Thai Emergency Medicine Journal 5

taem
taemThai Association for Emergency Medicine
ฉบับที่ 5 ปที่ 2 มกราคม – มีนาคม 2553
                                                                                                 ี




สารบัญ
ข้อมูลเกี่ยวกับ วารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉินไทย..................................................................................2
Editorial / บทบรรณาธิการ.................................................................................................................5
นิ พนธ์ต้นฉบับ / Original Articles........................................................................................................6
    การรับร้ความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉีกขาดก่อนมารับการรักษาของผู้ป่วย
              ู
    ไทยมุสลิมภาคใต้*..........................................................................................................................6
บทฟื้ นฟูวิชาการ Review Articles.....................................................................................................19
    รังสีวินิจฉัยในภาวะฉุกเฉิน: ประโยชน์ของรังสีวินิจฉัยที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพของสาขาวิชา
    เวชศาสตร์ฉกเฉิน.........................................................................................................................19
                  ุ
    ทำางานกู้ชีพอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ.........................................................................................29
Doctor Corner / มุมแพทย์..................................................................................................................34
    ยุคโลกาภิวัตน์ .............................................................................................................................34
Nurse Corner / มุมพยาบาล...............................................................................................................38
    วันวานยังหวานอย่........................................................................................................................38
                         ู
ชมรมศิษย์เก่าแพทย์ฉุกเฉิน.............................................................................................................42
ข้อแนะนำาสำาหรับผ้สงบทความเพื่อลงพิมพ์.....................................................................................44
                     ู ่
ข้อมูลเกียวกับ วารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นไทย
         ่
เจ้าของ          สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นแห่งประเทศไทย
สำานั กงาน       สำานั กงานชัวคราว เลขที่ 2 อาคารศูนย์กูชพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี
                             ่                           ี
                 ถนนพญาไท ตำาบลทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
                 โทรศัพท์.0-2354-8223       โทรสาร.0-2354-8224


วัตถุประสงค์
   1. เพื่อเผยแพร่ความรูู ส่งเสริมการศึกษา และการวิจัยดูานเวชศาสตร์ฉกเฉิ น
                                                                    ุ
   2. เพื่อแลกเปลี่ยนขูอคิดเห็นดูานเวชศาสตร์ฉกเฉิ น และวิชาการที่เกี่ยวขูอง
                                             ุ
   3. เพื่อเป็ นสื่อกลางระหว่างสมาชิกของสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทย และผููสนใจ
                                                       ุ
   4. เพื่อแจูงข่าวสารต่าง ๆ และกิจกรรมของสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทย
                                                         ุ


ที่ปรึกษา ( Advisory Board )
          1) ศาสตราจารย์เกียรติคณนายแพทย์สันต์ หัตถีรัตน์
                                ุ
          2) พลอากาศตรีนายแพทย์บญเลิศ จุลเกียรติ
                                ุ
คณะที่ปรึกษา
   •      ศาสตราจารย์นายแพทย์ไพบูลย์ สุรยะวงศ์ไพศาล
                                        ิ
   •      ศาสตราจารย์นายแพทย์วชิร คชการ
   •      ศาสตราจารย์นายแพทย์อภิชาต จิตต์เจริญ
   •      รองศาสตราจารย์นายแพทย์ภาณุวฒน์ เลิศสิทธิชัย
                                     ั
   •      ผููชวยศาสตราจารย์นายแพทย์ชศักดิ ์ โอกาศเจริญ
              ่                     ู
   •      ผููชวยศาสตราจารย์เล็ก รุ่งเรืองยิ่งยศ
              ่
   •      นาวาอากาศเอกนายแพทย์อภิชาติ พลอยสังวาลย์


บรรณาธิการ ( Editor in Chief )
   แพทย์หญิงรพีพร         โรจน์แสงเรือง
บรรณาธิการร่วม ( Associate Editors )
   •      นาวาอากาศเอกนายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ
   •      แพทย์หญิงยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา
   •      นางสาวอุบล ยี่เฮ็ง
   •      นายจักรี กัวกำาจัด
                     ้
กองบรรณาธิการ ( Editorial Board )
   1. นายแพทย์สมชาย กาญจนสุต
   2. นายแพทย์วทยา ศรีดามา
               ิ
3. พันเอกนายแพทย์ดาบศักดิ ์ กองสมุทร
   4. นายแพทย์ไพโรจน์ เครือกาญจนา
   5. แพทย์หญิงจิตรลดา ลิมจินดาพร
                         ้
   6. แพทย์หญิงทิพา ชาคร
   7. นายแพทย์ครองวงศ์ มุสิกถาวร
   1. นายแพทย์บริบรณ์ เชนธนากิจ
                  ู
   2. นาวาอากาศเอกนายแพทย์ไกรสร วรดิถี
   3. นาวาอากาศโทแพทย์หญิงกรรณยิการ์ วรรณวิมลสุข
   4. นายแพทย์ประสิทธิ ์ วุฒสุทธิเมธาวี
                            ิ
   5. แพทย์หญิงวรณิ สร์ อมรทรงชัย
   6. นายแพทย์พรเลิศ ปลื้มจิตต์มงคล
   7. พันเอกนายแพทย์สรจิต สุนทรธรรม
                     ุ
   8. แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ
   9. นายแพทย์จิรพงษ์ ศุภเสาวภาคย์
   10. รศ.สุดาพรรณ ธัญจิรา
   11. ผศ.ดร.วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร
   12. นาวาอากาศโทหญิง ดร.โสพรรณ โพทะยะ
   13. คุณหญิงเดือนเพ็ญ พึ่งพระเกียรติ
   14. อาจารย์เรวดี ลือพงศ์ลคณา
                            ั
   15. อาจารย์รัชณี วรรณ ดารารัตน์ศิลป์
   16. อาจารย์นิตยา ภูริพนธ์
                         ั
   17. อาจารย์ชลาริน ลิมสกุล
                       ่
   18. อาจารย์กานดา ตุลาธร
   19. อาจารย์วไลพรรณ ชลสุข
   20. อาจารย์นิพา ศรีชูาง
   21. อาจารย์ลดดา ตันเจริญ
               ั
   22. อาจารย์มทนา ศิริโชคปรีชา
               ั
   23. อาจารย์นิรัชรา ก่อกุลดิลก
   24. อาจารย์สุรธร คูมสุภา
                 ี    ุ
   25. อาจารย์ธรพงศ์ กรฤทธิ ์
               ี
   26. นายแพทย์พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ ์
แบบปก
      นายแพทย์วนชนะ ศรีวิไลทนต์
               ิ
ผ้้ด้แลเวบ http://www.taem.or.th
      นายแพทย์จิรพงษ์ ศุภเสาวภาคย์
ผ้้ประสานงาน
   1. นางสาวโสฬสสิริ เทศนะโยธิน สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ น
   2. นางเยาวลักษณ์ คงมาก       สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ น


กำาหนดออก ปี ละ 4 ฉบับ
   1. มกราคม-มีนาคม
   2. เมษายน-มิถนายน
                ุ
   3. กรกฎาคม-กันยายน
   4. ตุลาคม-ธันวาคม
Editorial / บทบรรณาธิการ

สวัสดีปีใหม่พ.ศ.2553 ค่ะ
       ทางสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทยไดูดำาเนิ นการจัดทำาวารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นไทยมา
                         ุ
จนครบ 1 ปี แลูวนะคะ และเรายังมีความตังใจที่จะสานต่อการจัดทำาวารสารกันอย่างต่อเนื่ องต่อไปเรื่อยๆ
                                     ้
อย่างไม่ขาดสาย ทังนี้กไดูแต่หวังว่าวารสารนี้จะสามารถสรรสรูางสิ่งดีๆหรือจุดประกายความรููบางอย่างใหูแก่
                 ้    ็
พี่นูองชาว ER อันจะนำ าไปสู่การพัฒนาสาขาวิชาเวชศาสตร์ฉกเฉิ นของประเทศไทยไดูไม่มากก็นูอย ทางคณะ
                                                      ุ
ผููจัดทำาไดูบรรจุเนื้ อหาวิชาการทังของแพทย์และพยาบาลเพื่อใหูมีการพัฒนากูาวเดินไปพรูอมกัน ทังนี้เพราะ
                                  ้                                                        ้
เราเป็ นชาว ER ที่ร่วมแรงร่วมใจกันทำางานดูวยดีมาตลอด สำาหรับในปี พ.ศ.2553 นี้ทางคณะผููจดทำากำาลังเริ่ม
                                                                                       ั
ดำาเนิ นการเพื่อใหูมีบทความดูาน prehospital care เพิ่มเติมขึนมา โดยอาจขอความร่วมมือจากทาง
                                                            ้
ทีม paramedic ที่อยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆใหูช่วยส่งเนื้ อหามาร่วม ทังนี้เพื่อใหูเวชศาสตร์ฉกเฉิ นของไทยไดู
                                                                 ้                     ุ
พัฒนาร่วมกันอย่างครบวงจรไปทังระบบ ซึ่งถูามีความคืบหนู าอย่างไรก็จะนำ ามาเล่าส่กันฟั งนะคะ
                            ้                                                 ู
       การพัฒนาระบบเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นจำาเป็ นตูองใชูทงความรููและประสบการณ์ในการทำางานอย่างสูง
                                                    ั้
นอกจากนี้ยังจำาตูองมีความสามารถในการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันเพื่อใหูเกิดความร่วมมือในการ
ทำางานกันเป็ นทีม การสรูางเครือข่ายกันในระบบเวชศาสตร์ฉกเฉิ นนั บเป็ นปั จจัยสำาคัญหนึ่ งในการพัฒนา
                                                      ุ
งานดูานนี้ ทางวารสารหวังว่าจะไดูรับความร่วมมือจากชาว ER ทัวประเทศในการส่งบทความมาเพื่อตีพมพ์ใน
                                                          ่                              ิ
วารสาร ทังนี้นับเป็ นวิธหนึ่ งในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ท่ดีและสามารถสานต่อไปสู่การสรูางเครือข่ายร่วม
         ้              ี                                 ี
กันทำางานต่อไปในอนาคต
                                                                                    ดูวยความปรารถนาดี
                                                                              พ.ญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง
                                                                            บรรณาธิการและคณะผููจัดทำา
นิ พนธ์ต้นฉบับ / Original Articles

การรับรู้ความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉีกขาดก่อนมารับ
   การรักษาของผู้ป่วยไทยมุสลิมภาคใตู*
            Perceived Severity and Pre-hospital Lacerated Wound Care Among Thai Muslims
            in South
                                                                                                                   1
                                                                            อับดุลเลาะ แวโดยี พยาบาลวิชาชีพ
                                                                                          Abdulloh Waedoyi, RN
                                                                                                                   2
                                                                                        หทัยรัตน์ แสงจันทร์ พย.ด
                                                                     Hathairat Sangchan RN, Ph.D (Nursing)
                                                                                                                   3
                                                                                             ขนิ ษฐา นาคะ พย.ด
                                                                          Kanittha Naka RN, Ph.D (Nursing)
                                 * สาระนิ พนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (เวชปฏิบัติ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                             1
                                 พยาบาลชำานาญการ แผนกงานอุบัติเหตุ–ฉุกเฉิ น โรงพยาบาลยะรัง อ.ยะรัง จ.ปั ตตานี
                                 1
                                     Resident Nurse, Trauma-Emergency Department, Yarang Hospital, Pattani.
                     2
                         อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
       2
           Instructor, Surgical Nursing Department, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University.
   3
       ผููชวยศาสตราจารย์ ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
           ่
            3
                Assistant Professor, Surgical Nursing Department, Faculty of Nursing, Prince of Songkla
                                                                                                       University.
                                                                            1
                                                                                E-mail: waedoyee@hotmai.com
                                                                                 2
                                                                                     E-mail: hathairat.s@psu.ac.th
บทคัดย่อ
ความเป็ นมา: บาดแผลฉี กขาดเป็ นการบาดเจ็บต่อผิวหนั ง เนื้ อเยื่อ และหลอดเลือด ทำาใหูมีการเสียเลือดและ
มีโอกาสติดเชื้อ ผูป่วยควรไดูรบการปฐมพยาบาลเบื้องตูนก่อนมารับการรักษา
                  ู          ั
วัตถุประสงค์: ศึกษาการรับรูความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของผูู
                           ู
ป่ วยไทยมุสลิมภาคใตู
วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงบรรยาย กล่มตัวอย่างผููป่วยไทยมุสลิมที่มีบาดแผลฉี กขาดและมารับบริการรักษาใน
                                 ุ
แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดภาคใตูตอนล่าง จำานวน 100 ราย เครื่องมือในการวิจย
                                                                                              ั
เป็ นแบบสอบถาม 3 ส่วนไดูแก่ ขูอมูลส่วนบุคคล การรับรููความรุนแรงของบาดแผล และ การปฐมพยาบาล
บาดแผล ตรวจสอบความตรงตามเนื้ อหาโดยผููทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยงแบบวัดซำาของแบบสอบถาม
                                                                        ้
ส่วนที่ 2 และ 3 ไดูค่าความสอดคลูองของการวัดซำาเท่ากับรูอยละ 93.75 และ 99.54 ตามลำาดับ วิเคราะห์
                                             ้
ขูอมูลดูวยสถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัย: กล่มตัวอย่างรับรูความรุนแรงของบาดแผลโดยรวมในระดับมาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85)
               ุ             ู
รูอยละ 78 ทำาการปฐมพยาบาลก่อนมารับการรักษา โดยในการหูามเลือดใชูวธการกดบาดแผลมากที่สด
                                                                ิ ี                ุ
(รูอยละ 56.4) การทำาความสะอาดแผลใชูนำ้าสะอาดมากที่สุด (รูอยละ 30.8) และการปิ ดแผลใชูผูาสะอาด
มากที่สุด (รูอยละ 56.4)
สรุปผล: ผลการวิจัยสามารถนำ าไปใชูประโยชน์ในการส่งเสริมพฤติกรรมการปฐมพยาบาลบาดแผลที่ถูกตูอง
ส่งผลต่อการลดภาวะแทรกซูอน ระยะเวลา และค่าใชูจ่ายในการดูแลรักษา
ABSTRACT
Background: Lacerated wound is the injuries of skin, tissue, and vascular that leads to blood
loss and increases risk to infection. The patients with lacerated wound require pre-hospital
wound care.
Objective: To examine perceived severity and pre-hospital wound care among Thai Muslims in
southern Thailand.
Method: This descriptive research was conducted and one hundred Thai Muslim patients with
lacerated wound who were visiting the emergency room of a community hospital in southern
Thailand comprised the sample. The research instruments composed of 1) Demographic Data
Questionnaire, 2) Perceived Severity of Lacerated Wound Scale, and 3) Pre-hospital Wound
Care Behavior Scale. The content validity was tested by a group of experts. Reliabilities of
Perceived Severity of Lacerated Wound Scale and Pre-hospital Wound Care Behavior Scale
were tested by percentage of test-retest agreement, yielding 93.75 % and 99.54 % respectively.
The data were analyzed using descriptive statistics.
Result: The total score of perceived severity of lacerated wound of the sample was at a high
level (M = 5.05, SD = 1.85). The majority of the sample (78 %) had performed pre-hospital
wound care. More than half of them (56.4 %) had stopped bleeding by direct pressure at the
wound, 30.8 % cleaned the wound using water, and 56.4 % closed the wound by a piece of
cloth.
Conclusion: This finding can be used to promote proper first aid practice after getting wounds
that would decrease complications and decrease duration and cost of health care.


