680 1

Tee Plerngpiz
Tee Plerngpizเจ้าของกิจการ en Tezz X OverZ

-

การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีปÉลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุใน 
ทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิต: ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานของ 
บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) 
Perception of Safety Working Environment and Behaviors in Using Accident Prevention 
Equipments at Workplace of Production Line: A Case for Employees of 
Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd. 
ชูชาติ จุลพันธ์1 มานพ ชูนิล2 อารี เพชรผุด3 
Abstract 
Purposes of this study are to find the levels of safety working environment and behaviors of using accident prevention 
equipments at workplace of production line of Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd., to do the comparison study the 
personal data of subjects that might affect the perception of safety working environment and behaviors of using accident 
prevention equipments and to search for the relationships between the safety working environment and behaviors of using 
accident prevention equipment. Subjects were 579 employees of Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd. Data were 
collected by questionnaires and analyzed statistically by computer programs. 
Results could be summarized as follows (1) subjects showed moderate levels of perceptions and behaviors (2) the 
differences between sex, job section and accident experiences affected perception significantly at .03 - .000 (3) Age, job 
section and accident experience affected behaviors of using accident prevention equipment with a significant difference at 
.05 - .000 (4) The relationships between perceptions and behaviors as a whole and parts were positive highly significance 
at .01 - .000 
Keywords : perception of safety working environment, behaviors of using accident prevention equipments 
บทคัดย่อ 
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัÊงนีÊเพืÉอศึกษาระดับสภาพแวดล้อมการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตของบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) เพืÉอศึกษา 
เปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างซึÉงมีผลกระทบต่อการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและ 
พฤติกรรมกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ เพืÉอตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉ 
ปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงาน 
บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) จำนวน 579 คน ข้อมูลเก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามและการวิเคราะห์ 
ข้อมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติทีÉใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถีÉ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีÉย ส่วนเบีÉยงเบนมาตรฐาน การ 
ทดสอบ t-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสัมประสิทธิÍสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนีÊ (1) กลุ่ม 
ตัวอย่างมีระดับการรับรู้และพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ความแตกต่างกันทางด้านเพศ กลุ่มงาน ประสบการณ์การ 
ได้รับอุบัติเหตุมีผลกระทบต่อการรับรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03 - .000 (3) อายุ กลุ่มงาน และประสบการณ์การ 
1นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
2รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
3รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์พิเศษ ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับอุบัติเหตุมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .05 - .000 (4) 
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และพฤติกรรมโดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยทางสถิติทีÉ 
ระดับ .01 - .000 
คำสำคัญ : การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย, พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงาน 
1. บทนำ 
เนืÉองจากปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานใน 
สถานประกอบกิจการหรือโรงงานอุตสาหกรรมมักจะเกิด 
ขึÊนอยู่เป็นประจำ ก่อให้เกิดความเสียหายมากมาย 
ผลกระทบทีÉเกิดจากอุบัติเหตุต่อคนงาน เช่น เจ็บป่วยหรือ 
บาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ หรือตาย ไม่สามารถจะทำงาน 
ได้เหมือนเดิม ขาดรายได้ เสียขวัญหรือหวาดกลัว เสีย 
โอกาสในการใช้ชีวิตอย่างเต็มทีÉ ผลกระทบต่อนายจ้าง 
เช่น ผลผลิตลดลง คุณภาพของสินค้าหรือบริการตํÉาลง เสีย 
ค่าล่วงเวลา ต้องซ่อมแซมหรือเปลีÉยนเครืÉองจักร อุปกรณ์ 
ต่างๆ เสียค่ารักษาพยาบาล เสียเวลาช่วยเหลือคนเจ็บ 
เสียเวลาสอบสวนหรือรายงานอุบัติเหตุ ต้องฝึกอบรมหรือ 
สอนงานให้กับพนักงานใหม่ เสียชืÉอเสียง และมี 
ผลกระทบต่อแรงงานสัมพันธ์ ผลกระทบต่อครอบครัว 
เช่น สร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กับครอบครัว สูญเสีย 
รายได้และเป็นภาระของครอบครัว ช่วยเหลืองานบ้านได้ 
น้อยลง ผลกระทบต่อส่วนรวม เช่น สูญเสียทรัพยากร 
สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สูญเสียประสิทธิภาพในการ 
ผลิต สูญเสียงบประมาณ เป็นต้น ถึงแม้ว่าทางโรงงาน 
อุตสาหกรรมจะมีนโยบายป้องกันอย่างต่อเนืÉองจากทาง 
ภาครัฐและเอกชนก็ตาม แต่พนักงานก็มิได้ตระหนักถึง 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานมากนัก 
ดังนัÊนผู้วิจัยจึงสนใจทีÉจะศึกษาเรืÉองการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิตเพืÉอนำข้อมูลทีÉได้จากการวิจัยเสนอให้บริษัท 
ไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขสภาพสิÉงแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยและเป็นแนวทางในการฝึกอบรมให้เกิด 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานและ 
เป็นแนวทางในการศึกษาต่อไป โดยใช้ประชากรและกลุ่ม 
2 
ตัวอย่างจากบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด 
(มหาชน) 
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
1. เพืÉอศึกษาระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิต 
2. เพืÉอเปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตจำแนกตาม 
ปัจจัยส่วนบุคคล 
3. เพืÉอศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงาน 
3. สมมติฐานการวิจัย 
