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลอีกมุมมองหนึ่ง สำมำรถพิจำรณำได้จำกผลกำรเข้ำร่วมโครงกำรประเมินผลนำนำชำติ ซึ่งใน ปัจจุบันประเทศไทยเข้ำร่วมอยู่ 2
โครงกำร คือ 1. โครงกำรประเมินผลนักเรียนนำนำชำติ (PISA) จัดโดย OECD 2. โครงกำรกำรศึกษำแนวโน้มกำรจัดกำรศึกษำด้ำนคณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์ระดับนำนำชำติ (TIMSS) จัดโดย IEA ทั้งโครงกำร PISA และโครงกำร TIMSS จะด�ำเนินกำรครั้งต่อไป ในปี พ.ศ.2558 ดังนั้นตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกล ที่ส�ำคัญมำกอีกข้อหนึ่งคือ นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ได้รับการสุ่มเข้าสอบโครงการPISA หรือ TIMSS ในป พ.ศ. 2558 มีคะแนนผลการสอบโดยเฉลี่ย ไม่ต�่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนนานาชาติที่เข้าร่วมโครงการ PISA หรือ TIMSS ในปเดียวกัน
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 17 ส่วนน�ำ กำรประเมินตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จหลำยข้อ ได้ก�ำหนดให้มีกำรสร้ำง เครื่องมือกลำงในกำรทดสอบขึ้นเป็นกำรเฉพำะด้วย เนื่องจำกกำรทดสอบทำง กำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน
(O-NET) เป็นกำรวัดขั้นพื้นฐำนตำมหลักสูตร แต่เป้ำหมำยของโรงเรียนมำตรฐำนสำกลก�ำหนดไว้สูงกว่ำนั้น นอกจำกนั้น กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET)มีข้อจ�ำกัดหลำยประกำร จ�ำเป็นต้องใช้แบบทดสอบแบบเลือกตอบเป็นส่วนใหญ่ จึงยังไม่สำมำรถวัดทักษะ คุณลักษณะและพฤติกรรมบำงด้ำนได้อย่ำงชัดเจน แบบทดสอบกลำงที่สร้ำงขึ้นจะมีกำรถำมให้นักเรียนได้ แสดงเหตุ และผลวิธีคิดและวิธีท�ำนอกจำกนั้นจะจัดให้มีกำรทดสอบภำคปฏิบัติกำรสัมภำษณ์ กำรพูดคุยกับนักเรียน และหรือวิธีกำรอื่น ๆ ที่เหมำะสม
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 18 เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จด้ำนผู้เรียน ในกำรด�ำเนินงำนโรงเรียน มำตรฐำนสำกล มี
5 เป้ำหมำย ดังนี้ 1. เปนเลิศทางวิชาการ : นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ำนต่ำง ๆ อยู่ในระดับสูง เทียบได้ ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 2. สื่อสารสองภาษา : นักเรียนมีทักษะและควำมสำมำรถด้ำนภำษำอยู่ในระดับสูง เทียบได้ ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 3. ล�้าหน้าทางความคิด : นักเรียนมีทักษะและควำมสำมำรถในกำรคิดและทักษะและ ควำมช�ำนำญในกำรใช้ ICT ในระดับสูง เทียบได้ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศ ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : นักเรียนมีทักษะและควำมสำมำรถเกี่ยวกับกำรศึกษำค้นคว้ำตนเอง (Independent Study) และมีศักยภำพ ทักษะ และควำมสำมำรถในกำรผลิต ผลงำนต่ำง ๆ อย่ำงมีคุณภำพ เทียบได้ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพ กำรศึกษำสูง 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และ ลักษณะเฉพำะของชำติต่ำง ๆ ในระดับสูง มีควำมมุ่งมั่นจริงจังในกำรท�ำงำน ไม่ย่อท้อต่อปัญหำอุปสรรค มีจิตสำธำรณะ มีส�ำนึกในกำรบริกำรสังคม และ มีควำมรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับสูง เทียบได้ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศ ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 1. 2. 3. 4. 5.