คำาสำาคัญ: การรับรููความรุนแรง, การปฐมพยาบาลบาดแผล, บาดแผลฉี กขาด, ผููป่วยไทยมุสลิมภาคใตู
Key words: Perceived Severity, Pre-hospital Wound Care, Lacerated wound, Thai Muslims
Patients in Southern
บทนำ า
         บาดแผลฉี กขาดเป็ นความเจ็บป่ วยจากอุบัติเหตุท่ีพบบ่อยที่สด ในผููป่วยที่มารับบริการรักษาที่แผนก
                                                                  ุ
อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของทุกโรงพยาบาล โดยอุบัติเหตุจากการจราจรเป็ นสาเหตุอนดับแรกที่ทำาใหูเกิดบาดแผล
                                                                       ั
                                                                  (1)
ฉี กขาด รายงานของศูนย์อำานวยการความปลอดภัยทางถนน                        พบว่า จากการเกิดอุบัติเหตุทางจราจรจำานวน
68,085 ครัง มีผไดูรับบาดเจ็บสาหัส 10,921 ราย และเสียชีวิต 8,333 ราย ผููไดูรับอุบัติเหตุจากการจราจรจึง
          ้    ู
มักมีบาดแผลฉี กขาดและสูญเสียเลือด สาเหตุรองลงมา ไดูแก่ อุบัติเหตุจากการทำางานอาชีพ เนื่ องจาก
ประชากรไทยส่วนใหญ่มอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะในภาคใตูเกษตรกรรมเป็ นอาชีพหลักของประชากร
                   ี
เช่น การทำาสวนยางพารา สวนผลไมู เลียงสัตว์ การทำาประมง เป็ นตูน รองลงมาเป็ นอาชีพรับจูางในโรงงาน
                                  ้
                                               (2)
อุตสาหกรรม เช่น โรงงานแปรรูปไมูยางพารา               จึงอาจไดูรับบาดแผลฉี กขาดจากของมีคมซึ่งเป็ นอุปกรณ์
เครื่องมือเครื่องใชูในการทำางาน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุของการเกิดบาดแผลฉี กขาดของประชากรในเขต 3
จังหวัดชายแดนภาคใตูท่ีแตกต่างจากประชากรในส่วนอื่นของประเทศ คือจากการไดูรับบาดเจ็บจากเหตุการณ์
ความไม่สงบ โดยส่วนใหญ่เป็ นบาดแผลจากอาวุธ เช่น มีด ปื น ระเบิด เป็ นตูน
         บาดแผลฉี กขาดทำาใหูผิวหนั งและเนื้ อเยื่อถูกทำาลาย และหากมีการฉี กขาดของหลอดเลือดก็จะทำาใหูมี
                                                                                         (3)
การสูญเสียเลือดร่วมดูวย บาดแผลฉี กขาดส่วนใหญ่จึงเป็ นแผลที่มโอกาสติดเชื้อสูง
                                                            ี                                  ดังนั ้นผููป่วยที่มี
บาดแผลฉี กขาด ควรไดูรับการปฐมพยาบาลบาดแผลเบื้องตูนก่อนมารับการรักษา โดยการหูามเลือด การ
                                               (4)
ทำาความสะอาดบาดแผล และการปิ ดบาดแผล                  เพื่อลดภาวะแทรกซูอนจากการสูญเสียเลือดและการติดเชื้อ
                                      (5)
และส่งเสริมกระบวนการหายของแผล               นอกจากนี้ จากบริบทของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตู ซึ่งประชากร
ส่วนใหญ่มีสถานที่ประกอบอาชีพที่ตงอยู่หางไกลจากสถานบริการทางดูานสาธารณสุข เช่น ทำาสวนยางบน
                                ั้    ่
ภูเขาสูง ทำาประมงชายฝั่ งทะเล ทำาใหูอาจไม่สะดวกต่อการเดินทางไปรับบริการในภาวะฉุกเฉิ น หรือตูองใชู
เวลาในการเดินทาง ร่วมทังเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ อาจเป็ นอุปสรรคต่อการมารับบริการรักษา
                       ้
บาดแผลในทันทีท่ีเกิดเหตุ ดังนั ้นผููป่วยไทยมุสลิมที่ไดูรับบาดแผลฉี กขาดจึงเป็ นกล่มประชากรที่จำาเป็ นตูอง
                                                                                  ุ
ปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดที่เกิดขึนดูวยตนเองก่อนที่จะมารับการดูแลรักษา
                               ้
         จากประสบการณ์การดูแลผููป่วยที่แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลยะรัง ผูวิจัยพบว่า ผูป่วยบาง
                                                                               ู            ู
รายมีการดูแลบาดแผลก่อนมารับการรักษาที่แตกต่างจากหลักการปฐมพยาบาล เช่น การใชูสารหรือวัสดุ
แปลกปลอมใส่ลงไปในบาดแผล โดยเชื่อว่าจะช่วยหูามเลือดหรือเร่งใหูเนื้ อเยื่อสมานกันเร็วขึ้น ทังนี้อาจเป็ น
                                                                                          ้
วิถปกติของประชากรไทยมุสลิมภาคใตูซ่งมักมีความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่สืบทอดกันมาเป็ นวิธปฏิบัติ
   ี                              ึ                                                          ี
ตามภูมปัญญาทูองถิ่น สอดคลูองกับผลการศึกษาที่ผานมาซึ่งพบว่า ในภาวะเจ็บป่ วยกล่มตัวอย่างไทยมุสลิม
      ิ                                      ่                               ุ
ในจังหวัดชายแดนภาคใตูจะใชูบทบัญญัติทางศาสนามาผสมผสานกับความเชื่อที่สืบต่อกันมาจากบรรพบุรษ
                                                                                        ุ
                   (6)
ในการดูแลสุขภาพ          อย่างไรก็ตาม จากแนวคิดของเลวิน เชื่อว่าการดูแลสุขภาพตนเองเป็ นกระบวนการที่
ประชาชนทัวไปทำาหนู าที่ดวยตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ปู องกันโรค วินิจฉั ยโรคในระยะเริ่มตูน และรักษา
         ่              ู
โรคเบื้องตูน พฤติกรรมการดูแลตนเองของบุคคลเป็ นผลมาจากการเรียนรููและถ่ายทอดทางสังคม นั บตังแต่
                                                                                         ้
การสังเกตตนเอง การรับรููอาการ การใหูความหมายของอาการ การตัดสินเกี่ยวกับความรุนแรง การเลือกวิธี
                                                       (7)
การรักษา และการประเมินผลการรักษาดูวยตนเอง                    ดังนั ้น การรับรููความรุนแรงของบาดแผลจึงอาจเป็ น
ปั จจัยหนึ่ งที่เกี่ยวขูองกับการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของประชาชนไทยมุสลิมภาค
ใตู
การวิจยครังนี้ จึงตูองการศึกษาการรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดและวิธการ
              ั   ้                                                                ี
ปฐมพยาบาลบาดแผลก่อนมารับการรักษาของประชาชนไทยมุสลิมภาคใตู เพื่อช่วยใหูบุคลากรสุขภาพซึ่ง
ปฏิบัตงานในพื้นที่ไดูมความเขูาใจและเป็ นแนวทางในการส่งเสริมใหูประชาชนในพื้นที่ภาคใตูตอนล่างมีการ
      ิ               ี
ปฐมพยาบาลบาดแผลที่ถูกตูอง ซึ่งจะส่งผลต่อการลดภาวะแทรกซูอนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนลดระยะเวลา
และค่าใชูจ่ายในการดูแลรักษา อันเป็ นการเพิ่มคุณภาพการใหูบริการดูานสุขภาพแก่ประชาชน


วัตถุประสงค์
        เพื่อศึกษาการรับรูความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของผููป่วย
                          ู
ไทยมุสลิมภาคใตู


ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
        ประชากรในการศึกษาครังนี้เป็ นผููป่วยไทยมุสลิมอายุ 15 ปี ขนไปที่เขูารับบริการในแผนกอุบัติเหตุ-
                            ้                                    ึ้
ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดทางภาคใตูตอนล่าง จากการไดูรับบาดแผลฉี กขาดบริเวณภายนอกของ
ร่างกาย โดยกำาหนดคุณสมบัตของกล่มตัวอย่างเป็ นผููป่วยที่รูสึกตัว สามารถสื่อสารไดูเขูาใจ และไม่ไดูรับการ
                         ิ     ุ
ปฐมพยาบาลและ/หรือนำ าส่งมารับการรักษาดูวยรถหน่ วยบริการผููป่วยฉุกเฉิ น จำานวน 100 ราย คิดเป็ นรูอย
ละ 25 ของจำานวนผูป่วยที่มารับบริการต่อปี เก็บรวบรวมขูอมูลตังแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ถึง เดือน
                 ู                                         ้
มกราคม พ.ศ. 2552


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
        เครื่องมือที่ใชูในการเก็บรวบรวมขูอมูลในการวิจัยครังนี้เป็ นแบบสอบถาม 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
                                                          ้
        1. ขูอมูลลักษณะส่วนบุคคล ไดูแก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดูเฉลี่ยของ
ครอบครัวต่อเดือน แหล่งที่มาของรายไดู ความเพียงพอของรายไดู สิทธิในการรักษาพยาบาล ประวัติโรค
ประจำาตัว และขูอมูลที่เกี่ยวขูองกับการไดูรับบาดแผลฉี กขาด เช่น กิจกรรมที่ทำาขณะเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุท่ี
ทำาใหูเกิดบาดแผลฉี กขาด ระยะเวลาก่อนที่จะเขูามารับการรักษา ระยะทางของที่เกิดเหตุกับสถานบริการ
สุขภาพ สถานบริการสุขภาพที่ใกลูท่ีสดขณะเกิดเหตุ ประสบการณ์การไดูรับอุบัติเหตุและบาดแผลฉี กขาด
                                  ุ
        2. แบบสอบถามการรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาด ผููวิจยสรูางขึนตามแนวทางการประเมิน
                                                              ั       ้
                                           (5)
ความรุนแรงของบาดแผลของกรมควบคุมโรค ประกอบดูวยขูอคำาถาม 8 ขูอ ไดูแก่ การสูญเสียเลือด โอกาส
ติดเชื้อ อาการปวด ขนาดของบาดแผล การเป็ นอันตรายต่ออวัยวะอื่นๆ ระยะเวลาในการรักษา ผลต่อการทำา
กิจวัตรประจำาวันหรืองานอาชีพ และความรุนแรงของบาดแผลโดยรวม ลักษณะคำาตอบเป็ นเสูนตรงแบ่งระดับ
ความรุนแรง 0 - 10 คะแนน แปลผลคะแนนโดยแบ่งช่วงคะแนนเฉลี่ยเป็ น 4 ระดับ ไดูแก่
        0.00 - 2.50      หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับนู อย
        2.51- 5.00       หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับปานกลาง
        5.01- 7.50       หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับมาก
        7.51- 10.00      หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับมากที่สุด
        3. แบบสอบถามการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษา ผูวิจัยสรูางขึ้นตามหลักการ
                                                                 ู
ปฐมพยาบาลบาดแผลเบื้องตูนสำาหรับประชาชนของสถาบันการแพทย์ดูานอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการ
                                          (4)
แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2545             ซึ่งประกอบดูวย การหูามเลือด การทำาความสะอาดบาดแผล
และการปิ ดบาดแผล รวม 20 ขูอคำาถาม ลักษณะคำาตอบเป็ นการปฏิบัตหรือไม่ปฏิบัติ พรูอมทังใหูระบุเหตุผล
                                                            ิ                     ้
ของการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในขูอนั ้น ๆ
       แบบสอบถามดังกล่าวไดูรับการตรวจความตรงดูานเนื้ อหาจากผููทรงคุณวุฒท่ีมีความเชี่ยวชาญในดูาน
                                                                       ิ
การดูแลบาดแผล จำานวน 3 ท่าน ไดูแก่ แพทย์ประจำาหน่ วยอุบัติเหติ-ฉุกเฉิ น พยาบาลประจำาหน่ วยงาน
อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ น และอาจารย์พยาบาล ผูวิจัยนำ าแบบสอบถามที่ไดูปรับปรุงแลูวไปหาค่าความเที่ยงดูวยวิธี
                                       ู
ทดสอบซำา (test-retest) ในผููป่วยที่มีลกษณะคลูายกล่มตัวอย่างจำานวน 10 ราย โดยเก็บขูอมูลครังแรกเมื่อผูู
       ้                              ั           ุ                                      ้
ป่ วยมาถึงโรงพยาบาล และครังที่สองก่อนผููป่วยกลับบูาน ระยะเวลาห่างกันประมาณ 30 - 60 นาที นำ า
                          ้
ขูอมูลทังสองครังมาคำานวณหาค่ารูอยละของความสอดคลูองในการตอบของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และส่วน
        ้      ้
ที่ 3 ไดูเท่ากับรูอยละ 93.75 และรูอยละ 99.54 ตามลำาดับ


การเก็บรวบรวมข้อม้ล
       การวิจยครังนี้ผ่านการพิจารณาและไดูรบอนุมัติใหูดำาเนิ นการวิจัยจากคณะกรรมการดูานจริยธรรม
             ั   ้                        ั
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และไดูรับอนุญาตใหูเก็บขูอมูลจากผููอำานวยการโรง
พยาบาลและหัวหนู าแผนกอุบัตเหตุฉกเฉิ น โรงพยาบาลยะรัง จังหวัดปั ตตานี ผูวิจัยจึงเก็บรวบรวมขูอมูลโดย
                          ิ    ุ                                       ู
การสอบถามกล่มตัวอย่างเป็ นรายบุคคล
            ุ


การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง
       ผููวิจยชีแจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย อธิบายขันตอนและระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขูอมูล พรูอม
             ั ้                                   ้
ทังชีแจงใหูทราบถึงสิทธิของกล่มตัวอย่างในการตอบรับหรือปฏิเสธการเขูาร่วมการทำาวิจัยโดยไม่มีผลใด ๆ
  ้ ้                        ุ
ต่อการรับบริการรักษาพยาบาล ขูอมูลของกล่มตัวอย่างจะถูกนำ าเสนอในภาพรวมเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ
                                       ุ
เท่านั ้น โดยไม่มีการระบุช่ อหรือขูอมูลเป็ นรายบุคคล หากสมัครใจใหูแสดงความยินยอมดูวยวาจาหรือลงนาม
                            ื
เป็ นลายลักษณ์อกษร
               ั


การวิเคราะห์ข้อม้ล
       วิเคราะห์ขูอมูลส่วนบุคคล คะแนนการรับรููความรุนแรง และคะแนนการปฐมพยาบาลบาดแผล ดูวย
สถิติเชิงบรรยาย ไดูแก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย รูอยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนขูอมูลเชิงคุณภาพจาก
การระบุเหตุผลการปฏิบัตหรือไม่ปฏิบัติการปฐมพยาบาลบาดแผล ใชูการวิเคราะห์เนื้ อหาอย่างง่าย โดยการจัด
                      ิ
กล่มขูอมูล
   ุ