1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา 
สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน 
ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุในการทำงานมีผลต่อการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย 
2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา 
สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน 
ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุในการทำงานมีผลต่อ 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน 
ของพนักงานสายการผลิต 
3. การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยมี 
ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต
4. การดำเนินการวิจัย 
4.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างและเครืÉองมือทีÉใช้ 
3 
ประชากรทีÉใช้ในการวิจัยครัÊงนีÊคือ พนักงานของ 
บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด(มหาชน) จำนวน 
597 คน ซึÉงผู้วิจัยได้เก็บตามจำนวนพนักงานจริงทัÊงหมด 
ประชากรกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มงาน ดังนีÊ 
กลุ่มงาน A หมายถึง แผนกเตรียมเนืÊอกระเบืÊอง 
แผนกปัÊมกระเบืÊอง และแผนกเคลือบกระเบืÊอง มี 
ประชากรจำนวน 239 คน 
กลุ่มงาน B หมายถึง แผนกเตาเผา แผนกคัดเลือก 
บรรจุ และแผนกลวดพิมพ์ลายพิเศษ มีประชากรจำนวน 
165 คน มีประชากรจำนวน 165 คน 
กลุ่มงาน C หมายถึง แผนกขัดกระเบืÊอง แผนก 
เตรียมนํÊายาเคลือบและแผนกควบคุมคุณภาพ มีประชากร 
จำนวน 175 คน 
4.2 เครืÉองมือทีÉใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึÉง 
แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนีÊ 
ตอนทีÉ 1 คำถามเกีÉยวกับปัจจัยส่วนบุคคล มี 
จำนวน 7 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ 
สมรส อายุงาน กลุ่มงาน และมีประสบการณ์ได้รับ 
อุบัติเหตุ 
ตอนทีÉ 2 คำถามเกีÉยวกับการรับรู้สภาพแวดล้อม 
ในการทำงานทีÉปลอดภัย มีจำนวน 30 ข้อ โดยแบ่งเป็น 3 
ด้าน คือ ด้านสิÉงแวดล้อมทางกายภาพ ด้านสิÉงแวดล้อม 
ทางเคมีและด้านสิÉงแวดล้อมชีวภาพ ด้านล่ะ 10 ข้อ 
ตอนทีÉ 3 คำถามเกีÉยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีจำนวน 48 ข้อ โดย 
แบ่งเป็น 6 ด้าน คือ การป้องกันส่วนศีรษะ การป้องกัน 
สายตาและบริเวณใบหน้า การป้องกันเสีย การป้องกัน 
ระบบทางเดินหายใจ การป้องกันส่วนลำตัว การป้องกัน 
มือและเท้า ด้านละ 8 ข้อ 
4.3 สถิติทีÉใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 
4.3.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ 
ด้วยค่าความถีÉ และค่าร้อยละ 
4.3.2 วิเคราะห์ระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำงานทีÉปลอดภัย พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต โดยใช้ 
ค่าเฉลีÉย และส่วนเบีÉยงเบนมาตรฐาน 
4.3.3 เปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต จำแนก 
ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส 
ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ โดยใช้สถิติ t-test แบบ 
Independent Sample 
4.3.4 เปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต จำแนก 
ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา 
ระยะเวลาการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน โดยใช้สถิติการ 
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) 
4.3.5 วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ 
และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี Scheffé 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการ 
ใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงาน 
สายการผลิต โดยใช้การทดสอบค่าสัมประสิทธ์ 
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน 
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยส่งแบบสอบถาม 
จำ นวน 597 ชุด ไปยังหัวหน้างานให้เป็นผู้แจก 
แบบสอบถาม และติดตามเก็บคืนด้วยตัวเอง ได้คืนมา 579 
ชุด 
5. ผลการวิจัย 
5.1 วิเคราะห์ข้อมูลเกีÉยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของ 
พนักงาน พบว่า พนักงานส่วนมากเป็นเพศชายคิดเป็น 
ร้อยละ 57.17 มีอายุระหว่าง 18 – 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 
41.28 มีการศึกษาอยู่ในระดับ ปวช./ม.6 คิดเป็นร้อยละ 
41.11 สถานภาพสมรสกมีคู่ครองอยู่ด้วยกันคิดเป็นร้อยละ 
58.72 มีระยะเวลาปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 3 – 10 ปี คิดเป็น 
ร้อยละ 41.11 ส่วนกลุ่มงานทีÉมีพนักงานมากทีÉสุดคือกลุ่ม
งาน A (กลุ่มงานเตรียมเนืÊอกระเบืÊอง/ปัÊมกระเบืÊอง/เคลือบ 
พิมพ์ลาย) และพนักงานส่วนมากไม่เคยได้รับอุบัติเหตุจาก 
การทำงาน คิดเป็นร้อยละ 63.04 
5.2 วิเ ค ร า ะ ห์ข้อ มูล เ กีÉย ว กับ ร ะ ดับ ก า ร รับ รู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม 
การใช้อุปการณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของ 
พนักงานสายการผลิต พบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำงานทีÉปลอดภัย โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ 
เมืÉอพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำงานทีÉปลอดภัยด้านสิÉงแวดล้อม ทางกายภาพ ด้าน 
สิÉงแวดล้อมทางเคมีและด้านสิÉงแวดล้อมทางชีวภาพ อยู่ใน 
ระดับปานกลาง และเรืÉองพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต 
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมืÉอพิจารณาเป็นราย 
ด้านพบว่า พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุใน 
การทำงานของพนักงานสายการผลิตการป้องกันส่วน 
ศีรษะ การป้องกันสายตาและบริเวณใบหน้า การป้องกัน 
เสียง การป้องกันระบบทางเดินหายใจ การป้องกันส่วน 
ลำตัว การป้องกันมือและเท้า ทุกด้านอยู่ในระดับปาน 
กลาง 
5.3 ผลการทดสอบสมมุติฐานและอภิปรายผล 
4 
สมมติฐานทีÉ 1 พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วนบุคคล 
ต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย 
ต่างกัน 
จากผลการวิจัยครัÊงนีÊพบว่า พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วน 
บุคคล ได้แก่ เพศ กลุ่มงาน มีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ 
ต่างกัน จะมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่าง 
กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03-.000 กล่าวคือ 
1. พนักงานหญิงมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานมากกว่าพนักงานชาย ทัÊงนีÊอาจจะเป็นเพราะว่าโดย 
ลักษณะนิสัยของเพศหญิงทีÉจะมีความสนใจและเอาใจใส่ 
ต่อสิÉงใดสิÉงหนึÉงมากกว่าเพศชาย อีกทัÊงปัจจุบันสังคมได้ 
ให้โอกาสเพศหญิงในการทำงานมากกว่าในอดีต ทำให้มี 
ความเชืÉอมัÉน กล้าตัดสินใจ และรับรู้สิÉงต่างๆ ทีÉเกีÉยวข้อง 
กับการทำงานมากยิÉงขึÊน อย่างไรก็ตามผลการวิจัยครัÊงนีÊ 