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 19 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน ตอนที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียน
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 20
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 21 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน คุณลักษณะและศักยภาพผู้เรียนที่เปนสากล กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มุ่งเน้นกำร เสริมสร้ำงควำมรู้ ควำมสำมำรถ
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และเป็นไปตำมปฏิญญำว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ UNESCO ได้แก่ Learning to know : หมำยถึง กำรเรียนเพื่อให้มีควำมรู้ในสิ่งต่ำง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อไป ได้แก่ กำรรู้จักกำรแสวงหำควำมรู้ กำรต่อยอดควำมรู้ที่มีอยู่ และรวมทั้ง กำรสร้ำงควำมรู้ขึ้นใหม่ Learning to do : หมำยถึง กำรเรียนเพื่อกำรปฏิบัติหรือลงมือท�ำ ซึ่งน�ำไปสู่กำรประกอบ อำชีพจำกควำมรู้ที่ได้ศึกษำมำ รวมทั้งกำรปฏิบัติเพื่อสร้ำงประโยชน์ให้สังคม Learning to live together : หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อกำรด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่ำง มีควำมสุขทั้งกำรด�ำเนินชีวิตในกำรเรียน ครอบครัว สังคม และกำรท�ำงำน Learning to be : หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่ำงถ่องแท้ รู้ถึงศักยภำพ ควำมถนัด ควำมสนใจของตนเอง สำมำรถใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเอง ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เลือกแนวทำงกำรพัฒนำตนเองตำมศักยภำพ วำงแผน กำรเรียนต่อ กำรประกอบอำชีพที่สอดคล้องกับศักยภำพของตนเองได้ Learning to know : Learning to do : หมำยถึง กำรเรียนเพื่อกำรปฏิบัติหรือลงมือท�ำ ซึ่งน�ำไปสู่กำรประกอบ Learning to live together : Learning to be :
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 22 ทั้งนี้เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีคุณภำพ ทั้งในฐำนะพลเมืองไทยและ พลเมืองโลกเทียบเคียงกับนำนำอำรยประเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีศักยภำพ ที่ส�ำคัญ
ดังนี้ 1) ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล มีควำมรู้พื้นฐำนที่จ�ำเป็นทำงวิทยำศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ เทคโนโลยี รู้ภำษำ ข้อมูล และทัศนภำพ รู้พหุวัฒนธรรมและมีควำมตระหนักส�ำนึกระดับโลก 2) ความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างมีความสามารถในการปรับตัว สำมำรถจัดกำรกับสภำวกำรณ์ที่มีควำมซับซ้อน เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้ สำมำรถก�ำหนด/ตั้งประเด็นค�ำถำม เพื่อน�ำไปสู่กำรศึกษำค้นคว้ำ แสวงหำ ควำมรู้ มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดสังเครำะห์ ข้อมูล สำรสนเทศ และสรุปองค์ควำมรู้ ใช้ข้อมูลเพื่อกำรตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม ได้อย่ำงเหมำะสม 3) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล ควำมสำมำรถในกำรรับและส่งสำร กำรเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล ข่ำวสำรด้วยหลักเหตุผลและควำมถูกต้อง มีวัฒนธรรมในกำรใช้ภำษำถ่ำยทอด ควำมคิด ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่ำวสำรและประสบกำรณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำตนเองและ สังคม รวมทั้งมีทักษะในกำรเจรจำต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหำควำมขัดแย้ง ต่ำง ๆ ตลอดจนสำมำรถเลือกใช้วิธีกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพโดยค�ำนึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ควำมสำมำรถในกำรน�ำกระบวนกำรต่ำง ๆ ไปใช้ในกำรด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวัน กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง เข้ำใจควำมสัมพันธ์ และกำรเปลี่ยนแปลงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในสังคม สำมำรถจัดกำรปัญหำและ ควำมขัดแย้งต่ำง ๆ อย่ำงเหมำะสม น�ำไปสู่กำรปฏิบัติและน�ำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม บริกำรสำธำรณะ ซึ่งหมำยถึงกำรเป็นพลเมืองไทยและ พลเมืองโลก 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี กำรสืบค้นหำควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้และวิธีกำรที่หลำกหลำย เลือกและใช้เทคโนโลยีด้ำนต่ำง ๆ และมีทักษะกระบวนกำรทำงเทคโนโลยี เพื่อกำรพัฒนำตนเองและสังคม ในด้ำนกำรเรียนรู้ กำรสื่อสำร กำรท�ำงำน กำรแก้ปัญหำอย่ำงสร้ำงสรรค์ ถูกต้อง เหมำะสม และมีคุณธรรม 1) 2) 3) 4) 5)