ผลการศึกษา
       กล่มตัวอย่างเป็ นเพศชายรูอยละ 70 อายุเฉลี่ย 32.22 ปี (SD = 14.11) โดยรูอยละ 52 มีอายุ
          ุ
ระหว่าง 15 – 30 ปี และรูอยละ 29 มีอายุระหว่าง 31 – 45 ปี รูอยละ 54 สถานภาพโสด รูอยละ 39
สถานภาพสมรสคู่ รูอยละ 58 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา รูอยละ 62 มีรายไดูเฉลี่ยของครอบครัว 5,000-
10,000 บาท/เดือน รูอยละ 58 มีรายไดูจากการทำางาน และรูอยละ 32 มีรายไดูจากบิดา-มารดาหรือค่สมรส
                                                                                        ู
รูอยละ 66 ใชูสิทธิบัตรทองในการรับบริการ ที่เหลือใชูสิทธิขูาราชการ พ.ร.บ.คูมครองผููประสบภัย และ
                                                                          ุ
ประกันสังคม มีเพียงรูอยละ 3 ที่ตองชำาระค่ารักษาเอง เนื่ องจากไม่สามารถตรวจสอบสิทธิการรักษาและไม่มี
                                ู
เอกสารที่สามารถยืนยันถึงสิทธิของตนเองไดู หรือไม่ไดูนำาบัตรประจำาตัวประชาชนมาดูวย และไม่สามารถ
เขียนชื่อตนเองใหูถูกตูองตามบัตรประชาชนไดู รูอยละ 18 มีโรคประจำาตัว ไดูแก่ ความดันโลหิตสูง และ/หรือ
เบาหวาน
       ผลการศึกษา พบว่า สาเหตุของการไดูรับบาดแผลฉี กขาดมีดงนี้ รูอยละ 60 จากอุบัติเหตุขณะทำางาน
                                                          ั
อาชีพหรือทำางานบูาน รูอยละ 28 จากอุบัติเหตุการจราจร รูอยละ 8 จากการเล่นกีฬา รูอยละ 2 จากการถูก
ทำารูายโดยบุคคลอื่น และรูอยละ 2 จากการถูกทำารูายโดยสัตว์ ดังนั ้นบาดแผลฉี กขาดรูอยละ 59 จึงเกิดจาก
ของมีคม เช่น มีด มีดพรูา กระจก เศษแกูว เป็ นตูน และรูอยละ 28 เกิดจากถูกของแข็งแทง
       กล่มตัวอย่างรูอยละ 82 ใชูเวลาก่อนมารับการรักษาบาดแผลนู อยกว่า 30 นาที โดยเร็วที่สดประมาณ
          ุ                                                                             ุ
5 นาที และชูาที่สุดประมาณ 6 ชัวโมง เฉลี่ย 37.70 นาที (SD = 47.76) รูอยละ 49 มีระยะทางระหว่างที่
                              ่
เกิดเหตุกับโรงพยาบาลมากกว่า 5 กิโลเมตร ระยะทางที่ใกลูท่ีสุดนู อยกว่า 1 กิโลเมตร และไกลที่สุดประมาณ
60 กิโลเมตร ระยะทางเฉลี่ย 6.16 กิโลเมตร (SD = 7.69) สถานบริการสุขภาพที่อย่ใกลูท่ีสุดขณะที่เกิดเหตุ
                                                                          ู
เป็ นโรงพยาบาลจังหวัดรูอยละ 42 โรงพยาบาลอำาเภอรูอยละ 29 และสถานี อนามัยรูอยละ 28 กล่มตัวอย่าง
                                                                                    ุ
รูอยละ 76 ไม่มีประสบการณ์การไดูรบอุบัติเหตุหรือไดูรับบาดแผลฉี กขาด และรูอยละ 66 ไม่มประสบการณ์
                                ั                                                   ี
การเขูารับบริการในหน่ วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิ น
       ผลการวิเคราะห์ขอมูลพบว่า กล่มตัวอย่างรับรูความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดโดยรวมอยู่ในระดับ
                      ู            ุ             ู
มาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85) โดยมีการรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดรายขูออย่ในระดับปานกลาง
                                                                           ู
ถึงมาก เรียงลำาดับขูอจากมากไปนู อย ดังตาราง 1


ตาราง 1 ช่วงคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการรับรู้ความรุนแรงของกล่มตัวอย่าง
                                                                                  ุ
(N = 100)
      การรับรูความรุนแรงของ
              ู                                          ช่วงคะแนน           Χ             ระดับการ
                                                                                    SD
      บาดแผลฉี กขาด                          ที่เป็ นไปไดู   ช่วงคะแนนจริง                   รับรูู
      1. ตูองใชูเวลาในการรักษานาน              0 – 10            1 - 10      5.39   2.44     มาก
      2. มีผลต่อการทำากิจวัตรประจำาวันหรือ      0 - 10           0 - 10      5.28   2.75     มาก
      งานอาชีพ
      3. การสูญเสียเลือด                        0 - 10           1 - 10      5.24   2.41     มาก
      4. ขนาดบาดแผล                             0 - 10           1 - 10      5.21   2.52     มาก
      5. ความปวด                                0 - 10           1 - 10      5.08   2.44     มาก
      6. ความรุนแรงของบาดแผล                    0 - 10           1 - 10      5.04   2.64     มาก
      7. การติดเชื้อ                            0 - 10           0-9         4.83   2.53   ปานกลาง
      8. การเป็ นอันตรายต่ออวัยวะอื่นๆ         0 – 10            0-9         4.30   2.55   ปานกลาง
      โดยรวม                                   0 – 10           0 - 9.38     5.05   1.85     มาก



       ผลการวิเคราะห์ขอมูลพบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 78 ปฏิบัตการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดดูวย
                      ู            ุ                        ิ
ตนเองหรือจากการช่วยเหลือของบุคคลรอบขูาง โดยกล่มตัวอย่างมีวิธการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อน
                                              ุ             ี
มารับการรักษาดังต่อไปนี้ (ตาราง 2)
         1. การหูามเลือด พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ใชูวิธการกดบาดแผลโดยตรง และร่วมกับการใชู
                                  ุ                           ี
ผูาสะอาดปิ ดบาดแผล (รูอยละ 53.85) รูอยละ 12.82 ใชูใบไมู สมุนไพร ปูนขาว ปิ ดบาดแผล รูอยละ 8.97
ใชูวิธยกอวัยวะที่มีบาดแผลใหูสงกว่าระดับหัวใจ และรูอยละ 3.85 ใชูแรงกดลงบนหลอดเลือดใหญ่เหนื อ
      ี                      ู
บาดแผล
         2. การทำาความสะอาดบาดแผล พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 30.77 ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาด รูอยละ
                                           ุ
16.66 ใชูเบตูาดีนใส่แผล รูอยละ 6.41 ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่ และรูอยละ 3.85 ทาดูวย
ยาแดง
         3. การปิ ดบาดแผล พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ใชูผูาสะอาด รูอยละ 29.49 ใชูวัสดุอ่ นๆใน
                                   ุ                                                         ื
การปิ ดบาดแผล เช่น ผูาก๊อส สำาลี พลาสเตอร์ กระดาษอเนกประสงค์