สอดคล้องกับ คำแข [1] ซึÉงพบว่า พัฒนากรชายกับหญิง มี 
การรับรู้ต่อสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 
2. พนักงานในกลุ่มงานทีÉต่างกันมีการรับรู้ทีÉ 
ต่างกัน กล่าวคือ พนักงานในกลุ่มงาน A, B และ C มีการ 
รับรู้ทีÉต่างกัน ทัÊงนีÊน่าจะมาจากลักษณะงานและ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานของแต่ละกลุ่มงานมีความ 
แตกต่างกัน รวมทัÊงแนวทางการบริหารของผู้บังคับบัญชา 
ในแต่ละกลุ่มงานจะมีความแตกต่างกัน จึงส่งผลให้การ 
รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย โดย 
พนักงานในกลุ่มงาน C มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานสูงทีÉสุดเนืÉองจากการคัดเลือกพนักงานในกลุ่มงาน 
C ต้องมีความรู้มีทักษะและมีประสบการณ์มาก่อน จึง 
ส่งผลให้กลุ่มงาน C มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานสูงทีÉสุด รองลงมาคือกลุ่มงาน B เนืÉองมาจาก 
พนักงานในกลุ่มนีÊปฏิบัติงานเน้นในเรืÉองของผู้ทีÉเคยมี 
ทักษะและประสบการณ์ในการทำงานมาบ้างแล้วจึงส่งผล 
ให้กลุ่มงาน B มีการรับรู้สภาพแวดล้อมรองลงมา และ 
กลุ่มงาน A พนักงานในกลุ่มนีÊส่วนมากเป็นพนักงาน 
ทัÉวๆไปไม่จำเป็นต้องมีความรู้และประสบการณ์มากนัก 
เนืÉองจากลักษณะงานทีÉไม่ซับซ้อนและเมืÉอทำงานไประยะ 
หนึÉงก็จะถูกย้ายไปยังหน่วยงานอืÉนๆ ทีÉมีขัÊนตอนการ 
ทำงานทีÉมากขึÊนต่อไป 
3. พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ 
ต่างกันมีการรับรู้ต่างกัน ผลการวิจัยโดยรวมพบว่า 
พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุต่างกันมีการ 
รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยต่างกันอย่างมี 
นัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03 - .000 ทุกด้านและโดยรวม 
ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ กล่าวคือ น่าจะมีสาเหตุ 
มาจากลักษณะการปฏิบัติงานของพนักงานอยู่ใน 
สภาพแวดล้อมในการทำงานของแต่ละกลุ่มงานทีÉแตกต่าง 
กัน ความเสีÉยงในการเกิดอุบัติเหตุจึงแตกต่างกัน โดย 
พนักงานทีÉไม่เคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยสูงกว่าพนักงานทีÉ 
เคยมีประสบการณ์ เนืÉองจากพนักงานทีÉไม่มีประสบการณ์ 
ได้รับอุบัติเหตุได้รับการอบรมเกีÉยวกับความปลอดภัยใน
การทำงานมาก่อน และจะระมัดระวังเพราะเห็นอุบัติเหตุทีÉ 
เกิดขึÊนกับคนอืÉน ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตติกรณ์ 
[2] ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีประสบการณ์อบรมเรืÉองการใช้ 
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการหายใจแตกต่างกันจะมี 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการหายใจแตกต่างกัน 
และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วีรมลล์ [3] ทีÉพบว่า 
พนักงานปฏิบัติการทีÉเคยได้รับการอบรมเกีÉยวกับความ 
ปลอดภัยกับพนักงานทีÉไม่เคยได้รับการอบรมเกีÉยวกับ 
ความปลอดภัยมีพฤติกรรมการทำงานอย่างปลอดภัย 
แตกต่างกัน ส่วนด้าน อายุ ระดับการศึกษา สภาพภาพ 
สมรสและระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน 
5 
ผลการวิจัยครัÊงนีÊพบว่า พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วน 
บุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และ 
ระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน ซึÉงไม่ตรงกับสมมติฐาน 
ทีÉตัÊงไว้ 
พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อม 
ในการทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม 
สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อารยา [4] 
ทีÉพบว่าพนักงานทีÉมีอายุต่างกันจะมีความเข้าใจต่อเครืÉอง 
หมายความปลอดภัยทีÉใช้อยู่ในสถานประกอบการไม่ 
แตกต่างกันและสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิมพ์จันทร์ [5] 
ทีÉพบว่า พนักงานฝ่ายบริการลานจอดอากาศยานทีÉมีอายุ 
ต่างกัน มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉเป็น 
อันตรายไม่แตกต่างกัน 
พนักงานทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม 
สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ คำแข 
[1] ซึÉงพบว่า พัฒนากรทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันจะมีการ 
รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน 
พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม 
สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ วีรมลล์ [3] 
ทีÉพบว่าพนักงานปฏิบัติการทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมี 
การรับรู้สภาพการทำงานทีÉเป็นอันตรายไม่ต่างกัน 
พนักงานทีÉมีระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม 
สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ อริศรา [6] 
ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีอายุการทำงานแตกต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉเป็นอันตรายไม่แตกต่างกัน 
และสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนวรรณ [7] ทีÉพบว่า 
พนักงานทีÉมีประสบการณ์การทำงานแตกต่างกันมีการ 
รับรู้ระบบความปลอดภัยไม่แตกต่างกัน 
จากผลการวิจัยสรุปโดยรวมพบว่า พนักงานทีÉมี 
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ 
สมรส และระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำ งานไม่ต่างกัน ทัÊงนีÊอาจ 
เนืÉองมาจากพนักงานระดับปฏิบัติการมีหน้าทีÉและความ 
รับ ผิด ช อ บ ใ น ง า น อ ยู่ใ น สัง ค ม แ ล ะ วัฒน ธ ร ร ม 
สภาพแวดล้อมการทำงานเหมือนๆ กัน ปฏิบัติงานภายใต้ 
นโยบายและผู้บริหารเดียวกัน ซึÉงในการทำงานพนักงานทุกคน 
จะต้องทำงานให้ได้มาตรฐานตามทีÉบริษัทกำหนด ดังทีÉ 
พิมพ์จันทร์ [5] กล่าวว่าสถานการณ์ทางสังคมทีÉบุคคลนัÊน 
ร่วมอยู่ด้วยมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล อีกสาเหตุหนึÉง 
อาจเป็นเพราะว่าก่อนเข้าทำงานบริษัทได้มีการอบรม 
เกีÉยวกับกฎและนโยบายความปลอดภัยของบริษัท มีการจัด 
กิจกรรมและนิทรรศการความปลอดภัยซึÉงเปิดโอกาสให้ 
พนักงานได้มีส่วนร่วมอันจะส่งผลต่อการรับรู้และ 
เสริมสร้างทัศนคติด้านความปลอดภัยทีÉดีให้กับพนักงาน 
ทำให้พนักงานรับรู้เรืÉองการทำงานทีÉปลอดภัยใกล้เคียงกัน 
ดังคำกล่าวของ สุชา [8] ทีÉว่าองค์ประกอบทีÉมีอิทธิพลต่อ 
การรับรู้ขึÊนอยู่กับสิÉงเร้า ได้แก่ ขนาด ความเข้ม การกระทำ 
ซํÊาๆ และความพร้อมทีÉจะรับรู้ของบุคคล นอกจากนีÊยังมี 
หัวหน้างาน และเพืÉอนร่วมงานคอยให้คำแนะนำในการ 
ทำงาน และเมืÉอพนักงานทำงานไปเรืÉอยๆ ก็ได้รับข่าวสารข้อมูล 
เกีÉยวกับความปลอดภัยทำให้สามารถตีความได้ว่าการทำงาน 
ในลักษณะใดจึงจะทำให้เกิดความปลอดภัยสาเหตุเหล่านีÊ 
อาจมีผลทำให้พนักงานในสายงานการผลิตมีปัจจัยส่วน
บุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรสและ 
ระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกัน มีการรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำงานไม่ต่างกัน 
6 
สมมติฐานทีÉ 2 พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วนบุคคล 
ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉ 
ทำงานของพนักงานสายการผลิตต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 
ทีÉ.05-.000 
กล่าวคือ พนักงานทีÉมีอายุ กลุ่มงาน และมี 
ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุต่างกันมีพฤติกรรมการใช้ 
อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิตต่างกัน 
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมี 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ 
พนักงานสายการผลิตต่างกัน ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐาน 
ทีÉตัÊงไว้ และพบอีกว่าพนักงานทีÉมีอายุน้อยจะมีพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานสูงกว่า 
พนักงานทีÉมีอายุมาก ทัÊงนีÊอาจจะเนืÉองมาจาก พนักงานทีÉมี 
อายุมากจะไม่ค่อยเชืÉอฟังและปฏิบัติตามกฎระเบียบทีÉ 
หัวหน้างานสัÉง ซึÉงส่วนมากหัวหน้างานมักจะเป็นนักศึกษา 
ทีÉจบมาใหม่อายุยังน้อย พนักงานทีÉมีอายุมากมักจะทะนง 
ตนว่ามีความเป็นอาวุโสกว่ามักจะไม่ค่อยปฏิบัติตามกฏ 
ระเบียบในเรืÉองความปลอดภัยในโรงงาน และ 
สอดคล้องกับงานวิจัยของกนกนิภา [9] ทีÉศึกษาพบว่า 
พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการ 
ทำงานต่างกัน 
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีกลุ่มงานต่างกันมี 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ 
พนักงานสายการผลิตต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉ 
.05-.000 ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ โดยพนักงาน 
กลุ่มงาน B จะมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกับ 
อุบัติเหตุสูงสุด รองลงมาคือ กลุ่มงาน C และกลุ่มงาน A 
ตามลำดับ ทัÊงนีÊเนืÉองมาจากลักษณะการทำงานทีÉแตกต่าง 
กัน ระดับความปลอดภัยในการทำงานก็แตกต่างกัน 
สภาพแวดล้อมและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุก็ 
แตกต่างกันดังนัÊนจึงทำให้พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานแตกต่างกัน 
พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ 
ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉ 
ทำงานของพนักงานสายการผลิตกันอย่างมีนัยสำคัญทาง 
สถิติทีÉระดับ .05 - .000 ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ นันÉ 
คือ พนักงานทีÉไม่เคยได้รับอุบัติเหตุจากการทำงานจะมี 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน 
ของพนักงานสายการผลิตสูงกว่าพนักงานทีÉเคยได้รับ 
อุบัติเหตุจากการทำงาน โดยสาเหตุน่าจะมาจากพนักงานทีÉ 
ไม่เคยมีประสบการณ์จากการได้รับอุบัติเหตุจากการ 
ทำงานจะมีการป้องกันตัวเองเป็นอย่างดีเพราะกลัวการ 
บาดเจ็บซึÉงเห็นพนักงานด้วยกันทีÉได้รับอุบัติเหตุจากการ 
ทำงานทีÉเพืÉอนเคยได้รับ ดังนัÊนพนักงานเหล่านีÊจึงให้ความ 
สนใจในเรืÉองการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุมากกว่า 
พนักงานทีÉมีเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส 
และระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีพฤติกรรมการใช้ 
อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิตไม่ต่างกัน 
พนักงานทีÉมีเพศต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ 
ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตไม่ 
ต่างกัน ดังนัÊนพนักงานทีÉมีเพศต่างกันจึงไม่มีผลต่อการมี 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ 
พนักงานสายการผลิต ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ 
สอดคล้องกับงานวิจัยของ กนกนิภา [9] ทีÉพบว่า พนักงาน 
ฝ่ายผลิตโรงงานผลิตอะไหล่จักรยานเขตพระประแดง ทีÉมี 
เพศต่างกันมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานไม่ 
ต่างกัน 
พนักงานทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันมีพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของ 
พนักงานสายการผลิตไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม 
สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ อาจจะเนืÉองมาจากพนักงานได้รับทราบ 
ถึงมาตรฐานการปฏิบัติเรืÉองการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุอย่างชัดเจนและมีการจัดอบรมอย่างต่อเนืÉองมี 
การติดตามผลหลังการฝึกอบรม ทัÊงพนักงานทีÉเข้าใหม่
และพนักงานเก่า ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ สมชาย 
[10] ทีÉพบว่าระดับการศึกษาต่างกันมีพฤติกรรมความ 
ปลอดภัยในการทำงานของคนงานไม่แตกต่างกัน 
7 
พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมีพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิตไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊง 
ไว้ น่าจะเนืÉองมาจากบริษัทได้มีการจัดอบรมการใช้ 
อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานให้กับพนักงานทีÉ 
เข้ามาทำงานทุกคน และพนักงานกลัวอุบัติเหตุทีÉจะเกิดขึÊน 
สอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนวรรณ [7] ทีÉพบว่า 
พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีพฤติกรรม 
ความปลอดภัยในการทำงานไม่แตกต่างกัน 
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีระยะเวลา 
ปฏิบัติงานต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตไม่ต่างกัน 
ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงทัÊงนีÊอาจเป็น 
เพราะว่าแนวทางการบริหารและความเอาใจใส่ของ 
หัวหน้างานจะมีลักษณะเป็นไปในทิศทางเดียวกันทัÊงกับ 
พนักงานใหม่และพนักงานเก่า ดังนัÊนระยะเวลาในการ 
ปฏิบัติงานของพนักงานทีÉแตกต่างกันจึงไม่ส่งผลต่อ 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน 
ของพนักงานสายการผลิต สอดคล้องกับงานวิจัยของ 
สมชาย [10] ทีÉพบว่าคนงานทีÉมีอายุงานแตกต่างกันมี 
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานไม่แตกต่างกัน 
สมมติฐานทีÉ 3 การรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิต 
ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน 
สายการผลิตโดยรวมและรายด้านอย่างมีนัยสำคัญทาง 
สถิติทีÉระดับ .01-.000 ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ 
ฟ้ารัตน์ [11] ทีÉพบว่าการรับรู้เกีÉยวกับความปลอดภัยใน 
การทำงานมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยใน 
การทำงานของคนงานก่อสร้างงานและงานวิจัยของ 
ปัทมา [12] พบว่าความรู้ด้านการจัดการความปลอดภัยมี 
ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน 
อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติทีÉระดับ .01-.000 ทัÊงนีÊอัน 
เนืÉองมาจากก่อนเกิดพฤติกรรม มนุษย์จะต้องมีการรับรู้ 