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 23 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน การจัดท�ำหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสู่สากล การที่ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพดังกล่าว ย่อมต้องอาศัย หลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสม
คือ จะต้องได้รับการออกแบบอย่างดี มีเป้าหมาย และกระบวนการด�ำเนินงานที่เป็นระบบ ด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ในโรงเรียน หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นหลักสูตร ที่ใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางในการยกระดับการจัดการศึกษาทั้งโรงเรียน มิใช่การจัดในลักษณะของแผนการเรียนส�ำหรับผู้เรียนเพียงบางส่วน การออกแบบ หลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับหลักการและแนวคิดของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาคุณภาพ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนที่ก�ำหนด มีการพัฒนาต่อยอดคุณลักษณะที่เทียบเคียงกับสากล ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยโรงเรียนพิจารณาให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพความพร้อม และจุดเน้น ของโรงเรียน
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 24 กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่คุณภาพที่คาดหวัง กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและศักยภำพ ควำมเป็นสำกล คือ เป็นบุคคลที่มีคุณภำพ
มีทักษะในกำรค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้ และมีควำมรู้พื้นฐำนที่จ�ำเป็น สำมำรถคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ สร้ำงสรรค์ สำมำรถสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิผล มีทักษะชีวิต ร่วมมือในกำรท�ำงำนกับผู้อื่น ได้เป็นอย่ำงดี จะต้องมีกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง มีล�ำดับขั้นตอน ที่เหมำะสม และสอดคล้องกับพัฒนำกำรของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น โดยมี กระบวนส�ำคัญในกำรจัดกำรเรียนรู้ เรียกว่ำ “บันได 5 ขั้นของกำรพัฒนำผู้เรียน สู่มำตรฐำนสำกล (Five steps for student development)” ได้แก่ 1. การตั้งค�าถาม/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งค�ำถำมอย่ำงมีเหตุผล และสร้ำงสรรค์ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ในกำรตั้งค�ำถำม(Learning to Question) 2. การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Searching for Information) เป็นกำรฝึกแสวงหำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ จำกแหล่งเรียน รู้อย่ำงหลำกหลำย เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หรือจำกกำรฝึกปฏิบัติ ทดลอง เป็นต้น ซึ่งจะส่งเสริมเกิดกำรเรียนรู้ในกำรแสวงหำควำมรู้(LearningtoSearch) 3. การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Formation) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนน�ำควำมรู้และสำรสนเทศที่ได้จำกกำรแสวงหำ ควำมรู้ มำถกแถลง อภิปรำย เพื่อน�ำไปสู่กำรสรุปและสร้ำงองค์ควำมรู้(Learning to Construct) 4. การสื่อสารและน�าเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนน�ำควำมรู้ที่ได้มำสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และมีทักษะในกำรสื่อสำร (Learning to Communicate) 5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เป็นกำรน�ำควำมรู้สู่กำรปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเชื่อมโยงควำมรู้ ไปสู่กำรท�ำประโยชน์ให้กับสังคมและชุมชนรอบตัวตำมวุฒิภำวะของผู้เรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตสำธำรณะและบริกำรสังคม (Learning to Serve) 1. 2. 3. 4. 5.