ตาราง 2 จำานวนและรูอยละของกล่มตัวอย่าง จำาแนกตามการปฐมพยาบาลบาดแผลก่อนมารับการรักษา (N
                             ุ
= 100)
        การปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาด                                                จำานวน   รูอยละ
        ไม่ปฏิบัติ                                                                22       22
        ปฏิบัติ (อย่างนู อย 1 พฤติกรรม)                                           78       78
         1. การหูามเลือด
              - กดบาดแผลโดยตรง                                                    44      56.41
              - ใชูผูาสะอาดปิ ดบาดแผล                                             42      53.85
              - ใส่ใบไมู/สมุนไพร/ยาเสูน/ปูนขาว                                    10      12.82
              - การยกอวัยวะที่มบาดแผลใหูสงกว่าระดับหัวใจ
                               ี         ู                                         7      8.97
              - ใชูวัสดุในการหูามเลือด เช่น สำาลี/พลาสเตอร์/นำ้ าแข็ง/นำ้ ามัน     4      5.13
        นวด                                                                        3      3.85
              - การใชูแรงกดลงบนหลอดเลือดใหญ่เหนื อแผล
            2. การทำาความสะอาดบาดแผล                                              24      30.77
               - ลูางบาดแผลดูวยนำ้ าสะอาด                                         13      16.66
               - ทาแผลดูวยเบตูาดีน                                                 5      6.41
               - ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่                               3      3.85
               - ทาแผลดูวยยาแดง
            3. การปิ ดบาดแผล                                                      44      56.41
                - ปิ ดบาดแผลดูวยผูาสะอาด                                          23      23.49
                - ใชูวัสดุปิดบาดแผล เช่น ผูาก๊อส/สำาลี/พลาส
        เตอร์/กระดาษอเนกประสงค์
การอภิปรายผล
       ผลการศึกษาครังนี้พบว่า ลักษณะของกล่มตัวอย่างมีความสอดคลูองกับลักษณะประชากรผููป่วยไทย
                    ้                     ุ
มุสลิมที่มารับบริการรักษาในแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของโรงพยาบาลของรัฐในพื้นที่ภาคใตูตอนล่าง อธิบาย
ไดูจากการที่ประชากรเพศชาย สถานภาพสมรสโสด เป็ นกล่มเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุและไดูรบบาดแผล
                                                 ุ                                ั
มากกว่าประชากรเพศหญิงหรือประชากรวัยอื่นๆ เนื่ องจากการมีกิจกรรมประจำาวันที่ตองเกี่ยวขูองกับการใชู
                                                                            ู
อุปกรณ์ของมีคมในการทำางานอาชีพ การใชูยวดยานพาหนะ และสอดคลูองกับการศึกษาที่ผานมาซึ่งพบว่า
                                                                           ่
กล่มตัวอย่างที่เกิดอุบัติเหตุและมารับการรักษาในแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นมากที่สด เป็ นกล่มตัวอย่างเพศชาย
   ุ                                                                         ุ         ุ
                                           (5), (6), (7)
อยู่ในวัยผูใหญ่ตอนตูน และมีสถานภาพโสด
           ู                                               อย่างไรก็ตาม กล่มตัวอย่างในการศึกษาครังนี้มีระดับ
                                                                           ุ                     ้
                                                                               (5)
การศึกษา และรายไดูเฉลี่ยของครอบครัว สูงกว่าในการศึกษาที่ผ่านมา
       กล่มตัวอย่างรูอยละ 97 มีสิทธิในการไดูรับการรักษา เช่น สิทธิบัตรทอง สิทธิขาราชการ ประกัน
          ุ                                                                     ู
สังคม หรือไดูรับสิทธิตาม พ.ร.บ. คูุมครองผูประสบภัยจากรถ ซึ่งเป็ นไปตามนโยบายของรัฐที่ใหูประชาชน
                                          ู
ทุกคนทมีสทธิท่ีจะเขูาถึงการบริการดูานสุขภาพ โดยเฉพาะในกรณี ท่ีไดูรับอุบัติเหตุ และอาจเป็ นเหตุผลที่
         ิ
ทำาใหูกลุ่มตัวอย่างตัดสินใจมารับบริการเร็วขึน
                                            ้
       การศึกษาครังนี้พบว่า สาเหตุของการไดูรับบาดแผลฉี กขาดอันดับแรก เป็ นการเกิดอุบัติเหตุขณะ
                  ้
ทำางาน (รูอยละ 60) ส่วนสาเหตุจากการจราจรเป็ นสาเหตุอนดับรองลงมา (รูอยละ 28) ซึ่งแตกต่างจากการ
                                                    ั
ศึกษาที่ผ่านมาและผลสรุปการเกิดอุบัติเหตุท่พบว่า อุบติเหตุทางจราจรเป็ นสาเหตุอนดับหนึ่ งที่ทำาใหูผูป่วยมา
                                          ี        ั                         ั
                                                                     (1)
รับบริการการรักษาที่แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของทุกโรงพยาบาล                 ทังนี้สามารถอธิบายไดูจากการศึกษาครัง
                                                                             ้                                ้
นี้ทำาการศึกษาในกล่มตัวอย่างที่อยู่ในพื้นที่จงหวัดชายแดนภาคใตูซ่งอย่ในระหว่างการเกิดเหตุการณ์ความไม่
                   ุ                         ั                  ึ   ู
สงบ ทำาใหูประชาชนไม่มนใจในความปลอดภัยในการเดินทาง ส่วนใหญ่จึงมักประกอบอาชีพในเขตพื้นที่อยู่
                     ั่
อาศัยของตนเองหรือเดินทางเมื่อจำาเป็ นเท่านั ้น การเกิดอุบัติเหตุจากการจราจรจึงพบไดูนูอยกว่าอุบัติเหตุจาก
การทำางาน สาเหตุอ่ น ๆ ที่ทำาใหูเกิดบาดแผลฉี กขาด ไดูแก่ จากการเล่นกีฬา การถูกทำารูายโดยบุคคลอื่น
                   ื
และการถูกทำารูายโดยสัตว์ เป็ นสาเหตุส่วนนู อย โดยเฉพาะการถูกทำารูายร่างกายจากบุคคลอื่น ไม่พบว่าเป็ น
สาเหตุอนดับตูน ๆ ทังนี้เนื่ องจาก การเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบมักจะทำาใหูผูประสบเหตุไดูรับบาดเจ็บ
       ั           ้
รุนแรงมาก ส่วนใหญ่จึงไดูรบการส่งต่อไปรักษาที่โรงพยาบาลประจำาจังหวัดหรือโรงพยาบาลระดับตติยภูมิซ่ง
                         ั                                                                     ึ
มีศกยภาพมากกว่า
   ั
       การรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาด
       ผลการศึกษาพบว่า กล่มตัวอย่างซึ่งเป็ นผูป่วยไทยมุสลิมที่ไดูรับอุบัตเหตุและมีบาดแผลฉี กขาดมีการ
                          ุ                   ู                          ิ
รับรูระดับความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดโดยรวมอย่ในระดับมาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85) เมื่อพิจารณา
     ู                                       ู
รายขูอพบว่า ประเด็นที่กล่มตัวอย่างประเมินว่าส่งผลกระทบในระดับมาก ไดูแก่ การที่ตองใชูระยะเวลาใน
                         ุ                                                     ู
การรักษานาน ส่งผลกระทบต่อการทำากิจวัตรประจำาวันหรือการประกอบอาชีพ มีการสูญเสียเลือด บาดแผลมี
ขนาดใหญ่ และมีอาการปวด ทังนี้สามารถอธิบายไดูจากลักษณะบาดแผลของกล่มตัวอย่าง ซึ่งพบว่า
                         ้                                       ุ
บาดแผลส่วนใหญ่เกิดบริเวณมือ นิ้วมือ แขน ซึ่งเป็ นอวัยวะที่เกี่ยวขูองกับการใชูงานในการประกอบอาชีพ
การเกิดบาดแผลทำาใหูกล่มตัวอย่างไม่สามารถประกอบอาชีพไดูโดยสะดวก หรือบางรายอาจตูองหยุดงาน
                      ุ
ลักษณะแผลมีขนาดเล็กนู อยถึงใหญ่มากกว่า 10 เซนติเมตร ความลึกตังแต่ชันผิวหนั งลงไปถึงชันกลูามเนื้ อ
                                                             ้     ้                 ้
และมีเลือดออกในระดับไหลซึมจนถึงไหลออกตลอดเวลา (active bleeding) นอกจากนั นยังมีอาการปวด
                                                                         ้
และบางรายถึงกับมีอาการเป็ นลม การประสบอุบัติเหตุเกิดการบาดเจ็บและมีบาดแผล ซึ่งกล่มตัวอย่างประสบ
                                                                                 ุ
ดูวยตนเองโดยตรงถึงความปวดจากการที่ผวหนั งและอวัยวะถูกทำาลาย ทำาใหูกล่มตัวอย่างประเมินว่าไดูเกิด
                                   ิ                                 ุ
อันตรายหรือความเสียหายขึนกับตนเอง เป็ นปั จจัยสำาคัญประการหนึ่ งที่กล่มตัวอย่างรับรูว่าบาดแผลที่ฉีกขาด
                        ้                                             ุ             ู
                                                                                                   (7)
ที่เกิดขึนมีความรุนแรงระดับมาก เนื่ องจากอย่ในภาวะที่ร่างกายไดูรับการอันตรายและอาจสูญเสีย และ
         ้                                  ู
สอดคลูองกับการศึกษาที่ผานมาที่พบว่า กล่มตัวอย่างรับรููความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุอยู่
                       ่               ุ
ในระดับสูง โดยกล่มตัวอย่างพิจารณาจากการทำาใหูพิการ เสียชีวิต สูญเสียทรัพย์สน และเป็ นภาระของ
                 ุ                                                         ิ
                    (5), (8), (9)
ครอบครัวและสังคม
        นอกจากนี้ จากผลการศึกษาขูอมูลเกี่ยวกับประสบการณ์การเกิดอุบัติเหตุและเกิดบาดแผลฉี กขาด
พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 76 ไม่มีประสบการณ์ในการเกิดอุบัติเหตุและเกิดบาดแผลฉี กขาด การประสบกับ
         ุ
เหตุการณ์ใหม่ซ่งบุคคลไม่เคยพบหรือประสบมาก่อนทำาใหูไม่ทราบว่าจะเกิดอะไรขึนในอนาคต เป็ นปั จจัยดูาน
               ึ                                                        ้
                                                                                        (7)
สถานการณ์เฉพาะหนู าที่ทำาใหูบคคลประเมินว่าตนเองตกอยู่ในภาวะอันตรายและคุกคาม
                             ุ                                                                จึงอาจเป็ น
เหตุผลอีกประการที่ทำาใหูกล่มตัวอย่างรับรููวาบาดแผลฉี กขาดที่เกิดขึนมีความรุนแรง
                           ุ               ่                      ้
                                                                             (7)
        ผลการศึกษาครังนี้ยังสอดคลูองกับแนวคิดการดูแลตนเองของ เลวิน ที่กล่าวว่าการดูแลตนเองเป็ น
                     ้
พฤติกรรมที่เรียนรูและถ่ายทอดทางสังคม จากการสังเกตตนเอง การรับรูอาการ การใหูความหมายของ
                  ู                                            ู
อาการ การตัดสินใจเกี่ยวกับความรุนแรง การเลือกวิธการรักษา และการประเมินผลการรักษาดูวยตนเอง ซึ่ง
                                                ี
เป็ นการปฏิบัติท่ีประชาชนส่วนใหญ่ของทุกสังคมกระทำาอย่แลูว ในกรณี การศึกษาครังนี้ กล่มตัวอย่างมารับ
                                                     ู                      ้       ุ
บริการรักษาในแผนกผููป่วยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของโรงพยาบาล แสดงใหูเห็นว่ากล่มตัวอย่างไดูประเมินแลูวว่า
                                                                         ุ
บาดแผลที่เกิดขึนมีความรุนแรงเกินกำาลังความสามารถที่จะดูแลรักษาดูวยตนเองไดู จำาเป็ นตูองพึ่งพาระบบ
               ้
บริการสุขภาพที่อยู่ใกลูท่ีสุดโดยเร็ว กล่มตัวอย่างส่วนใหญ่จึงมารับการรักษาโดยทันทีเท่าที่จะทำาไดู ซึ่งเป็ น
                                        ุ
พฤติกรรมการเลือกวิธการรักษาที่สอดคลูองกับการรับรูความรุนแรงในระดับมาก
                   ี                             ู
        พฤติกรรมการดูแลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษา
        ผลการศึกษาพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างถึงรูอยละ 78 ที่ปฏิบัติการปฐมพยาบาลบาดแผลดูวยวิธใดวิธหนึ่ ง
                                                                                       ี    ี
ก่อนมารับการรักษา ซึ่งสามารถอธิบายถึงเหตุผลของการปฏิบัติพฤติกรรมในแต่ละดูานไดูดังต่อไปนี้
        1. การหูามเลือด กล่มตัวอย่างใหูเหตุผลว่า การหูามเลือดเป็ นการทำาใหูเลือดออกนู อยลงหรือหยุด
                           ุ
ไหล ซึ่งสอดคลูองกับแนวคิดการปฐมพยาบาลที่ว่า การหูามเลือดเป็ นวิธการแรกที่ควรปฏิบัติในการ
                                                                ี
                                             (10)
ปฐมพยาบาลผูท่ีมีบาดแผลร่วมกับมีเลือดออก
           ู                                        ส่วนวิธการที่ใชูในการหูามเลือด พบว่า กล่มตัวอย่างเลือก
                                                           ี                                ุ
ใชูวิธการหูามเลือดตามประสบการณ์และความสะดวก โดยใชูการกดบาดแผลโดยตรงมากที่สุด ซึ่งนอกจากจะ
      ี
เป็ นไปตามหลักการหูามเลือดแลูว ยังเป็ นวิธการที่บุคคลจะตอบสนองไดูดูวยตนเองทันทีทนใดก่อนการใชูวิธี
                                          ี                                     ั
การอื่นๆ ส่วนการใชูผูาสะอาดปิ ดแผล ส่วนใหญ่เป็ นพฤติกรรมที่บุคคลอื่นทำาใหู แสดงใหูเห็นว่าในกรณี ท่ี
กล่มตัวอย่างไดูรับบาดเจ็บในขณะที่มีผูชวยเหลือ ก็จะเป็ นกล่มตัวอย่างที่จะไดูรับ
   ุ                                  ่                   ุ                               ปฐมพยาบาลหูาม
เลือดที่มีประสิทธิภาพมากขึน เนื่ องจากการใชูผูาสะอาดปิ ดแผลนอกจากจะช่วยในการหูามเลือดแลูว ยังช่วย
                          ้
                                                                            (3)
ในการยึดปิ ดปากแผลไวูเพื่อบรรเทาอาการปวดและปู องกันการติดเชื้อไดูดวย
                                                                  ู
        กล่มตัวอย่างรูอยละ 12.82 ใส่พืชสมุนไพรลงในบาดแผล เพราะเชื่อว่าสามารถหยุดการไหลของเลือด
           ุ
ไดู ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบของแผล โดยเพื่อนหรือผูช่วยเหลือเป็ นผูใส่ใหู สมุนไพรที่นิยมใชูในการ
                                                 ู               ู
หูามเลือดมากที่สุดคือ ใบขีไก่ ใบสาบเสือ สอดคลูองกับการศึกษาดูานเภสัชวิทยาที่พบว่า ใบขีไก่ ใบสาบเสือ
                          ้                                                           ้
มีสาร sesquiterpene lactone ที่ชวยลดอาการปวด ลดการอักเสบ สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียทังแกรมบวก
                                ่                                                 ้
                                          (11)
และแกรมลบ ทำาใหูเลือดแข็งตัวเร็วขึน
                                  ้              แสดงใหูเห็นว่าประชาชนไทยมุสลิมในพื้นที่ภาคใตู มีความรููเกี่ยว
กับสมุนไพรที่ใชูในการรักษาแผลและเป็ นความรูท่ีไดูรับการถ่ายทอดกันมา ผููท่มีความรูหรือมีประสบการณ์
                                           ู                             ี       ู
ดังกล่าวสามารถนำ ามาใชูกบตนเองหรือช่วยเหลือผููอ่ นไดู อย่างไรก็ตาม กล่มตัวอย่างบางส่วนใชูใบไมูท่ีมอยู่
                        ั                        ื                    ุ                           ี
ในที่ทำางานขณะนั ้นมาใส่บาดแผลหูามเลือด โดยไม่เกี่ยวขูองกับการมีคณสมบัติในการหูามเลือดหรือรักษา
                                                                 ุ
แผลใดๆ เป็ นเพียงการใชูเป็ นวัสดุกดทับลงบนแผลเพื่อหูามเลือดเท่านั ้น เช่น การใชูใบ มะเขือพวงมาขยีใหู
                                                                                                 ้
ละเอียดก่อนนำ าไปปิ ดปากแผลไวู
       2. การทำาความสะอาดบาดแผล กล่มตัวอย่างใหูเหตุผลว่า ลูางทำาความสะอาดเนื่ องจาก กลัวเป็ นโรค
                                   ุ
บาดทะยัก ซึ่งเป็ นการปฏิบัติท่ีถกตูองตามหลักการปฐมพยาบาล เนื่ องจากบาดแผลฉี กขาดเป็ นแผลที่มีโอกาส
                                ู
ปนเปื้ อนเชื้อโรค แผลจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ การทำาความสะอาดแผลเป็ นวิธการดูแลบาดแผลก่อนมา
                                                                              ี
                                                    (8)
รับการรักษาที่ควรส่งเสริมใหูประชาชนปฏิบัติ                แมูว่ากล่มตัวอย่างบางรายใหูเหตุผลว่า ทำาความสะอาด
                                                                   ุ
บาดแผลเนื่ องจากเป็ นช่วงเวลาที่จะตูองละหมาดซึ่งตูองชำาระลูางร่างกายใหูสะอาดก่อน จึงไดูทำาความสะอาด
บาดแผลหรือลูางเลือดออกไปดูวย ก็ถือว่าเป็ นการกระทำาที่สอดคลูองกันและช่วยปู องกันการติดเชื้อของ
บาดแผลที่ควรส่งเสริมใหูมีการปฏิบัติต่อไป
       สำาหรับวิธการทำาความสะอาดบาดแผล กล่มตัวอย่างรูอยละ 30.77 ทำาความสะอาดแผลดูวยการลูาง
                 ี                        ุ
ดูวยนำ้ าสะอาด และรูอยละ 5.41 ลูางดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่ ซึ่งเป็ นวิธท่ถูกตูองตามหลักการ
                                                                           ี ี
            (4)
ปฐมพยาบาล         ส่วนกล่มตัวอย่างบางรายที่ลูางแผลดูวยเบทาดีนหรือยาแดงนั ้น แสดงใหูเห็นว่ากลุ่มตัวอย่าง
                         ุ
บางรายยังขาดความเขูาใจและอาจมีความรูเกี่ยวกับการทำาความสะอาดแผลไม่เพียงพอ เนื่ องจากยาเบทาดีน
                                    ู
หรือยาแดงเป็ นยาที่ใชูสำาหรับการฆ่าเชื้อโรคในบาดแผล ควรใส่ลงในแผลที่ผานการทำาความสะอาดมาก่อน
                                                                     ่
การใส่ยาดังกล่าวลงในบาดแผลที่ยงไม่ไดูทำาความสะอาด อาจทำาใหูเชื้อโรคหมักหมมอย่ภายในบาดแผลเกิด
                              ั                                              ู
                     (3)
การติดเชื้อตามมาไดู        จึงเป็ นขูอมูลที่เจูาหนู าที่สาธารณสุขควรนำ าไปใหูความรูท่ีถกตูองแก่ประชาชนต่อไป
                                                                                   ู ู
       3. การปิ ดบาดแผล กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ปิ ดบาดแผลดูวยผูาสะอาด ซึ่งเป็ นการกระทำาร่วมกับ
                           ุ
การหูามเลือดไปดูวยในคราวเดียวกัน ไม่ไดูปฏิบัตเพื่อวัตถุประสงค์ในการยึดปิ ดบาดแผล ส่วนกล่มตัวอย่าง
                                             ิ                                          ุ
อีกรูอยละ 29.49 ซึ่งปิ ดบาดแผลดูวยผูาก๊อสและพลาสเตอร์ เป็ นการปฏิบัติของเจูาหนู าที่สาธารณสุขของ
สถานี อนามัยซึ่งใหูการดูแลบาดแผลเบื้องตูนก่อนส่งต่อผููป่วยมารับการรักษาที่โรงพยาบาล ไม่ใช่เป็ นการ
ปฏิบัตของกล่มตัวอย่าง จากขูอมูลดังกล่าวพอจะสรุปไดูว่า การปิ ดบาดแผลเป็ นพฤติกรรมที่กล่มตัวอย่างไม่
      ิ     ุ                                                                         ุ
ไดูปฏิบัติดวยตนเอง ทังนี้สามารถอธิบายไดูว่า กล่มตัวอย่างทุกรายตังใจมารับบริการรักษาบาดแผลฉี กขาด
           ู         ้                         ุ                ้
จากสถานบริการสุขภาพ จึงไม่เห็นความจำาเป็ นในการปิ ดบาดแผลก่อนมารับการรักษา นอกจากนี้ ประชาชน
ทัวไปมักไม่ไดูเตรียมอุปกรณ์ทำาแผลไวูท่ีบาน ตูองไปพึ่งบริการจากสถานี อนามัยหรือโรงพยาบาล จึงเป็ น
  ่                                     ู
ขูอมูลที่เจูาหนู าที่สาธารณสุขควรคำานึ งถึงในการใหูความรููเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลแก่ประชาชน
       อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษายังพบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 22 ไม่ปฏิบัติพฤติกรรมการดูแล
                                             ุ
บาดแผลก่อนมารับการรักษา โดยใหูเหตุผลใน 3 ประเด็น ซึ่งแต่ละประเด็นสามารถอธิบายไดูดังต่อไปนี้ คือ
ประเด็นแรก สถานที่ท่เกิดอุบัติเหตุอย่ใกลูสถานบริการ เช่น สถานี อนามัยหรือโรงพยาบาล ทังนี้เนื่ องจาก
                    ี                ู                                               ้
ระยะทาง ระยะเวลาในการเดินทาง ความสะดวกในการเขูารับบริการ รวมถึงค่าใชูจ่ายในการรับบริการ เป็ น
                                                                          (12), (13), (14)
ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรับบริการจากสถานบริการสุขภาพ                                จากการศึกษาในครังนี้ท่ีพบว่า
                                                                                                             ้
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5

Recomendados

Thai Emergency Medicine Journal 4 por
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
3K vistas63 diapositivas
Thai Emergency Medicine Journal no. 1 por
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
3.8K vistas82 diapositivas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน por
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
4.8K vistas94 diapositivas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน por
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
1.7K vistas218 diapositivas
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย por
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยVorawut Wongumpornpinit
2.7K vistas56 diapositivas
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย por
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
4.4K vistas82 diapositivas

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ por
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
1.5K vistas56 diapositivas
Asa kilantham por
Asa kilanthamAsa kilantham
Asa kilanthamPattie Pattie
427 vistas12 diapositivas
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554 por
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
2.8K vistas77 diapositivas
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ por
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
22.4K vistas16 diapositivas
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล por
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
1.5K vistas52 diapositivas
การบริหารการพยาบาล por
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
2.7K vistas162 diapositivas