เกิดขึÊนก่อน แล้วจึงนำการรับรู้นัÊนมาคิดและตัดสินใจ 
จากนัÊนจึงแสดงออกเป็นพฤติกรรมตามทีÉสุรพล [13] 
กล่าวว่า ถ้าบุคคลไม่รับรู้ก็จะไม่มีผลมาสู่พฤติกรรม ใน 
การวิจัยครัÊงนีÊพนักงานมีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลางทำ 
ให้พนักงานสามารถแปลความหมายของสิÉงเร้าต่างๆ ได้ดี 
พอสมควร รวมทัÊงได้รับการฝึกอบรมเกีÉยวกับความ 
ปลอดภัยอย่างสมํÉาเสมอ ทำให้พนักงานมีความรู้เกีÉยวกับ 
การปฏิบัติงาน 
6. ข้อเสนอแนะ 
6.1 ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้ในโรงงาน 
อุตสาหกรรม 
จากผลการวิจัยเรืÉองการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต ศึกษา 
เฉพาะกร ณีพนักงานของบริษัท โ ร แ ย ล ซีรามิค 
อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) ผู้วิจัยเสนอข้อคิดเห็นและ 
เสนอข้อชีÊแนะดังนีÊ 
6.1.1 จากการวิจัยพบว่า พนักงานมีการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง ซึÉงถือ 
ได้ว่าพนักงานมีความรู้ และเชืÉอว่าบริษัทได้กำหนด 
แนวทางในการดำเนินงานเกีÉยวกับความปลอดภัยเพืÉอให้ 
พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยในระดับ 
ปานกลาง ดังนัÊนบริษัทควรทีÉจะสนับสนุนแนวทางการ 
ดำเนินงานให้อยู่ในระดับดีมากขึÊน เพืÉอให้พนักงานมีการ 
รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยมากขึÊนโดย 
ปรับปรุงสภาพสิÉงแวดล้อมทางกายภาพในเรืÉองของ 
อุณหภูมิในทีÉทำงาน เสียงในบริเวณทีÉทำงานและโฟลิฟท์
วิงÉไปมาซึÉงมีค่อนข้างสูง และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 
ทีÉปลอดภัยด้านสิÉงแวดล้อมทางเคมีควรมีการปรับปรุง 
เรืÉองของป้ายเตือนอันตรายจากสารเคมี การเก็บรักษา 
สารเคมี และการใช้เชืÊอเพลิงในการผลิตมากเกินไป และ 
สภาพสิÉงแวดล้อมทางชีวภาพควรปรับปรุงในเรืÉองของหนู 
สุนัขและการขับถ่ายของนกทีÉมีค่อนข้างสูง และกระถาง 
ไม้ดอกไม้ประดับค่อนข้างมีน้อยควรมีมากกว่านีÊ เพืÉอให้ 
พนักงานรู้สึกผ่อนคลายไม่เครียด และควรมีการปรับปรุง 
สภาพสิÉงแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและควรมีการ 
ตีพิมพ์เอกสารเพืÉอเผยแพร่เรืÉองความปลอดภัยให้กับ 
พนักงาน เพืÉอให้พนักงานเห็นถึงอันตรายทีÉอาจจะเกิดขึÊน 
ในการทำงาน และปรับเปลีÉยนพฤติกรรมในการให้ 
อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานทีÉดีมากขึÊน 
8 
6.1.2 จากการวิจัยพบว่า พนักงานมีพฤติกรรมการ 
ใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานอยู่ในระดับปาน 
กลาง ซึÉงถือได้ว่าพนักงานมีการใช้อุปกรณ์ป้องกัน 
อุบัติเหตุมีไม่มากนัก ดังนัÊนบริษัทควรตระหนักในเรืÉอง 
ของพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการ 
ทำงานของพนักงานสายการผลิตมากยิงÉขึÊน โดยเฉพาะการ 
จัดอบรม ซืÊออุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานให้ 
มากกว่าเดิมและได้มาตรฐานตามทีÉกฎหมายกำหนด มีการ 
กำหนด ระเบียบ ข้อบังคับและสร้างวินัยในการทำงานให้ 
เกิดพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ และต้อง 
ดำเนินการอย่างจริงจัง มีการกำหนดบทลงโทษเมืÉอ 
พนักงานไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ส่วนตัว 
พนักงานนัÊนก็จะต้องมีความพร้อมในการให้ความร่วมมือ 
ในการดำเนินการด้านความปลอดภัยเพืÉอลดอุบัติเหตุจาก 
การทำงาน 
6.1.3 จากผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อม 
ในการทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ 
พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานทีÉ 
ปลอดภัยของพนักงานสายการผลิต ซึÉงบริษัทควรจะจัดให้ 
มีการฝึกอบรมในด้านความปลอดภัยให้กับพนักงานอย่าง 
ต่อเนืÉองตามหลักสูตรทีÉกำหนดอย่างสมํÉาเสมอ บริษัท 
จะต้องให้ความสำคัญกันนโยบายด้านความปลอดภัยและ 
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีการจัด 
สถานทีÉให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และสร้าง 
บรรยากาศในการทำงานให้พนักงานเกิดทัศนคติทีÉดีต่อ 
ความปลอดภัย เมืÉอพนักงานมีทัศคติทีÉดีจะเกิดพฤติกรรมทีÉ 
ดีในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีการ 
จัดกิจกรรมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการแสดงความ 
คิดเห็นกำหนดแนวทางหรือวิธีการทำงานเพืÉอให้เกิดความ 
ปลอดภัยมากยิงÉขึÊน 
6.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครัÊงต่อไป 
6.2.1 ในการวิจัยครัÊงนีÊได้ทำการศึกษาเฉพาะกรณี 
พนักงานของบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด 
(มหาชน) ถ้าต้องการให้ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ได้ 
กว้างขวางยิÉงขึÊนควรทำการศึกษากับกลุ่มประชากรใน 
อุตสาหกรรมประเภทอืÉนๆ ด้วย 
6.2.2 ควรศึกษาถึงตัวแปรอืÉนๆ ทีÉมีผลต่อการรับรู้ 
สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย เช่น ลักษณะของ 
ผู้บังคับบัญชา บุคลิกภาพ ความคาดหวัง เป็นต้น 
6.2.3 ควรมีการศึกษาโดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล 
แบบอืÉนๆ ร่วมกับการใช้แบบสอบถาม เช่น การสัมภาษณ์ 
การสังเกต เพืÉอให้ได้ข้อมูลทีÉสมบูรณ์มากยิงÉขึÊน 
7. เอกสารอ้างอิง 
[1] คำแข แก้วพันนา. (2536). การรับรู้สภาพแวดล้อมใน 
การทำ งานของพัฒนากรในเขต 3.วิทยานิพนธ์ 
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[2] รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2535). ความสัมพันธ์ระหว่าง 
บุคลิกภาพทัศนคติการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย 
ส่วนบุคคล. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต 
ส า ข า วิช า จิ ต วิท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[3] วีรมลล์ ละอองศิริวงศ์. (2541). ปัจจัยทีÉมีอิทธิพลต่อ 
การรับรู้สภาพการทำ งานทีÉเป็นอันตรายและ 
พฤติกรรมการทำงานอย่างปลอดภัยของพนักงาน 
ปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา 
จิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[4] อารยา รัมภาภรณ์. (2539). ปัจจัยทีÉมีผลต่อความเข้าใจใน 
เครืÉองหมายความปลอดภัยทีÉใช้อยู่ในสถานประกอบการ. 
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศาสตร์ 
อุตสาหกรรมและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 
[5] พิมพ์จันทร์ เทียมเศวต. (2544). การรับรู้การทำงานทีÉ 
เป็นอันตรายและการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยของ 
พนักงานฝ่ายบริการลานจอดอากาศยาน บริษัทการ 
บินไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร 
มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[6] อริศรา ปาดแม้น. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างการ 
รับรู้สภาพการทำงานทีเÉป็นอันตรายกับพฤติกรรมการ 
ทำงานทีÉปลอดภัยของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท 
รองเท้าบาจาแห่งประเทศไทย จำกัด (มหาชน). 