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 25 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study
: IS) เครื่องมือส�าคัญในการพัฒนา กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมบันได 5 ขั้น สำมำรถด�ำเนินกำรได้ หลำกหลำยวิธีและกำรให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้สำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) นับเป็นวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพวิธีหนึ่งที่ใช้อย่ำง กว้ำงขวำงในกำรพัฒนำผู้เรียน เพรำะเป็นกำรเปิดโลกกว้ำงให้ผู้เรียนได้ศึกษำค้นคว้ำ อย่ำงอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั้งแต่กำรก�ำหนดประเด็นปัญหำ ซึ่งอำจเป็น Public Issue และ Global Issue และด�ำเนินกำรค้นคว้ำแสวงหำ ควำมรู้จำกแหล่งข้อมูลที่หลำกหลำย มีกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ กำรอภิปรำย แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น เพื่อน�ำไปสู่กำรสรุปองค์ควำมรู้ จำกนั้นก็หำวิธีกำร ที่เหมำะสมในกำรสื่อสำรน�ำเสนอให้ผู้อื่นได้รับทรำบ และสำมำรถน�ำควำมรู้ หรือประสบกำรณ์ที่ได้จำกกำรศึกษำค้นคว้ำไปท�ำประโยชน์แก่สำธำรณะ ซึ่ง สิ่งเหล่ำนี้เป็นกระบวนกำรที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภำยใต้สำระ “กำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS)” ซึ่งแบ่งเป็น3 สำระ ประกอบด้วย IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียนก�ำหนดประเด็นปัญหำ ตั้งสมมติฐำน ค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้และฝึกทักษะกำรคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสร้ำงองค์ควำมรู้ IS 2- การสื่อสารและการน�าเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียนน�ำควำมรู้ที่ได้รับ มำพัฒนำวิธีกำรกำรถ่ำยทอด/ สื่อสำรควำมหมำย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ควำมรู้ ด้วยวิธีกำรน�ำเสนอที่เหมำะสม หลำกหลำยรูปแบบ และมีประสิทธิภำพ IS 3- การน�าองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียน น�ำองค์ควำมรู้/ประยุกต์ใช้องค์ควำมรู้ไปสู่ กำรปฏิบัติ หรือน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริกำรสำธำรณะ (Public Service)
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 26 โรงเรียนต้องน�ำสาระ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(Independent Study : IS) ไปสู่การเรียนการสอน ด้วยการจัดท�ำรายวิชา ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางที่ก�ำหนด โดย พิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งอาจแตกต่างกัน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่าง รายละเอียดน�ำเสนอตามเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนที่ก�ำหนด
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 27 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง คุณภำพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยป.1 - 3 ป.4 - 6 ระดับประถมศึกษำ 1. กำรตั้งประเด็น ค�ำถำม/สมมติฐำน อย่ำงมีเหตุผล (Hypothesis Formulation) ›