La actualidad más candente(20)

อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ por Vorawut Wongumpornpinit
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล por Chutchavarn Wongsaree
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree1.5K vistas
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557 por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
Utai Sukviwatsirikul34.1K vistas
Medhub 3 4 52 anchana na ranong por Nithimar Or
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Nithimar Or1.7K vistas
Present msmc por hrmsmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
hrmsmc519 vistas
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557 por Utai Sukviwatsirikul
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
Savikasikkalai 2013 por privategold
Savikasikkalai 2013Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013
privategold308 vistas
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558 por Utai Sukviwatsirikul
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
Utai Sukviwatsirikul4.1K vistas
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21 por Chutchavarn Wongsaree
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke por Utai Sukviwatsirikul
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Utai Sukviwatsirikul3.2K vistas
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน por taem
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
taem866 vistas
โครงสร้างสาธารณสุขไทย por Surasak Tumthong
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong34.8K vistas

Similar a Thai Emergency Medicine Journal 5

Epilepsy por
EpilepsyEpilepsy
EpilepsyLoveis1able Khumpuangdee
3.9K vistas114 diapositivas
Clinical practice guidelines for epilepsy por
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
3.4K vistas114 diapositivas
Thai Emergency Medicine Journal no. 3 por
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
2.3K vistas95 diapositivas
โครงการและกำหนดการ15กพ56 por
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
1.1K vistas4 diapositivas
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย por
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
1.1K vistas82 diapositivas
Simenar Project por
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Projectcodexstudio
245 vistas3 diapositivas

Similar a Thai Emergency Medicine Journal 5(20)

Thai Emergency Medicine Journal no. 3 por taem
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
taem2.3K vistas
โครงการและกำหนดการ15กพ56 por Met Namchu
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
Met Namchu1.1K vistas
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย por DMS Library
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
DMS Library1.1K vistas
Simenar Project por codexstudio
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
codexstudio245 vistas
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557 por Utai Sukviwatsirikul
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
Utai Sukviwatsirikul11.2K vistas
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ por Utai Sukviwatsirikul
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศการขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
Utai Sukviwatsirikul3.1K vistas
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557 por Utai Sukviwatsirikul
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
Utai Sukviwatsirikul1.4K vistas
ประชุมวิชาการครั้งที่14 por karan boobpahom
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
karan boobpahom715 vistas
News phli bv2n3 por KKU Library
News phli bv2n3News phli bv2n3
News phli bv2n3
KKU Library188 vistas
Newsletterphlibv2n3 por Yuwadee
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
Yuwadee371 vistas
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว por Utai Sukviwatsirikul
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
ความรู้การตรวจสุขภาพ por Utai Sukviwatsirikul
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul1.8K vistas
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011 por Amarin Uttama
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Amarin Uttama312 vistas
Heritage ok 05-01-54science por faiiz011132
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
faiiz0111321.5K vistas

Más de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563 por
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
1.1K vistas34 diapositivas
Thai EMS legislation por
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
401 vistas120 diapositivas
ACTEP2014 Agenda por
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
3.4K vistas1 diapositiva
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency por
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
4.7K vistas53 diapositivas
ACTEP2014: What is simulation por
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
3.1K vistas36 diapositivas
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound por
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
4.9K vistas55 diapositivas

Más de taem(20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563 por taem
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
taem1.1K vistas
Thai EMS legislation por taem
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
taem401 vistas
ACTEP2014 Agenda por taem
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
taem3.4K vistas
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency por taem
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
taem4.7K vistas
ACTEP2014: What is simulation por taem
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
taem3.1K vistas
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound por taem
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
taem4.9K vistas
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea... por taem
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
taem1.4K vistas
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014 por taem
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
taem2.6K vistas
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use por taem
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
taem2.5K vistas
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi... por taem
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
taem3.1K vistas
ACTEP2014: Sepsis management has anything change por taem
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
taem3.5K vistas
ACTEP2014: Patient safety & risk management por taem
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
taem2.3K vistas
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI por taem
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
taem2.7K vistas
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014 por taem
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
taem2K vistas
ACTEP2014: Hot zone por taem
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
taem4.3K vistas
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care por taem
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
taem2.1K vistas
ACTEP2014: Fast track por taem
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
taem6.6K vistas
ACTEP2014 ED director por taem
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
taem1.1K vistas
ACTEP2014: ED design por taem
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
taem3.2K vistas
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA por taem
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
taem7.7K vistas