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา 
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[7] รัตนวรรณ ศรีทองเสถียร. (2542). ปัจจัยทีÉมีอิทธิพล 
ต่อการรับรู้ระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย 
ของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ 
วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[8] สุชา จันทร์แอม. (2541). จิตวิทยาทัÉวไป. พิมพ์ครัÊงทีÉ 
10. กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยมหิดล. 
[9] กนกนิภา ปิตกาญจนกุล. (2547). ความสัมพันธ์ 
ระหว่างบุคลิกภาพ ความรู้ด้านความปลอดภัยกับ 
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน 
ฝ่ายผลิตโรงงานผลิตอะไหล่จักรยานเขตพระ 
ประแดง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต 
ส า ข า วิช า จิ ต วิท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
9 
[10] สมชาย เลาหะพิพัฒน์ชัย. (2540). ความสัมพันธ์ 
ระหว่างแบบแผนความเชืÉอด้านสุขภาพ ความเชืÉอ 
แหล่งอำนาจควบคุมทางสุขภาพกับพฤติกรรม 
ความปลอดภัยของคนงานในอุตสาหกรรม 
เครืÉองใ ช้ไ ฟฟ้า . วิท ย า นิพ น ธ์วิท ย า ศ า ส ต ร 
มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[11] ฟ้ารัตน์ สมแสน. (2537). ปัจจัยทีÉมีผลกระทบต่อ 
พฤติกรรมเกีÉยวกับความปลอดภัยในการทำงานของ 
คนงานก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ 
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ส า ข า วิช า จิต วิท ย า 
อุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 
[12] ปัทมา พุ่มมาพันธ์. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่าง 
บุคลิกภาพความรู้ด้านการจัดการความปลอดภัยความ 
พึงพอใจต่อการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรม 
ความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานโรงงาน 
เหล็กกล้าไรสนิม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร 
มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
[13] สุรพล พยอมแย้ม. (2541). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. 
กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Recomendados

648 1 por
648 1648 1
648 1Tee Plerngpiz
1.1K vistas21 diapositivas
650 1 por
650 1650 1
650 1Tee Plerngpiz
891 vistas40 diapositivas
623 1 por
623 1623 1
623 1Tee Plerngpiz
834 vistas20 diapositivas
499 1 por
499 1499 1
499 1Tee Plerngpiz
829 vistas16 diapositivas
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ por
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Krit Ung-Apitam
1.9K vistas8 diapositivas
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ por
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Ninna Natsu
5.8K vistas8 diapositivas

Más contenido relacionado

Similar a 680 1

office syn.pdf por
office syn.pdfoffice syn.pdf
office syn.pdf60919
12 vistas16 diapositivas
IT Risk Assessment por
IT Risk AssessmentIT Risk Assessment
IT Risk AssessmentBanyong Jandragholica
2K vistas37 diapositivas
Playground safety por
Playground safetyPlayground safety
Playground safetytaem
1.1K vistas41 diapositivas
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA por
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
7.7K vistas109 diapositivas
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์ por
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
1.4K vistas17 diapositivas
Construction safety management por
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety managementNantawit Boondesh
3.9K vistas43 diapositivas

Similar a 680 1(6)

office syn.pdf por 60919
office syn.pdfoffice syn.pdf
office syn.pdf
6091912 vistas
Playground safety por taem
Playground safetyPlayground safety
Playground safety
taem1.1K vistas
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA por taem
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
taem7.7K vistas
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์ por Kruthai Kidsdee
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
Kruthai Kidsdee1.4K vistas

680 1

  • 1. การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีปÉลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุใน ทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิต: ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานของ บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) Perception of Safety Working Environment and Behaviors in Using Accident Prevention Equipments at Workplace of Production Line: A Case for Employees of Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd. ชูชาติ จุลพันธ์1 มานพ ชูนิล2 อารี เพชรผุด3 Abstract Purposes of this study are to find the levels of safety working environment and behaviors of using accident prevention equipments at workplace of production line of Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd., to do the comparison study the personal data of subjects that might affect the perception of safety working environment and behaviors of using accident prevention equipments and to search for the relationships between the safety working environment and behaviors of using accident prevention equipment. Subjects were 579 employees of Royal Ceramic Industry Public Co., Ltd. Data were collected by questionnaires and analyzed statistically by computer programs. Results could be summarized as follows (1) subjects showed moderate levels of perceptions and behaviors (2) the differences between sex, job section and accident experiences affected perception significantly at .03 - .000 (3) Age, job section and accident experience affected behaviors of using accident prevention equipment with a significant difference at .05 - .000 (4) The relationships between perceptions and behaviors as a whole and parts were positive highly significance at .01 - .000 Keywords : perception of safety working environment, behaviors of using accident prevention equipments บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัÊงนีÊเพืÉอศึกษาระดับสภาพแวดล้อมการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตของบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) เพืÉอศึกษา เปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างซึÉงมีผลกระทบต่อการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและ พฤติกรรมกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ เพืÉอตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉ ปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงาน บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) จำนวน 579 คน ข้อมูลเก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามและการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติทีÉใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถีÉ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีÉย ส่วนเบีÉยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบ t-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสัมประสิทธิÍสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนีÊ (1) กลุ่ม ตัวอย่างมีระดับการรับรู้และพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ความแตกต่างกันทางด้านเพศ กลุ่มงาน ประสบการณ์การ ได้รับอุบัติเหตุมีผลกระทบต่อการรับรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03 - .000 (3) อายุ กลุ่มงาน และประสบการณ์การ 1นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 3รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์พิเศษ ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 2. ได้รับอุบัติเหตุมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .05 - .000 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และพฤติกรรมโดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยทางสถิติทีÉ ระดับ .01 - .000 คำสำคัญ : การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย, พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงาน 1. บทนำ เนืÉองจากปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานใน สถานประกอบกิจการหรือโรงงานอุตสาหกรรมมักจะเกิด ขึÊนอยู่เป็นประจำ ก่อให้เกิดความเสียหายมากมาย ผลกระทบทีÉเกิดจากอุบัติเหตุต่อคนงาน เช่น เจ็บป่วยหรือ บาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ หรือตาย ไม่สามารถจะทำงาน ได้เหมือนเดิม ขาดรายได้ เสียขวัญหรือหวาดกลัว เสีย โอกาสในการใช้ชีวิตอย่างเต็มทีÉ ผลกระทบต่อนายจ้าง เช่น ผลผลิตลดลง คุณภาพของสินค้าหรือบริการตํÉาลง เสีย ค่าล่วงเวลา ต้องซ่อมแซมหรือเปลีÉยนเครืÉองจักร อุปกรณ์ ต่างๆ เสียค่ารักษาพยาบาล เสียเวลาช่วยเหลือคนเจ็บ เสียเวลาสอบสวนหรือรายงานอุบัติเหตุ ต้องฝึกอบรมหรือ สอนงานให้กับพนักงานใหม่ เสียชืÉอเสียง และมี ผลกระทบต่อแรงงานสัมพันธ์ ผลกระทบต่อครอบครัว เช่น สร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กับครอบครัว สูญเสีย รายได้และเป็นภาระของครอบครัว ช่วยเหลืองานบ้านได้ น้อยลง ผลกระทบต่อส่วนรวม เช่น สูญเสียทรัพยากร สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สูญเสียประสิทธิภาพในการ ผลิต สูญเสียงบประมาณ เป็นต้น ถึงแม้ว่าทางโรงงาน อุตสาหกรรมจะมีนโยบายป้องกันอย่างต่อเนืÉองจากทาง ภาครัฐและเอกชนก็ตาม แต่พนักงานก็มิได้ตระหนักถึง การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานมากนัก ดังนัÊนผู้วิจัยจึงสนใจทีÉจะศึกษาเรืÉองการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิตเพืÉอนำข้อมูลทีÉได้จากการวิจัยเสนอให้บริษัท ไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขสภาพสิÉงแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยและเป็นแนวทางในการฝึกอบรมให้เกิด พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานและ เป็นแนวทางในการศึกษาต่อไป โดยใช้ประชากรและกลุ่ม 2 ตัวอย่างจากบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพืÉอศึกษาระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิต 2. เพืÉอเปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตจำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล 3. เพืÉอศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงาน 3. สมมติฐานการวิจัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุในการทำงานมีผลต่อการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุในการทำงานมีผลต่อ พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน ของพนักงานสายการผลิต 3. การรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต
  • 3. 4. การดำเนินการวิจัย 4.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างและเครืÉองมือทีÉใช้ 3 ประชากรทีÉใช้ในการวิจัยครัÊงนีÊคือ พนักงานของ บริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด(มหาชน) จำนวน 597 คน ซึÉงผู้วิจัยได้เก็บตามจำนวนพนักงานจริงทัÊงหมด ประชากรกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มงาน ดังนีÊ กลุ่มงาน A หมายถึง แผนกเตรียมเนืÊอกระเบืÊอง แผนกปัÊมกระเบืÊอง และแผนกเคลือบกระเบืÊอง มี ประชากรจำนวน 239 คน กลุ่มงาน B หมายถึง แผนกเตาเผา แผนกคัดเลือก บรรจุ และแผนกลวดพิมพ์ลายพิเศษ มีประชากรจำนวน 165 คน มีประชากรจำนวน 165 คน กลุ่มงาน C หมายถึง แผนกขัดกระเบืÊอง แผนก เตรียมนํÊายาเคลือบและแผนกควบคุมคุณภาพ มีประชากร จำนวน 175 คน 4.2 เครืÉองมือทีÉใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึÉง แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนีÊ ตอนทีÉ 1 คำถามเกีÉยวกับปัจจัยส่วนบุคคล มี จำนวน 7 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ สมรส อายุงาน กลุ่มงาน และมีประสบการณ์ได้รับ อุบัติเหตุ ตอนทีÉ 2 คำถามเกีÉยวกับการรับรู้สภาพแวดล้อม ในการทำงานทีÉปลอดภัย มีจำนวน 30 ข้อ โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้านสิÉงแวดล้อมทางกายภาพ ด้านสิÉงแวดล้อม ทางเคมีและด้านสิÉงแวดล้อมชีวภาพ ด้านล่ะ 10 ข้อ ตอนทีÉ 3 คำถามเกีÉยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีจำนวน 48 ข้อ โดย แบ่งเป็น 6 ด้าน คือ การป้องกันส่วนศีรษะ การป้องกัน สายตาและบริเวณใบหน้า การป้องกันเสีย การป้องกัน ระบบทางเดินหายใจ การป้องกันส่วนลำตัว การป้องกัน มือและเท้า ด้านละ 8 ข้อ 4.3 สถิติทีÉใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 4.3.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ ด้วยค่าความถีÉ และค่าร้อยละ 4.3.2 วิเคราะห์ระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำงานทีÉปลอดภัย พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต โดยใช้ ค่าเฉลีÉย และส่วนเบีÉยงเบนมาตรฐาน 4.3.3 เปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ โดยใช้สถิติ t-test แบบ Independent Sample 4.3.4 เปรียบเทียบการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต จำแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน โดยใช้สถิติการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) 4.3.5 วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี Scheffé สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยกับพฤติกรรมการ ใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงาน สายการผลิต โดยใช้การทดสอบค่าสัมประสิทธ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยส่งแบบสอบถาม จำ นวน 597 ชุด ไปยังหัวหน้างานให้เป็นผู้แจก แบบสอบถาม และติดตามเก็บคืนด้วยตัวเอง ได้คืนมา 579 ชุด 5. ผลการวิจัย 5.1 วิเคราะห์ข้อมูลเกีÉยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของ พนักงาน พบว่า พนักงานส่วนมากเป็นเพศชายคิดเป็น ร้อยละ 57.17 มีอายุระหว่าง 18 – 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 41.28 มีการศึกษาอยู่ในระดับ ปวช./ม.6 คิดเป็นร้อยละ 41.11 สถานภาพสมรสกมีคู่ครองอยู่ด้วยกันคิดเป็นร้อยละ 58.72 มีระยะเวลาปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 3 – 10 ปี คิดเป็น ร้อยละ 41.11 ส่วนกลุ่มงานทีÉมีพนักงานมากทีÉสุดคือกลุ่ม