ตั้งค�ำถำม ข้อสงสัยเกี่ยวกับ สิ่งใกล้ตัว › ตั้งประเด็น/ค�ำถำม เกี่ยวกับ เรื่องรำว ง่ำย ๆ สิ่งแวดล้อม หรือบุคคลใกล้ตัว › ตั้งสมมติฐำน ตำมจินตนำกำร ของตนเองและ/หรือ ตำมควำมรู้ และประสบกำรณ์ ของตน › ตั้งประเด็นค�ำถำม ในเรื่องที่ตนสนใจ โดยเริ่มจำกตัวเอง เชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ › ตั้งสมมติฐำนและ ให้เหตุผล โดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ › ตั้งประเด็น/ค�ำถำม เกี่ยวกับสถำนกำรณ์ ปัจจุบัน และ สังคมโลก › ตั้งสมมติฐำน และให้เหตุผล ที่สนับสนุนหรือ โต้แย้งประเด็น ควำมรู้ โดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ และ มีทฤษฎีรองรับ เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กำรพัฒนำผู้เรียนผ่ำนสำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ครูผู้สอน จะต้องพิจำรณำให้เหมำะสมกับวัยและพัฒนำกำรของผู้เรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้ ควำมยำก-ง่ำยของชิ้นงำน หรือภำระงำนที่ปฏิบัติจะต้องเหมำะสม เป้ำหมำยคุณภำพผู้เรียนแต่ละระดับที่ก�ำหนดนี้ เป็นเป้ำหมำยและ กรอบทิศทำงที่ครูจะใช้ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรวัดและประเมินผล
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 28 เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) คุณภำพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยป.1 - 3
ป.4 - 6 ระดับประถมศึกษำ 2. กำรสืบค้นควำมรู้ จำกแหล่งเรียนรู้ และสำรสนเทศ หรือจำกกำรปฏิบัติ ทดลอง (Searching for Information) › ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำข้อมูล ค�ำตอบจำกบุคคล ใกล้ตัว/แหล่งข้อมูล พื้นฐำนง่ำย ๆ › จัดล�ำดับขั้นตอน ในกำรรวบรวม ข้อมูล › ท�ำงำนบรรลุผล ส�ำเร็จภำยใต้กำร ดูแล ก�ำกับ และ ช่วยเหลือของครู อย่ำงใกล้ชิด › ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำข้อมูล ค�ำตอบจำกสมมติฐำน ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง ค้นคว้ำใกล้ตัว (เช่น บุคคล หนังสือ หนังสือพิมพ์ กำรปฏิบัติทดลอง หรืออื่น ๆ) › ออกแบบ วำงแผน อย่ำงง่ำยในกำร รวบรวมและล�ำดับ ขั้นตอนกำรเก็บ ข้อมูล › ท�ำงำนบรรลุผล ส�ำเร็จภำยใต้กำร ดูแล ก�ำกับ และ ช่วยเหลือของครู อย่ำงใกล้ชิด › ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้ เกี่ยวกับสมมติฐำน ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง เรียนรู้หลำกหลำย (เช่น ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ ทำงออนไลน์ วำรสำร กำรปฏิบัติ ทดลอง หรืออื่น ๆ) › ออกแบบ วำงแผน รวบรวมข้อมูล โดยใช้กระบวนกำร รวบรวมข้อมูลอย่ำง มีประสิทธิภำพ › ใช้กระบวนกำรกลุ่ม ในกำรแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นโดย ใช้ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ › ท�ำงำนบรรลุผล ตำมเป้ำหมำย ภำยในกรอบกำร ด�ำเนินงำนที่ก�ำหนด โดยกำรดูแล ก�ำกับ และช่วยเหลือของ ครูอย่ำงต่อเนื่อง › ศึกษำ ค้นคว้ำ หำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ โดยระบุแหล่งเรียนรู้ ทั้งปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ › ออกแบบ วำงแผน รวบรวมข้อมูล โดยใช้กระบวนกำร รวบรวมข้อมูล อย่ำงมีประสิทธิภำพ › ใช้กระบวนกำร กลุ่มแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นโดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ และ พิจำรณำควำม น่ำเชื่อถือของ แหล่งเรียนรู้อย่ำงมี วิจำรณญำณเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ › ท�ำงำนบรรลุผล ตำมเป้ำหมำยอย่ำง มีประสิทธิภำพ โดยค�ำแนะน�ำของ ครูที่ให้ค�ำปรึกษำ อย่ำงต่อเนื่อง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 29 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) คุณภำพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยป.1 - 3