Thai Emergency Medicine Journal 5

  • 1. ฉบับที่ 5 ปที่ 2 มกราคม – มีนาคม 2553 ี สารบัญ ข้อมูลเกี่ยวกับ วารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉินไทย..................................................................................2 Editorial / บทบรรณาธิการ.................................................................................................................5 นิ พนธ์ต้นฉบับ / Original Articles........................................................................................................6 การรับร้ความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉีกขาดก่อนมารับการรักษาของผู้ป่วย ู ไทยมุสลิมภาคใต้*..........................................................................................................................6 บทฟื้ นฟูวิชาการ Review Articles.....................................................................................................19 รังสีวินิจฉัยในภาวะฉุกเฉิน: ประโยชน์ของรังสีวินิจฉัยที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพของสาขาวิชา เวชศาสตร์ฉกเฉิน.........................................................................................................................19 ุ ทำางานกู้ชีพอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ.........................................................................................29 Doctor Corner / มุมแพทย์..................................................................................................................34 ยุคโลกาภิวัตน์ .............................................................................................................................34 Nurse Corner / มุมพยาบาล...............................................................................................................38 วันวานยังหวานอย่........................................................................................................................38 ู ชมรมศิษย์เก่าแพทย์ฉุกเฉิน.............................................................................................................42 ข้อแนะนำาสำาหรับผ้สงบทความเพื่อลงพิมพ์.....................................................................................44 ู ่
  • 2. ข้อมูลเกียวกับ วารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นไทย ่ เจ้าของ สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นแห่งประเทศไทย สำานั กงาน สำานั กงานชัวคราว เลขที่ 2 อาคารศูนย์กูชพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี ่ ี ถนนพญาไท ตำาบลทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์.0-2354-8223 โทรสาร.0-2354-8224 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรูู ส่งเสริมการศึกษา และการวิจัยดูานเวชศาสตร์ฉกเฉิ น ุ 2. เพื่อแลกเปลี่ยนขูอคิดเห็นดูานเวชศาสตร์ฉกเฉิ น และวิชาการที่เกี่ยวขูอง ุ 3. เพื่อเป็ นสื่อกลางระหว่างสมาชิกของสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทย และผููสนใจ ุ 4. เพื่อแจูงข่าวสารต่าง ๆ และกิจกรรมของสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทย ุ ที่ปรึกษา ( Advisory Board ) 1) ศาสตราจารย์เกียรติคณนายแพทย์สันต์ หัตถีรัตน์ ุ 2) พลอากาศตรีนายแพทย์บญเลิศ จุลเกียรติ ุ คณะที่ปรึกษา • ศาสตราจารย์นายแพทย์ไพบูลย์ สุรยะวงศ์ไพศาล ิ • ศาสตราจารย์นายแพทย์วชิร คชการ • ศาสตราจารย์นายแพทย์อภิชาต จิตต์เจริญ • รองศาสตราจารย์นายแพทย์ภาณุวฒน์ เลิศสิทธิชัย ั • ผููชวยศาสตราจารย์นายแพทย์ชศักดิ ์ โอกาศเจริญ ่ ู • ผููชวยศาสตราจารย์เล็ก รุ่งเรืองยิ่งยศ ่ • นาวาอากาศเอกนายแพทย์อภิชาติ พลอยสังวาลย์ บรรณาธิการ ( Editor in Chief ) แพทย์หญิงรพีพร โรจน์แสงเรือง บรรณาธิการร่วม ( Associate Editors ) • นาวาอากาศเอกนายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ • แพทย์หญิงยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา • นางสาวอุบล ยี่เฮ็ง • นายจักรี กัวกำาจัด ้ กองบรรณาธิการ ( Editorial Board ) 1. นายแพทย์สมชาย กาญจนสุต 2. นายแพทย์วทยา ศรีดามา ิ
  • 3. 3. พันเอกนายแพทย์ดาบศักดิ ์ กองสมุทร 4. นายแพทย์ไพโรจน์ เครือกาญจนา 5. แพทย์หญิงจิตรลดา ลิมจินดาพร ้ 6. แพทย์หญิงทิพา ชาคร 7. นายแพทย์ครองวงศ์ มุสิกถาวร 1. นายแพทย์บริบรณ์ เชนธนากิจ ู 2. นาวาอากาศเอกนายแพทย์ไกรสร วรดิถี 3. นาวาอากาศโทแพทย์หญิงกรรณยิการ์ วรรณวิมลสุข 4. นายแพทย์ประสิทธิ ์ วุฒสุทธิเมธาวี ิ 5. แพทย์หญิงวรณิ สร์ อมรทรงชัย 6. นายแพทย์พรเลิศ ปลื้มจิตต์มงคล 7. พันเอกนายแพทย์สรจิต สุนทรธรรม ุ 8. แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ 9. นายแพทย์จิรพงษ์ ศุภเสาวภาคย์ 10. รศ.สุดาพรรณ ธัญจิรา 11. ผศ.ดร.วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร 12. นาวาอากาศโทหญิง ดร.โสพรรณ โพทะยะ 13. คุณหญิงเดือนเพ็ญ พึ่งพระเกียรติ 14. อาจารย์เรวดี ลือพงศ์ลคณา ั 15. อาจารย์รัชณี วรรณ ดารารัตน์ศิลป์ 16. อาจารย์นิตยา ภูริพนธ์ ั 17. อาจารย์ชลาริน ลิมสกุล ่ 18. อาจารย์กานดา ตุลาธร 19. อาจารย์วไลพรรณ ชลสุข 20. อาจารย์นิพา ศรีชูาง 21. อาจารย์ลดดา ตันเจริญ ั 22. อาจารย์มทนา ศิริโชคปรีชา ั 23. อาจารย์นิรัชรา ก่อกุลดิลก 24. อาจารย์สุรธร คูมสุภา ี ุ 25. อาจารย์ธรพงศ์ กรฤทธิ ์ ี 26. นายแพทย์พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ ์ แบบปก นายแพทย์วนชนะ ศรีวิไลทนต์ ิ ผ้้ด้แลเวบ http://www.taem.or.th นายแพทย์จิรพงษ์ ศุภเสาวภาคย์
  • 4. ผ้้ประสานงาน 1. นางสาวโสฬสสิริ เทศนะโยธิน สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ น 2. นางเยาวลักษณ์ คงมาก สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิ น กำาหนดออก ปี ละ 4 ฉบับ 1. มกราคม-มีนาคม 2. เมษายน-มิถนายน ุ 3. กรกฎาคม-กันยายน 4. ตุลาคม-ธันวาคม
  • 5. Editorial / บทบรรณาธิการ สวัสดีปีใหม่พ.ศ.2553 ค่ะ ทางสมาคมเวชศาสตร์ฉกเฉิ นแห่งประเทศไทยไดูดำาเนิ นการจัดทำาวารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นไทยมา ุ จนครบ 1 ปี แลูวนะคะ และเรายังมีความตังใจที่จะสานต่อการจัดทำาวารสารกันอย่างต่อเนื่ องต่อไปเรื่อยๆ ้ อย่างไม่ขาดสาย ทังนี้กไดูแต่หวังว่าวารสารนี้จะสามารถสรรสรูางสิ่งดีๆหรือจุดประกายความรููบางอย่างใหูแก่ ้ ็ พี่นูองชาว ER อันจะนำ าไปสู่การพัฒนาสาขาวิชาเวชศาสตร์ฉกเฉิ นของประเทศไทยไดูไม่มากก็นูอย ทางคณะ ุ ผููจัดทำาไดูบรรจุเนื้ อหาวิชาการทังของแพทย์และพยาบาลเพื่อใหูมีการพัฒนากูาวเดินไปพรูอมกัน ทังนี้เพราะ ้ ้ เราเป็ นชาว ER ที่ร่วมแรงร่วมใจกันทำางานดูวยดีมาตลอด สำาหรับในปี พ.ศ.2553 นี้ทางคณะผููจดทำากำาลังเริ่ม ั ดำาเนิ นการเพื่อใหูมีบทความดูาน prehospital care เพิ่มเติมขึนมา โดยอาจขอความร่วมมือจากทาง ้ ทีม paramedic ที่อยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆใหูช่วยส่งเนื้ อหามาร่วม ทังนี้เพื่อใหูเวชศาสตร์ฉกเฉิ นของไทยไดู ้ ุ พัฒนาร่วมกันอย่างครบวงจรไปทังระบบ ซึ่งถูามีความคืบหนู าอย่างไรก็จะนำ ามาเล่าส่กันฟั งนะคะ ้ ู การพัฒนาระบบเวชศาสตร์ฉุกเฉิ นจำาเป็ นตูองใชูทงความรููและประสบการณ์ในการทำางานอย่างสูง ั้ นอกจากนี้ยังจำาตูองมีความสามารถในการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันเพื่อใหูเกิดความร่วมมือในการ ทำางานกันเป็ นทีม การสรูางเครือข่ายกันในระบบเวชศาสตร์ฉกเฉิ นนั บเป็ นปั จจัยสำาคัญหนึ่ งในการพัฒนา ุ งานดูานนี้ ทางวารสารหวังว่าจะไดูรับความร่วมมือจากชาว ER ทัวประเทศในการส่งบทความมาเพื่อตีพมพ์ใน ่ ิ วารสาร ทังนี้นับเป็ นวิธหนึ่ งในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ท่ดีและสามารถสานต่อไปสู่การสรูางเครือข่ายร่วม ้ ี ี กันทำางานต่อไปในอนาคต ดูวยความปรารถนาดี พ.ญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง บรรณาธิการและคณะผููจัดทำา
  • 6. นิ พนธ์ต้นฉบับ / Original Articles การรับรู้ความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉีกขาดก่อนมารับ การรักษาของผู้ป่วยไทยมุสลิมภาคใตู* Perceived Severity and Pre-hospital Lacerated Wound Care Among Thai Muslims in South 1 อับดุลเลาะ แวโดยี พยาบาลวิชาชีพ Abdulloh Waedoyi, RN 2 หทัยรัตน์ แสงจันทร์ พย.ด Hathairat Sangchan RN, Ph.D (Nursing) 3 ขนิ ษฐา นาคะ พย.ด Kanittha Naka RN, Ph.D (Nursing) * สาระนิ พนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (เวชปฏิบัติ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1 พยาบาลชำานาญการ แผนกงานอุบัติเหตุ–ฉุกเฉิ น โรงพยาบาลยะรัง อ.ยะรัง จ.ปั ตตานี 1 Resident Nurse, Trauma-Emergency Department, Yarang Hospital, Pattani. 2 อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2 Instructor, Surgical Nursing Department, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University. 3 ผููชวยศาสตราจารย์ ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ่ 3 Assistant Professor, Surgical Nursing Department, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University. 1 E-mail: waedoyee@hotmai.com 2 E-mail: hathairat.s@psu.ac.th บทคัดย่อ ความเป็ นมา: บาดแผลฉี กขาดเป็ นการบาดเจ็บต่อผิวหนั ง เนื้ อเยื่อ และหลอดเลือด ทำาใหูมีการเสียเลือดและ มีโอกาสติดเชื้อ ผูป่วยควรไดูรบการปฐมพยาบาลเบื้องตูนก่อนมารับการรักษา ู ั วัตถุประสงค์: ศึกษาการรับรูความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของผูู ู ป่ วยไทยมุสลิมภาคใตู วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงบรรยาย กล่มตัวอย่างผููป่วยไทยมุสลิมที่มีบาดแผลฉี กขาดและมารับบริการรักษาใน ุ แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดภาคใตูตอนล่าง จำานวน 100 ราย เครื่องมือในการวิจย ั เป็ นแบบสอบถาม 3 ส่วนไดูแก่ ขูอมูลส่วนบุคคล การรับรููความรุนแรงของบาดแผล และ การปฐมพยาบาล บาดแผล ตรวจสอบความตรงตามเนื้ อหาโดยผููทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยงแบบวัดซำาของแบบสอบถาม ้ ส่วนที่ 2 และ 3 ไดูค่าความสอดคลูองของการวัดซำาเท่ากับรูอยละ 93.75 และ 99.54 ตามลำาดับ วิเคราะห์ ้ ขูอมูลดูวยสถิติเชิงบรรยาย ผลการวิจัย: กล่มตัวอย่างรับรูความรุนแรงของบาดแผลโดยรวมในระดับมาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85) ุ ู รูอยละ 78 ทำาการปฐมพยาบาลก่อนมารับการรักษา โดยในการหูามเลือดใชูวธการกดบาดแผลมากที่สด ิ ี ุ
  • 7. (รูอยละ 56.4) การทำาความสะอาดแผลใชูนำ้าสะอาดมากที่สุด (รูอยละ 30.8) และการปิ ดแผลใชูผูาสะอาด มากที่สุด (รูอยละ 56.4) สรุปผล: ผลการวิจัยสามารถนำ าไปใชูประโยชน์ในการส่งเสริมพฤติกรรมการปฐมพยาบาลบาดแผลที่ถูกตูอง ส่งผลต่อการลดภาวะแทรกซูอน ระยะเวลา และค่าใชูจ่ายในการดูแลรักษา ABSTRACT Background: Lacerated wound is the injuries of skin, tissue, and vascular that leads to blood loss and increases risk to infection. The patients with lacerated wound require pre-hospital wound care. Objective: To examine perceived severity and pre-hospital wound care among Thai Muslims in southern Thailand. Method: This descriptive research was conducted and one hundred Thai Muslim patients with lacerated wound who were visiting the emergency room of a community hospital in southern Thailand comprised the sample. The research instruments composed of 1) Demographic Data Questionnaire, 2) Perceived Severity of Lacerated Wound Scale, and 3) Pre-hospital Wound Care Behavior Scale. The content validity was tested by a group of experts. Reliabilities of Perceived Severity of Lacerated Wound Scale and Pre-hospital Wound Care Behavior Scale were tested by percentage of test-retest agreement, yielding 93.75 % and 99.54 % respectively. The data were analyzed using descriptive statistics. Result: The total score of perceived severity of lacerated wound of the sample was at a high level (M = 5.05, SD = 1.85). The majority of the sample (78 %) had performed pre-hospital wound care. More than half of them (56.4 %) had stopped bleeding by direct pressure at the wound, 30.8 % cleaned the wound using water, and 56.4 % closed the wound by a piece of cloth. Conclusion: This finding can be used to promote proper first aid practice after getting wounds that would decrease complications and decrease duration and cost of health care. คำาสำาคัญ: การรับรููความรุนแรง, การปฐมพยาบาลบาดแผล, บาดแผลฉี กขาด, ผููป่วยไทยมุสลิมภาคใตู Key words: Perceived Severity, Pre-hospital Wound Care, Lacerated wound, Thai Muslims Patients in Southern
  • 8. บทนำ า บาดแผลฉี กขาดเป็ นความเจ็บป่ วยจากอุบัติเหตุท่ีพบบ่อยที่สด ในผููป่วยที่มารับบริการรักษาที่แผนก ุ อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของทุกโรงพยาบาล โดยอุบัติเหตุจากการจราจรเป็ นสาเหตุอนดับแรกที่ทำาใหูเกิดบาดแผล ั (1) ฉี กขาด รายงานของศูนย์อำานวยการความปลอดภัยทางถนน พบว่า จากการเกิดอุบัติเหตุทางจราจรจำานวน 68,085 ครัง มีผไดูรับบาดเจ็บสาหัส 10,921 ราย และเสียชีวิต 8,333 ราย ผููไดูรับอุบัติเหตุจากการจราจรจึง ้ ู มักมีบาดแผลฉี กขาดและสูญเสียเลือด สาเหตุรองลงมา ไดูแก่ อุบัติเหตุจากการทำางานอาชีพ เนื่ องจาก ประชากรไทยส่วนใหญ่มอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะในภาคใตูเกษตรกรรมเป็ นอาชีพหลักของประชากร ี เช่น การทำาสวนยางพารา สวนผลไมู เลียงสัตว์ การทำาประมง เป็ นตูน รองลงมาเป็ นอาชีพรับจูางในโรงงาน ้ (2) อุตสาหกรรม เช่น โรงงานแปรรูปไมูยางพารา จึงอาจไดูรับบาดแผลฉี กขาดจากของมีคมซึ่งเป็ นอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใชูในการทำางาน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุของการเกิดบาดแผลฉี กขาดของประชากรในเขต 3 จังหวัดชายแดนภาคใตูท่ีแตกต่างจากประชากรในส่วนอื่นของประเทศ คือจากการไดูรับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ ความไม่สงบ โดยส่วนใหญ่เป็ นบาดแผลจากอาวุธ เช่น มีด ปื น ระเบิด เป็ นตูน บาดแผลฉี กขาดทำาใหูผิวหนั งและเนื้ อเยื่อถูกทำาลาย และหากมีการฉี กขาดของหลอดเลือดก็จะทำาใหูมี (3) การสูญเสียเลือดร่วมดูวย บาดแผลฉี กขาดส่วนใหญ่จึงเป็ นแผลที่มโอกาสติดเชื้อสูง ี ดังนั ้นผููป่วยที่มี บาดแผลฉี กขาด ควรไดูรับการปฐมพยาบาลบาดแผลเบื้องตูนก่อนมารับการรักษา โดยการหูามเลือด การ (4) ทำาความสะอาดบาดแผล และการปิ ดบาดแผล เพื่อลดภาวะแทรกซูอนจากการสูญเสียเลือดและการติดเชื้อ (5) และส่งเสริมกระบวนการหายของแผล นอกจากนี้ จากบริบทของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตู ซึ่งประชากร ส่วนใหญ่มีสถานที่ประกอบอาชีพที่ตงอยู่หางไกลจากสถานบริการทางดูานสาธารณสุข เช่น ทำาสวนยางบน ั้ ่ ภูเขาสูง ทำาประมงชายฝั่ งทะเล ทำาใหูอาจไม่สะดวกต่อการเดินทางไปรับบริการในภาวะฉุกเฉิ น หรือตูองใชู เวลาในการเดินทาง ร่วมทังเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ อาจเป็ นอุปสรรคต่อการมารับบริการรักษา ้ บาดแผลในทันทีท่ีเกิดเหตุ ดังนั ้นผููป่วยไทยมุสลิมที่ไดูรับบาดแผลฉี กขาดจึงเป็ นกล่มประชากรที่จำาเป็ นตูอง ุ ปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดที่เกิดขึนดูวยตนเองก่อนที่จะมารับการดูแลรักษา ้ จากประสบการณ์การดูแลผููป่วยที่แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลยะรัง ผูวิจัยพบว่า ผูป่วยบาง ู ู รายมีการดูแลบาดแผลก่อนมารับการรักษาที่แตกต่างจากหลักการปฐมพยาบาล เช่น การใชูสารหรือวัสดุ แปลกปลอมใส่ลงไปในบาดแผล โดยเชื่อว่าจะช่วยหูามเลือดหรือเร่งใหูเนื้ อเยื่อสมานกันเร็วขึ้น ทังนี้อาจเป็ น ้ วิถปกติของประชากรไทยมุสลิมภาคใตูซ่งมักมีความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่สืบทอดกันมาเป็ นวิธปฏิบัติ ี ึ ี ตามภูมปัญญาทูองถิ่น สอดคลูองกับผลการศึกษาที่ผานมาซึ่งพบว่า ในภาวะเจ็บป่ วยกล่มตัวอย่างไทยมุสลิม ิ ่ ุ ในจังหวัดชายแดนภาคใตูจะใชูบทบัญญัติทางศาสนามาผสมผสานกับความเชื่อที่สืบต่อกันมาจากบรรพบุรษ ุ (6) ในการดูแลสุขภาพ อย่างไรก็ตาม จากแนวคิดของเลวิน เชื่อว่าการดูแลสุขภาพตนเองเป็ นกระบวนการที่ ประชาชนทัวไปทำาหนู าที่ดวยตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ปู องกันโรค วินิจฉั ยโรคในระยะเริ่มตูน และรักษา ่ ู โรคเบื้องตูน พฤติกรรมการดูแลตนเองของบุคคลเป็ นผลมาจากการเรียนรููและถ่ายทอดทางสังคม นั บตังแต่ ้ การสังเกตตนเอง การรับรููอาการ การใหูความหมายของอาการ การตัดสินเกี่ยวกับความรุนแรง การเลือกวิธี (7) การรักษา และการประเมินผลการรักษาดูวยตนเอง ดังนั ้น การรับรููความรุนแรงของบาดแผลจึงอาจเป็ น ปั จจัยหนึ่ งที่เกี่ยวขูองกับการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของประชาชนไทยมุสลิมภาค ใตู
  • 9. การวิจยครังนี้ จึงตูองการศึกษาการรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดและวิธการ ั ้ ี ปฐมพยาบาลบาดแผลก่อนมารับการรักษาของประชาชนไทยมุสลิมภาคใตู เพื่อช่วยใหูบุคลากรสุขภาพซึ่ง ปฏิบัตงานในพื้นที่ไดูมความเขูาใจและเป็ นแนวทางในการส่งเสริมใหูประชาชนในพื้นที่ภาคใตูตอนล่างมีการ ิ ี ปฐมพยาบาลบาดแผลที่ถูกตูอง ซึ่งจะส่งผลต่อการลดภาวะแทรกซูอนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนลดระยะเวลา และค่าใชูจ่ายในการดูแลรักษา อันเป็ นการเพิ่มคุณภาพการใหูบริการดูานสุขภาพแก่ประชาชน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรูความรุนแรงและการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษาของผููป่วย ู ไทยมุสลิมภาคใตู ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการศึกษาครังนี้เป็ นผููป่วยไทยมุสลิมอายุ 15 ปี ขนไปที่เขูารับบริการในแผนกอุบัติเหตุ- ้ ึ้ ฉุกเฉิ นโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดทางภาคใตูตอนล่าง จากการไดูรับบาดแผลฉี กขาดบริเวณภายนอกของ ร่างกาย โดยกำาหนดคุณสมบัตของกล่มตัวอย่างเป็ นผููป่วยที่รูสึกตัว สามารถสื่อสารไดูเขูาใจ และไม่ไดูรับการ ิ ุ ปฐมพยาบาลและ/หรือนำ าส่งมารับการรักษาดูวยรถหน่ วยบริการผููป่วยฉุกเฉิ น จำานวน 100 ราย คิดเป็ นรูอย ละ 25 ของจำานวนผูป่วยที่มารับบริการต่อปี เก็บรวบรวมขูอมูลตังแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ถึง เดือน ู ้ มกราคม พ.ศ. 2552 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใชูในการเก็บรวบรวมขูอมูลในการวิจัยครังนี้เป็ นแบบสอบถาม 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ ้ 1. ขูอมูลลักษณะส่วนบุคคล ไดูแก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดูเฉลี่ยของ ครอบครัวต่อเดือน แหล่งที่มาของรายไดู ความเพียงพอของรายไดู สิทธิในการรักษาพยาบาล ประวัติโรค ประจำาตัว และขูอมูลที่เกี่ยวขูองกับการไดูรับบาดแผลฉี กขาด เช่น กิจกรรมที่ทำาขณะเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุท่ี ทำาใหูเกิดบาดแผลฉี กขาด ระยะเวลาก่อนที่จะเขูามารับการรักษา ระยะทางของที่เกิดเหตุกับสถานบริการ สุขภาพ สถานบริการสุขภาพที่ใกลูท่ีสดขณะเกิดเหตุ ประสบการณ์การไดูรับอุบัติเหตุและบาดแผลฉี กขาด ุ 2. แบบสอบถามการรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาด ผููวิจยสรูางขึนตามแนวทางการประเมิน ั ้ (5) ความรุนแรงของบาดแผลของกรมควบคุมโรค ประกอบดูวยขูอคำาถาม 8 ขูอ ไดูแก่ การสูญเสียเลือด โอกาส ติดเชื้อ อาการปวด ขนาดของบาดแผล การเป็ นอันตรายต่ออวัยวะอื่นๆ ระยะเวลาในการรักษา ผลต่อการทำา กิจวัตรประจำาวันหรืองานอาชีพ และความรุนแรงของบาดแผลโดยรวม ลักษณะคำาตอบเป็ นเสูนตรงแบ่งระดับ ความรุนแรง 0 - 10 คะแนน แปลผลคะแนนโดยแบ่งช่วงคะแนนเฉลี่ยเป็ น 4 ระดับ ไดูแก่ 0.00 - 2.50 หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับนู อย 2.51- 5.00 หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับปานกลาง 5.01- 7.50 หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับมาก 7.51- 10.00 หมายถึง การรับรููความความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดอยู่ในระดับมากที่สุด 3. แบบสอบถามการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษา ผูวิจัยสรูางขึ้นตามหลักการ ู
  • 10. ปฐมพยาบาลบาดแผลเบื้องตูนสำาหรับประชาชนของสถาบันการแพทย์ดูานอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการ (4) แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2545 ซึ่งประกอบดูวย การหูามเลือด การทำาความสะอาดบาดแผล และการปิ ดบาดแผล รวม 20 ขูอคำาถาม ลักษณะคำาตอบเป็ นการปฏิบัตหรือไม่ปฏิบัติ พรูอมทังใหูระบุเหตุผล ิ ้ ของการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในขูอนั ้น ๆ แบบสอบถามดังกล่าวไดูรับการตรวจความตรงดูานเนื้ อหาจากผููทรงคุณวุฒท่ีมีความเชี่ยวชาญในดูาน ิ การดูแลบาดแผล จำานวน 3 ท่าน ไดูแก่ แพทย์ประจำาหน่ วยอุบัติเหติ-ฉุกเฉิ น พยาบาลประจำาหน่ วยงาน อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ น และอาจารย์พยาบาล ผูวิจัยนำ าแบบสอบถามที่ไดูปรับปรุงแลูวไปหาค่าความเที่ยงดูวยวิธี ู ทดสอบซำา (test-retest) ในผููป่วยที่มีลกษณะคลูายกล่มตัวอย่างจำานวน 10 ราย โดยเก็บขูอมูลครังแรกเมื่อผูู ้ ั ุ ้ ป่ วยมาถึงโรงพยาบาล และครังที่สองก่อนผููป่วยกลับบูาน ระยะเวลาห่างกันประมาณ 30 - 60 นาที นำ า ้ ขูอมูลทังสองครังมาคำานวณหาค่ารูอยละของความสอดคลูองในการตอบของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และส่วน ้ ้ ที่ 3 ไดูเท่ากับรูอยละ 93.75 และรูอยละ 99.54 ตามลำาดับ การเก็บรวบรวมข้อม้ล การวิจยครังนี้ผ่านการพิจารณาและไดูรบอนุมัติใหูดำาเนิ นการวิจัยจากคณะกรรมการดูานจริยธรรม ั ้ ั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และไดูรับอนุญาตใหูเก็บขูอมูลจากผููอำานวยการโรง พยาบาลและหัวหนู าแผนกอุบัตเหตุฉกเฉิ น โรงพยาบาลยะรัง จังหวัดปั ตตานี ผูวิจัยจึงเก็บรวบรวมขูอมูลโดย ิ ุ ู การสอบถามกล่มตัวอย่างเป็ นรายบุคคล ุ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ผููวิจยชีแจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย อธิบายขันตอนและระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขูอมูล พรูอม ั ้ ้ ทังชีแจงใหูทราบถึงสิทธิของกล่มตัวอย่างในการตอบรับหรือปฏิเสธการเขูาร่วมการทำาวิจัยโดยไม่มีผลใด ๆ ้ ้ ุ ต่อการรับบริการรักษาพยาบาล ขูอมูลของกล่มตัวอย่างจะถูกนำ าเสนอในภาพรวมเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ ุ เท่านั ้น โดยไม่มีการระบุช่ อหรือขูอมูลเป็ นรายบุคคล หากสมัครใจใหูแสดงความยินยอมดูวยวาจาหรือลงนาม ื เป็ นลายลักษณ์อกษร ั การวิเคราะห์ข้อม้ล วิเคราะห์ขูอมูลส่วนบุคคล คะแนนการรับรููความรุนแรง และคะแนนการปฐมพยาบาลบาดแผล ดูวย สถิติเชิงบรรยาย ไดูแก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย รูอยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนขูอมูลเชิงคุณภาพจาก การระบุเหตุผลการปฏิบัตหรือไม่ปฏิบัติการปฐมพยาบาลบาดแผล ใชูการวิเคราะห์เนื้ อหาอย่างง่าย โดยการจัด ิ กล่มขูอมูล ุ ผลการศึกษา กล่มตัวอย่างเป็ นเพศชายรูอยละ 70 อายุเฉลี่ย 32.22 ปี (SD = 14.11) โดยรูอยละ 52 มีอายุ ุ ระหว่าง 15 – 30 ปี และรูอยละ 29 มีอายุระหว่าง 31 – 45 ปี รูอยละ 54 สถานภาพโสด รูอยละ 39 สถานภาพสมรสคู่ รูอยละ 58 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา รูอยละ 62 มีรายไดูเฉลี่ยของครอบครัว 5,000-
  • 11. 10,000 บาท/เดือน รูอยละ 58 มีรายไดูจากการทำางาน และรูอยละ 32 มีรายไดูจากบิดา-มารดาหรือค่สมรส ู รูอยละ 66 ใชูสิทธิบัตรทองในการรับบริการ ที่เหลือใชูสิทธิขูาราชการ พ.ร.บ.คูมครองผููประสบภัย และ ุ ประกันสังคม มีเพียงรูอยละ 3 ที่ตองชำาระค่ารักษาเอง เนื่ องจากไม่สามารถตรวจสอบสิทธิการรักษาและไม่มี ู เอกสารที่สามารถยืนยันถึงสิทธิของตนเองไดู หรือไม่ไดูนำาบัตรประจำาตัวประชาชนมาดูวย และไม่สามารถ เขียนชื่อตนเองใหูถูกตูองตามบัตรประชาชนไดู รูอยละ 18 มีโรคประจำาตัว ไดูแก่ ความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวาน ผลการศึกษา พบว่า สาเหตุของการไดูรับบาดแผลฉี กขาดมีดงนี้ รูอยละ 60 จากอุบัติเหตุขณะทำางาน ั อาชีพหรือทำางานบูาน รูอยละ 28 จากอุบัติเหตุการจราจร รูอยละ 8 จากการเล่นกีฬา รูอยละ 2 จากการถูก ทำารูายโดยบุคคลอื่น และรูอยละ 2 จากการถูกทำารูายโดยสัตว์ ดังนั ้นบาดแผลฉี กขาดรูอยละ 59 จึงเกิดจาก ของมีคม เช่น มีด มีดพรูา กระจก เศษแกูว เป็ นตูน และรูอยละ 28 เกิดจากถูกของแข็งแทง กล่มตัวอย่างรูอยละ 82 ใชูเวลาก่อนมารับการรักษาบาดแผลนู อยกว่า 30 นาที โดยเร็วที่สดประมาณ ุ ุ 5 นาที และชูาที่สุดประมาณ 6 ชัวโมง เฉลี่ย 37.70 นาที (SD = 47.76) รูอยละ 49 มีระยะทางระหว่างที่ ่ เกิดเหตุกับโรงพยาบาลมากกว่า 5 กิโลเมตร ระยะทางที่ใกลูท่ีสุดนู อยกว่า 1 กิโลเมตร และไกลที่สุดประมาณ 60 กิโลเมตร ระยะทางเฉลี่ย 6.16 กิโลเมตร (SD = 7.69) สถานบริการสุขภาพที่อย่ใกลูท่ีสุดขณะที่เกิดเหตุ ู เป็ นโรงพยาบาลจังหวัดรูอยละ 42 โรงพยาบาลอำาเภอรูอยละ 29 และสถานี อนามัยรูอยละ 28 กล่มตัวอย่าง ุ รูอยละ 76 ไม่มีประสบการณ์การไดูรบอุบัติเหตุหรือไดูรับบาดแผลฉี กขาด และรูอยละ 66 ไม่มประสบการณ์ ั ี การเขูารับบริการในหน่ วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิ น ผลการวิเคราะห์ขอมูลพบว่า กล่มตัวอย่างรับรูความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดโดยรวมอยู่ในระดับ ู ุ ู มาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85) โดยมีการรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดรายขูออย่ในระดับปานกลาง ู ถึงมาก เรียงลำาดับขูอจากมากไปนู อย ดังตาราง 1 ตาราง 1 ช่วงคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการรับรู้ความรุนแรงของกล่มตัวอย่าง ุ (N = 100) การรับรูความรุนแรงของ ู ช่วงคะแนน Χ ระดับการ SD บาดแผลฉี กขาด ที่เป็ นไปไดู ช่วงคะแนนจริง รับรูู 1. ตูองใชูเวลาในการรักษานาน 0 – 10 1 - 10 5.39 2.44 มาก 2. มีผลต่อการทำากิจวัตรประจำาวันหรือ 0 - 10 0 - 10 5.28 2.75 มาก งานอาชีพ 3. การสูญเสียเลือด 0 - 10 1 - 10 5.24 2.41 มาก 4. ขนาดบาดแผล 0 - 10 1 - 10 5.21 2.52 มาก 5. ความปวด 0 - 10 1 - 10 5.08 2.44 มาก 6. ความรุนแรงของบาดแผล 0 - 10 1 - 10 5.04 2.64 มาก 7. การติดเชื้อ 0 - 10 0-9 4.83 2.53 ปานกลาง 8. การเป็ นอันตรายต่ออวัยวะอื่นๆ 0 – 10 0-9 4.30 2.55 ปานกลาง โดยรวม 0 – 10 0 - 9.38 5.05 1.85 มาก ผลการวิเคราะห์ขอมูลพบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 78 ปฏิบัตการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดดูวย ู ุ ิ