ป.4 - 6 ระดับประถมศึกษำ 3. กำรสรุปองค์ ควำมรู้ (Knowledge Formation) › บอกสำระส�ำคัญ ของสิ่งที่สนทนำ หรือได้รับฟัง › จัดกระท�ำข้อมูล อย่ำงง่ำยจำก กำรสืบค้น › สรุปประเด็น ควำมรู้จำกข้อคิด ส�ำคัญ › วิเครำะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีกำร ที่เหมำะสม › สังเครำะห์และ สรุปองค์ควำมรู้ อภิปรำยผลและ เปรียบเทียบ เชื่อมโยงควำมรู้ › เสนอแนวคิด วิธีกำรแก้ปัญหำ อย่ำงเป็นระบบ › อธิบำยควำมเป็นมำ ของศำสตร์ หลักกำร และวิธีคิด ในสิ่งที่ศึกษำค้นคว้ำ › วิเครำะห์ ข้อมูล โดยใช้วิธีกำร ที่เหมำะสม › สังเครำะห์และ สรุปองค์ควำมรู้ อภิปรำยผล เปรียบเทียบ เชื่อมโยง ควำมรู้ › เสนอแนวคิด วิธีกำรแก้ปัญหำ อย่ำงเป็นระบบ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 30 เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) คุณภำพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยป.1 - 3
ป.4 - 6 ระดับประถมศึกษำ 4. กำรสื่อสำรและ กำรน�ำเสนอ อย่ำงมีประสิทธิภำพ (Effective Communication) › เขียน หรือวำดภำพ และพูดน�ำเสนอ เพื่อสื่อสำร เรื่องรำวง่ำย ๆ ได้อย่ำงชัดเจน ไม่สับสนโดยใช้สื่อ ที่เหมำะสม › เขียนและน�ำเสนอ เป็นล�ำดับ ขั้นตอน เข้ำใจง่ำยใน รูปแบบเดี่ยว โดยใช้สื่อที่ เหมำะสมกับวัย › อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้ ที่เชื่อถือได้ › เรียบเรียงและ ถ่ำยทอดควำมคิด อย่ำงชัดเจน เป็นระบบ › น�ำเสนอใน รูปแบบเดี่ยว โดยใช้สื่อประกอบ หลำกหลำย › เขียนรำยงำน กำรศึกษำค้นคว้ำ เชิงวิชำกำร ควำมยำว 2,500 ค�ำ › อ้ำงอิงแหล่ง ควำมรู้ที่เชื่อถือได้ อย่ำงหลำกหลำย › เผยแพร่ผลงำน สู่สำธำรณะ › เรียบเรียง และถ่ำยทอด ควำมคิด อย่ำงสร้ำงสรรค์ เป็นระบบ › น�ำเสนอใน รูปแบบเดี่ยว หรือกลุ่ม เป็นภำษำไทย หรือภำษำอังกฤษ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี ที่หลำกหลำย › เขียนรำยงำน กำรศึกษำค้นคว้ำ เชิงวิชำกำร เป็นภำษำไทย ควำมยำว 4,000 ค�ำ หรือภำษำอังกฤษ ควำมยำว 2,000 ค�ำ › อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้ ที่เชื่อถือได้ ทั้งใน และต่ำงประเทศ › ใช้กำรสนทนำ/ วิพำกษ์ผ่ำนสื่อ อีเล็กทรอนิกส์ เช่น e-conference, social media online
แนวทางการจัดการเรียนรูในโรงเรียนมาตรฐานสากลฉบับปรับปรุง 31 หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) คุณภำพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยป.1 - 3
ป.4 - 6 ระดับประถมศึกษำ 5. กำรน�ำควำมรู้ไปใช้ บริกำรสังคม › น�ำควำมรู้และ ข้อคิดที่ได้ไปใช้ กับเพื่อน ๆ และ คนในครอบครัว › สำมำรถเชื่อมโยง ควำมรู้สู่กำรปฏิบัติ ในสถำนกำรณ์ง่ำย ๆ เพื่อประโยชน์ต่อ คนใกล้ชิด และ โรงเรียน › น�ำควำมรู้ไปประยุกต์ สร้ำงสรรค์ประโยชน์ ต่อโรงเรียนและ ชุมชน › เผยแพร่ควำมรู้ และประสบกำรณ์ ที่ได้จำกกำรลงมือ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ ต่อโรงเรียนและ ชุมชน › น�ำควำมรู้ไปประยุกต์ สร้ำงสรรค์ประโยชน์ ต่อสังคมและโลก › เผยแพร่ควำมรู้และ ประสบกำรณ์ที่ได้ จำกกำรลงมือปฏิบัติ เพื่อประโยชน์ต่อ สังคมและโลก