  • 12. ตนเองหรือจากการช่วยเหลือของบุคคลรอบขูาง โดยกล่มตัวอย่างมีวิธการปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาดก่อน ุ ี มารับการรักษาดังต่อไปนี้ (ตาราง 2) 1. การหูามเลือด พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ใชูวิธการกดบาดแผลโดยตรง และร่วมกับการใชู ุ ี ผูาสะอาดปิ ดบาดแผล (รูอยละ 53.85) รูอยละ 12.82 ใชูใบไมู สมุนไพร ปูนขาว ปิ ดบาดแผล รูอยละ 8.97 ใชูวิธยกอวัยวะที่มีบาดแผลใหูสงกว่าระดับหัวใจ และรูอยละ 3.85 ใชูแรงกดลงบนหลอดเลือดใหญ่เหนื อ ี ู บาดแผล 2. การทำาความสะอาดบาดแผล พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 30.77 ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาด รูอยละ ุ 16.66 ใชูเบตูาดีนใส่แผล รูอยละ 6.41 ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่ และรูอยละ 3.85 ทาดูวย ยาแดง 3. การปิ ดบาดแผล พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ใชูผูาสะอาด รูอยละ 29.49 ใชูวัสดุอ่ นๆใน ุ ื การปิ ดบาดแผล เช่น ผูาก๊อส สำาลี พลาสเตอร์ กระดาษอเนกประสงค์ ตาราง 2 จำานวนและรูอยละของกล่มตัวอย่าง จำาแนกตามการปฐมพยาบาลบาดแผลก่อนมารับการรักษา (N ุ = 100) การปฐมพยาบาลบาดแผลฉี กขาด จำานวน รูอยละ ไม่ปฏิบัติ 22 22 ปฏิบัติ (อย่างนู อย 1 พฤติกรรม) 78 78 1. การหูามเลือด - กดบาดแผลโดยตรง 44 56.41 - ใชูผูาสะอาดปิ ดบาดแผล 42 53.85 - ใส่ใบไมู/สมุนไพร/ยาเสูน/ปูนขาว 10 12.82 - การยกอวัยวะที่มบาดแผลใหูสงกว่าระดับหัวใจ ี ู 7 8.97 - ใชูวัสดุในการหูามเลือด เช่น สำาลี/พลาสเตอร์/นำ้ าแข็ง/นำ้ ามัน 4 5.13 นวด 3 3.85 - การใชูแรงกดลงบนหลอดเลือดใหญ่เหนื อแผล 2. การทำาความสะอาดบาดแผล 24 30.77 - ลูางบาดแผลดูวยนำ้ าสะอาด 13 16.66 - ทาแผลดูวยเบตูาดีน 5 6.41 - ลูางแผลดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่ 3 3.85 - ทาแผลดูวยยาแดง 3. การปิ ดบาดแผล 44 56.41 - ปิ ดบาดแผลดูวยผูาสะอาด 23 23.49 - ใชูวัสดุปิดบาดแผล เช่น ผูาก๊อส/สำาลี/พลาส เตอร์/กระดาษอเนกประสงค์
  • 13. การอภิปรายผล ผลการศึกษาครังนี้พบว่า ลักษณะของกล่มตัวอย่างมีความสอดคลูองกับลักษณะประชากรผููป่วยไทย ้ ุ มุสลิมที่มารับบริการรักษาในแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของโรงพยาบาลของรัฐในพื้นที่ภาคใตูตอนล่าง อธิบาย ไดูจากการที่ประชากรเพศชาย สถานภาพสมรสโสด เป็ นกล่มเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุและไดูรบบาดแผล ุ ั มากกว่าประชากรเพศหญิงหรือประชากรวัยอื่นๆ เนื่ องจากการมีกิจกรรมประจำาวันที่ตองเกี่ยวขูองกับการใชู ู อุปกรณ์ของมีคมในการทำางานอาชีพ การใชูยวดยานพาหนะ และสอดคลูองกับการศึกษาที่ผานมาซึ่งพบว่า ่ กล่มตัวอย่างที่เกิดอุบัติเหตุและมารับการรักษาในแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นมากที่สด เป็ นกล่มตัวอย่างเพศชาย ุ ุ ุ (5), (6), (7) อยู่ในวัยผูใหญ่ตอนตูน และมีสถานภาพโสด ู อย่างไรก็ตาม กล่มตัวอย่างในการศึกษาครังนี้มีระดับ ุ ้ (5) การศึกษา และรายไดูเฉลี่ยของครอบครัว สูงกว่าในการศึกษาที่ผ่านมา กล่มตัวอย่างรูอยละ 97 มีสิทธิในการไดูรับการรักษา เช่น สิทธิบัตรทอง สิทธิขาราชการ ประกัน ุ ู สังคม หรือไดูรับสิทธิตาม พ.ร.บ. คูุมครองผูประสบภัยจากรถ ซึ่งเป็ นไปตามนโยบายของรัฐที่ใหูประชาชน ู ทุกคนทมีสทธิท่ีจะเขูาถึงการบริการดูานสุขภาพ โดยเฉพาะในกรณี ท่ีไดูรับอุบัติเหตุ และอาจเป็ นเหตุผลที่ ิ ทำาใหูกลุ่มตัวอย่างตัดสินใจมารับบริการเร็วขึน ้ การศึกษาครังนี้พบว่า สาเหตุของการไดูรับบาดแผลฉี กขาดอันดับแรก เป็ นการเกิดอุบัติเหตุขณะ ้ ทำางาน (รูอยละ 60) ส่วนสาเหตุจากการจราจรเป็ นสาเหตุอนดับรองลงมา (รูอยละ 28) ซึ่งแตกต่างจากการ ั ศึกษาที่ผ่านมาและผลสรุปการเกิดอุบัติเหตุท่พบว่า อุบติเหตุทางจราจรเป็ นสาเหตุอนดับหนึ่ งที่ทำาใหูผูป่วยมา ี ั ั (1) รับบริการการรักษาที่แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของทุกโรงพยาบาล ทังนี้สามารถอธิบายไดูจากการศึกษาครัง ้ ้ นี้ทำาการศึกษาในกล่มตัวอย่างที่อยู่ในพื้นที่จงหวัดชายแดนภาคใตูซ่งอย่ในระหว่างการเกิดเหตุการณ์ความไม่ ุ ั ึ ู สงบ ทำาใหูประชาชนไม่มนใจในความปลอดภัยในการเดินทาง ส่วนใหญ่จึงมักประกอบอาชีพในเขตพื้นที่อยู่ ั่ อาศัยของตนเองหรือเดินทางเมื่อจำาเป็ นเท่านั ้น การเกิดอุบัติเหตุจากการจราจรจึงพบไดูนูอยกว่าอุบัติเหตุจาก การทำางาน สาเหตุอ่ น ๆ ที่ทำาใหูเกิดบาดแผลฉี กขาด ไดูแก่ จากการเล่นกีฬา การถูกทำารูายโดยบุคคลอื่น ื และการถูกทำารูายโดยสัตว์ เป็ นสาเหตุส่วนนู อย โดยเฉพาะการถูกทำารูายร่างกายจากบุคคลอื่น ไม่พบว่าเป็ น สาเหตุอนดับตูน ๆ ทังนี้เนื่ องจาก การเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบมักจะทำาใหูผูประสบเหตุไดูรับบาดเจ็บ ั ้ รุนแรงมาก ส่วนใหญ่จึงไดูรบการส่งต่อไปรักษาที่โรงพยาบาลประจำาจังหวัดหรือโรงพยาบาลระดับตติยภูมิซ่ง ั ึ มีศกยภาพมากกว่า ั การรับรููความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาด ผลการศึกษาพบว่า กล่มตัวอย่างซึ่งเป็ นผูป่วยไทยมุสลิมที่ไดูรับอุบัตเหตุและมีบาดแผลฉี กขาดมีการ ุ ู ิ รับรูระดับความรุนแรงของบาดแผลฉี กขาดโดยรวมอย่ในระดับมาก ( Χ= 5.05, SD = 1.85) เมื่อพิจารณา ู ู รายขูอพบว่า ประเด็นที่กล่มตัวอย่างประเมินว่าส่งผลกระทบในระดับมาก ไดูแก่ การที่ตองใชูระยะเวลาใน ุ ู การรักษานาน ส่งผลกระทบต่อการทำากิจวัตรประจำาวันหรือการประกอบอาชีพ มีการสูญเสียเลือด บาดแผลมี ขนาดใหญ่ และมีอาการปวด ทังนี้สามารถอธิบายไดูจากลักษณะบาดแผลของกล่มตัวอย่าง ซึ่งพบว่า ้ ุ บาดแผลส่วนใหญ่เกิดบริเวณมือ นิ้วมือ แขน ซึ่งเป็ นอวัยวะที่เกี่ยวขูองกับการใชูงานในการประกอบอาชีพ การเกิดบาดแผลทำาใหูกล่มตัวอย่างไม่สามารถประกอบอาชีพไดูโดยสะดวก หรือบางรายอาจตูองหยุดงาน ุ ลักษณะแผลมีขนาดเล็กนู อยถึงใหญ่มากกว่า 10 เซนติเมตร ความลึกตังแต่ชันผิวหนั งลงไปถึงชันกลูามเนื้ อ ้ ้ ้ และมีเลือดออกในระดับไหลซึมจนถึงไหลออกตลอดเวลา (active bleeding) นอกจากนั นยังมีอาการปวด ้
  • 14. และบางรายถึงกับมีอาการเป็ นลม การประสบอุบัติเหตุเกิดการบาดเจ็บและมีบาดแผล ซึ่งกล่มตัวอย่างประสบ ุ ดูวยตนเองโดยตรงถึงความปวดจากการที่ผวหนั งและอวัยวะถูกทำาลาย ทำาใหูกล่มตัวอย่างประเมินว่าไดูเกิด ิ ุ อันตรายหรือความเสียหายขึนกับตนเอง เป็ นปั จจัยสำาคัญประการหนึ่ งที่กล่มตัวอย่างรับรูว่าบาดแผลที่ฉีกขาด ้ ุ ู (7) ที่เกิดขึนมีความรุนแรงระดับมาก เนื่ องจากอย่ในภาวะที่ร่างกายไดูรับการอันตรายและอาจสูญเสีย และ ้ ู สอดคลูองกับการศึกษาที่ผานมาที่พบว่า กล่มตัวอย่างรับรููความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุอยู่ ่ ุ ในระดับสูง โดยกล่มตัวอย่างพิจารณาจากการทำาใหูพิการ เสียชีวิต สูญเสียทรัพย์สน และเป็ นภาระของ ุ ิ (5), (8), (9) ครอบครัวและสังคม นอกจากนี้ จากผลการศึกษาขูอมูลเกี่ยวกับประสบการณ์การเกิดอุบัติเหตุและเกิดบาดแผลฉี กขาด พบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 76 ไม่มีประสบการณ์ในการเกิดอุบัติเหตุและเกิดบาดแผลฉี กขาด การประสบกับ ุ เหตุการณ์ใหม่ซ่งบุคคลไม่เคยพบหรือประสบมาก่อนทำาใหูไม่ทราบว่าจะเกิดอะไรขึนในอนาคต เป็ นปั จจัยดูาน ึ ้ (7) สถานการณ์เฉพาะหนู าที่ทำาใหูบคคลประเมินว่าตนเองตกอยู่ในภาวะอันตรายและคุกคาม ุ จึงอาจเป็ น เหตุผลอีกประการที่ทำาใหูกล่มตัวอย่างรับรููวาบาดแผลฉี กขาดที่เกิดขึนมีความรุนแรง ุ ่ ้ (7) ผลการศึกษาครังนี้ยังสอดคลูองกับแนวคิดการดูแลตนเองของ เลวิน ที่กล่าวว่าการดูแลตนเองเป็ น ้ พฤติกรรมที่เรียนรูและถ่ายทอดทางสังคม จากการสังเกตตนเอง การรับรูอาการ การใหูความหมายของ ู ู อาการ การตัดสินใจเกี่ยวกับความรุนแรง การเลือกวิธการรักษา และการประเมินผลการรักษาดูวยตนเอง ซึ่ง ี เป็ นการปฏิบัติท่ีประชาชนส่วนใหญ่ของทุกสังคมกระทำาอย่แลูว ในกรณี การศึกษาครังนี้ กล่มตัวอย่างมารับ ู ้ ุ บริการรักษาในแผนกผููป่วยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิ นของโรงพยาบาล แสดงใหูเห็นว่ากล่มตัวอย่างไดูประเมินแลูวว่า ุ บาดแผลที่เกิดขึนมีความรุนแรงเกินกำาลังความสามารถที่จะดูแลรักษาดูวยตนเองไดู จำาเป็ นตูองพึ่งพาระบบ ้ บริการสุขภาพที่อยู่ใกลูท่ีสุดโดยเร็ว กล่มตัวอย่างส่วนใหญ่จึงมารับการรักษาโดยทันทีเท่าที่จะทำาไดู ซึ่งเป็ น ุ พฤติกรรมการเลือกวิธการรักษาที่สอดคลูองกับการรับรูความรุนแรงในระดับมาก ี ู พฤติกรรมการดูแลบาดแผลฉี กขาดก่อนมารับการรักษา ผลการศึกษาพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างถึงรูอยละ 78 ที่ปฏิบัติการปฐมพยาบาลบาดแผลดูวยวิธใดวิธหนึ่ ง ี ี ก่อนมารับการรักษา ซึ่งสามารถอธิบายถึงเหตุผลของการปฏิบัติพฤติกรรมในแต่ละดูานไดูดังต่อไปนี้ 1. การหูามเลือด กล่มตัวอย่างใหูเหตุผลว่า การหูามเลือดเป็ นการทำาใหูเลือดออกนู อยลงหรือหยุด ุ ไหล ซึ่งสอดคลูองกับแนวคิดการปฐมพยาบาลที่ว่า การหูามเลือดเป็ นวิธการแรกที่ควรปฏิบัติในการ ี (10) ปฐมพยาบาลผูท่ีมีบาดแผลร่วมกับมีเลือดออก ู ส่วนวิธการที่ใชูในการหูามเลือด พบว่า กล่มตัวอย่างเลือก ี ุ ใชูวิธการหูามเลือดตามประสบการณ์และความสะดวก โดยใชูการกดบาดแผลโดยตรงมากที่สุด ซึ่งนอกจากจะ ี เป็ นไปตามหลักการหูามเลือดแลูว ยังเป็ นวิธการที่บุคคลจะตอบสนองไดูดูวยตนเองทันทีทนใดก่อนการใชูวิธี ี ั การอื่นๆ ส่วนการใชูผูาสะอาดปิ ดแผล ส่วนใหญ่เป็ นพฤติกรรมที่บุคคลอื่นทำาใหู แสดงใหูเห็นว่าในกรณี ท่ี กล่มตัวอย่างไดูรับบาดเจ็บในขณะที่มีผูชวยเหลือ ก็จะเป็ นกล่มตัวอย่างที่จะไดูรับ ุ ่ ุ ปฐมพยาบาลหูาม เลือดที่มีประสิทธิภาพมากขึน เนื่ องจากการใชูผูาสะอาดปิ ดแผลนอกจากจะช่วยในการหูามเลือดแลูว ยังช่วย ้ (3) ในการยึดปิ ดปากแผลไวูเพื่อบรรเทาอาการปวดและปู องกันการติดเชื้อไดูดวย ู กล่มตัวอย่างรูอยละ 12.82 ใส่พืชสมุนไพรลงในบาดแผล เพราะเชื่อว่าสามารถหยุดการไหลของเลือด ุ ไดู ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบของแผล โดยเพื่อนหรือผูช่วยเหลือเป็ นผูใส่ใหู สมุนไพรที่นิยมใชูในการ ู ู หูามเลือดมากที่สุดคือ ใบขีไก่ ใบสาบเสือ สอดคลูองกับการศึกษาดูานเภสัชวิทยาที่พบว่า ใบขีไก่ ใบสาบเสือ ้ ้
  • 15. มีสาร sesquiterpene lactone ที่ชวยลดอาการปวด ลดการอักเสบ สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียทังแกรมบวก ่ ้ (11) และแกรมลบ ทำาใหูเลือดแข็งตัวเร็วขึน ้ แสดงใหูเห็นว่าประชาชนไทยมุสลิมในพื้นที่ภาคใตู มีความรููเกี่ยว กับสมุนไพรที่ใชูในการรักษาแผลและเป็ นความรูท่ีไดูรับการถ่ายทอดกันมา ผููท่มีความรูหรือมีประสบการณ์ ู ี ู ดังกล่าวสามารถนำ ามาใชูกบตนเองหรือช่วยเหลือผููอ่ นไดู อย่างไรก็ตาม กล่มตัวอย่างบางส่วนใชูใบไมูท่ีมอยู่ ั ื ุ ี ในที่ทำางานขณะนั ้นมาใส่บาดแผลหูามเลือด โดยไม่เกี่ยวขูองกับการมีคณสมบัติในการหูามเลือดหรือรักษา ุ แผลใดๆ เป็ นเพียงการใชูเป็ นวัสดุกดทับลงบนแผลเพื่อหูามเลือดเท่านั ้น เช่น การใชูใบ มะเขือพวงมาขยีใหู ้ ละเอียดก่อนนำ าไปปิ ดปากแผลไวู 2. การทำาความสะอาดบาดแผล กล่มตัวอย่างใหูเหตุผลว่า ลูางทำาความสะอาดเนื่ องจาก กลัวเป็ นโรค ุ บาดทะยัก ซึ่งเป็ นการปฏิบัติท่ีถกตูองตามหลักการปฐมพยาบาล เนื่ องจากบาดแผลฉี กขาดเป็ นแผลที่มีโอกาส ู ปนเปื้ อนเชื้อโรค แผลจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ การทำาความสะอาดแผลเป็ นวิธการดูแลบาดแผลก่อนมา ี (8) รับการรักษาที่ควรส่งเสริมใหูประชาชนปฏิบัติ แมูว่ากล่มตัวอย่างบางรายใหูเหตุผลว่า ทำาความสะอาด ุ บาดแผลเนื่ องจากเป็ นช่วงเวลาที่จะตูองละหมาดซึ่งตูองชำาระลูางร่างกายใหูสะอาดก่อน จึงไดูทำาความสะอาด บาดแผลหรือลูางเลือดออกไปดูวย ก็ถือว่าเป็ นการกระทำาที่สอดคลูองกันและช่วยปู องกันการติดเชื้อของ บาดแผลที่ควรส่งเสริมใหูมีการปฏิบัติต่อไป สำาหรับวิธการทำาความสะอาดบาดแผล กล่มตัวอย่างรูอยละ 30.77 ทำาความสะอาดแผลดูวยการลูาง ี ุ ดูวยนำ้ าสะอาด และรูอยละ 5.41 ลูางดูวยนำ้ าสะอาดและฟอกดูวยสบู่ ซึ่งเป็ นวิธท่ถูกตูองตามหลักการ ี ี (4) ปฐมพยาบาล ส่วนกล่มตัวอย่างบางรายที่ลูางแผลดูวยเบทาดีนหรือยาแดงนั ้น แสดงใหูเห็นว่ากลุ่มตัวอย่าง ุ บางรายยังขาดความเขูาใจและอาจมีความรูเกี่ยวกับการทำาความสะอาดแผลไม่เพียงพอ เนื่ องจากยาเบทาดีน ู หรือยาแดงเป็ นยาที่ใชูสำาหรับการฆ่าเชื้อโรคในบาดแผล ควรใส่ลงในแผลที่ผานการทำาความสะอาดมาก่อน ่ การใส่ยาดังกล่าวลงในบาดแผลที่ยงไม่ไดูทำาความสะอาด อาจทำาใหูเชื้อโรคหมักหมมอย่ภายในบาดแผลเกิด ั ู (3) การติดเชื้อตามมาไดู จึงเป็ นขูอมูลที่เจูาหนู าที่สาธารณสุขควรนำ าไปใหูความรูท่ีถกตูองแก่ประชาชนต่อไป ู ู 3. การปิ ดบาดแผล กล่มตัวอย่างรูอยละ 56.41 ปิ ดบาดแผลดูวยผูาสะอาด ซึ่งเป็ นการกระทำาร่วมกับ ุ การหูามเลือดไปดูวยในคราวเดียวกัน ไม่ไดูปฏิบัตเพื่อวัตถุประสงค์ในการยึดปิ ดบาดแผล ส่วนกล่มตัวอย่าง ิ ุ อีกรูอยละ 29.49 ซึ่งปิ ดบาดแผลดูวยผูาก๊อสและพลาสเตอร์ เป็ นการปฏิบัติของเจูาหนู าที่สาธารณสุขของ สถานี อนามัยซึ่งใหูการดูแลบาดแผลเบื้องตูนก่อนส่งต่อผููป่วยมารับการรักษาที่โรงพยาบาล ไม่ใช่เป็ นการ ปฏิบัตของกล่มตัวอย่าง จากขูอมูลดังกล่าวพอจะสรุปไดูว่า การปิ ดบาดแผลเป็ นพฤติกรรมที่กล่มตัวอย่างไม่ ิ ุ ุ ไดูปฏิบัติดวยตนเอง ทังนี้สามารถอธิบายไดูว่า กล่มตัวอย่างทุกรายตังใจมารับบริการรักษาบาดแผลฉี กขาด ู ้ ุ ้ จากสถานบริการสุขภาพ จึงไม่เห็นความจำาเป็ นในการปิ ดบาดแผลก่อนมารับการรักษา นอกจากนี้ ประชาชน ทัวไปมักไม่ไดูเตรียมอุปกรณ์ทำาแผลไวูท่ีบาน ตูองไปพึ่งบริการจากสถานี อนามัยหรือโรงพยาบาล จึงเป็ น ่ ู ขูอมูลที่เจูาหนู าที่สาธารณสุขควรคำานึ งถึงในการใหูความรููเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลแก่ประชาชน อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษายังพบว่า กล่มตัวอย่างรูอยละ 22 ไม่ปฏิบัติพฤติกรรมการดูแล ุ บาดแผลก่อนมารับการรักษา โดยใหูเหตุผลใน 3 ประเด็น ซึ่งแต่ละประเด็นสามารถอธิบายไดูดังต่อไปนี้ คือ ประเด็นแรก สถานที่ท่เกิดอุบัติเหตุอย่ใกลูสถานบริการ เช่น สถานี อนามัยหรือโรงพยาบาล ทังนี้เนื่ องจาก ี ู ้ ระยะทาง ระยะเวลาในการเดินทาง ความสะดวกในการเขูารับบริการ รวมถึงค่าใชูจ่ายในการรับบริการ เป็ น (12), (13), (14) ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรับบริการจากสถานบริการสุขภาพ จากการศึกษาในครังนี้ท่ีพบว่า ้