  • 4. งาน A (กลุ่มงานเตรียมเนืÊอกระเบืÊอง/ปัÊมกระเบืÊอง/เคลือบ พิมพ์ลาย) และพนักงานส่วนมากไม่เคยได้รับอุบัติเหตุจาก การทำงาน คิดเป็นร้อยละ 63.04 5.2 วิเ ค ร า ะ ห์ข้อ มูล เ กีÉย ว กับ ร ะ ดับ ก า ร รับ รู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรม การใช้อุปการณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของ พนักงานสายการผลิต พบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำงานทีÉปลอดภัย โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ เมืÉอพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำงานทีÉปลอดภัยด้านสิÉงแวดล้อม ทางกายภาพ ด้าน สิÉงแวดล้อมทางเคมีและด้านสิÉงแวดล้อมทางชีวภาพ อยู่ใน ระดับปานกลาง และเรืÉองพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมืÉอพิจารณาเป็นราย ด้านพบว่า พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุใน การทำงานของพนักงานสายการผลิตการป้องกันส่วน ศีรษะ การป้องกันสายตาและบริเวณใบหน้า การป้องกัน เสียง การป้องกันระบบทางเดินหายใจ การป้องกันส่วน ลำตัว การป้องกันมือและเท้า ทุกด้านอยู่ในระดับปาน กลาง 5.3 ผลการทดสอบสมมุติฐานและอภิปรายผล 4 สมมติฐานทีÉ 1 พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วนบุคคล ต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย ต่างกัน จากผลการวิจัยครัÊงนีÊพบว่า พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ เพศ กลุ่มงาน มีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ ต่างกัน จะมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03-.000 กล่าวคือ 1. พนักงานหญิงมีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานมากกว่าพนักงานชาย ทัÊงนีÊอาจจะเป็นเพราะว่าโดย ลักษณะนิสัยของเพศหญิงทีÉจะมีความสนใจและเอาใจใส่ ต่อสิÉงใดสิÉงหนึÉงมากกว่าเพศชาย อีกทัÊงปัจจุบันสังคมได้ ให้โอกาสเพศหญิงในการทำงานมากกว่าในอดีต ทำให้มี ความเชืÉอมัÉน กล้าตัดสินใจ และรับรู้สิÉงต่างๆ ทีÉเกีÉยวข้อง กับการทำงานมากยิÉงขึÊน อย่างไรก็ตามผลการวิจัยครัÊงนีÊ สอดคล้องกับ คำแข [1] ซึÉงพบว่า พัฒนากรชายกับหญิง มี การรับรู้ต่อสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 2. พนักงานในกลุ่มงานทีÉต่างกันมีการรับรู้ทีÉ ต่างกัน กล่าวคือ พนักงานในกลุ่มงาน A, B และ C มีการ รับรู้ทีÉต่างกัน ทัÊงนีÊน่าจะมาจากลักษณะงานและ สภาพแวดล้อมในการทำงานของแต่ละกลุ่มงานมีความ แตกต่างกัน รวมทัÊงแนวทางการบริหารของผู้บังคับบัญชา ในแต่ละกลุ่มงานจะมีความแตกต่างกัน จึงส่งผลให้การ รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย โดย พนักงานในกลุ่มงาน C มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานสูงทีÉสุดเนืÉองจากการคัดเลือกพนักงานในกลุ่มงาน C ต้องมีความรู้มีทักษะและมีประสบการณ์มาก่อน จึง ส่งผลให้กลุ่มงาน C มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานสูงทีÉสุด รองลงมาคือกลุ่มงาน B เนืÉองมาจาก พนักงานในกลุ่มนีÊปฏิบัติงานเน้นในเรืÉองของผู้ทีÉเคยมี ทักษะและประสบการณ์ในการทำงานมาบ้างแล้วจึงส่งผล ให้กลุ่มงาน B มีการรับรู้สภาพแวดล้อมรองลงมา และ กลุ่มงาน A พนักงานในกลุ่มนีÊส่วนมากเป็นพนักงาน ทัÉวๆไปไม่จำเป็นต้องมีความรู้และประสบการณ์มากนัก เนืÉองจากลักษณะงานทีÉไม่ซับซ้อนและเมืÉอทำงานไประยะ หนึÉงก็จะถูกย้ายไปยังหน่วยงานอืÉนๆ ทีÉมีขัÊนตอนการ ทำงานทีÉมากขึÊนต่อไป 3. พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ ต่างกันมีการรับรู้ต่างกัน ผลการวิจัยโดยรวมพบว่า พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุต่างกันมีการ รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติทีÉระดับ .03 - .000 ทุกด้านและโดยรวม ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ กล่าวคือ น่าจะมีสาเหตุ มาจากลักษณะการปฏิบัติงานของพนักงานอยู่ใน สภาพแวดล้อมในการทำงานของแต่ละกลุ่มงานทีÉแตกต่าง กัน ความเสีÉยงในการเกิดอุบัติเหตุจึงแตกต่างกัน โดย พนักงานทีÉไม่เคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยสูงกว่าพนักงานทีÉ เคยมีประสบการณ์ เนืÉองจากพนักงานทีÉไม่มีประสบการณ์ ได้รับอุบัติเหตุได้รับการอบรมเกีÉยวกับความปลอดภัยใน
  • 5. การทำงานมาก่อน และจะระมัดระวังเพราะเห็นอุบัติเหตุทีÉ เกิดขึÊนกับคนอืÉน ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตติกรณ์ [2] ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีประสบการณ์อบรมเรืÉองการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการหายใจแตกต่างกันจะมี การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการหายใจแตกต่างกัน และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วีรมลล์ [3] ทีÉพบว่า พนักงานปฏิบัติการทีÉเคยได้รับการอบรมเกีÉยวกับความ ปลอดภัยกับพนักงานทีÉไม่เคยได้รับการอบรมเกีÉยวกับ ความปลอดภัยมีพฤติกรรมการทำงานอย่างปลอดภัย แตกต่างกัน ส่วนด้าน อายุ ระดับการศึกษา สภาพภาพ สมรสและระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน 5 ผลการวิจัยครัÊงนีÊพบว่า พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และ ระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน ซึÉงไม่ตรงกับสมมติฐาน ทีÉตัÊงไว้ พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมีการรับรู้สภาพแวดล้อม ในการทำงานทีÉปลอดภัยไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อารยา [4] ทีÉพบว่าพนักงานทีÉมีอายุต่างกันจะมีความเข้าใจต่อเครืÉอง หมายความปลอดภัยทีÉใช้อยู่ในสถานประกอบการไม่ แตกต่างกันและสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิมพ์จันทร์ [5] ทีÉพบว่า พนักงานฝ่ายบริการลานจอดอากาศยานทีÉมีอายุ ต่างกัน มีการรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉเป็น อันตรายไม่แตกต่างกัน พนักงานทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ คำแข [1] ซึÉงพบว่า พัฒนากรทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันจะมีการ รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ วีรมลล์ [3] ทีÉพบว่าพนักงานปฏิบัติการทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมี การรับรู้สภาพการทำงานทีÉเป็นอันตรายไม่ต่างกัน พนักงานทีÉมีระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ อริศรา [6] ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีอายุการทำงานแตกต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉเป็นอันตรายไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนวรรณ [7] ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีประสบการณ์การทำงานแตกต่างกันมีการ รับรู้ระบบความปลอดภัยไม่แตกต่างกัน จากผลการวิจัยสรุปโดยรวมพบว่า พนักงานทีÉมี ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ สมรส และระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำ งานไม่ต่างกัน ทัÊงนีÊอาจ เนืÉองมาจากพนักงานระดับปฏิบัติการมีหน้าทีÉและความ รับ ผิด ช อ บ ใ น ง า น อ ยู่ใ น สัง ค ม แ ล ะ วัฒน ธ ร ร ม สภาพแวดล้อมการทำงานเหมือนๆ กัน ปฏิบัติงานภายใต้ นโยบายและผู้บริหารเดียวกัน ซึÉงในการทำงานพนักงานทุกคน จะต้องทำงานให้ได้มาตรฐานตามทีÉบริษัทกำหนด ดังทีÉ พิมพ์จันทร์ [5] กล่าวว่าสถานการณ์ทางสังคมทีÉบุคคลนัÊน ร่วมอยู่ด้วยมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล อีกสาเหตุหนึÉง อาจเป็นเพราะว่าก่อนเข้าทำงานบริษัทได้มีการอบรม เกีÉยวกับกฎและนโยบายความปลอดภัยของบริษัท มีการจัด กิจกรรมและนิทรรศการความปลอดภัยซึÉงเปิดโอกาสให้ พนักงานได้มีส่วนร่วมอันจะส่งผลต่อการรับรู้และ เสริมสร้างทัศนคติด้านความปลอดภัยทีÉดีให้กับพนักงาน ทำให้พนักงานรับรู้เรืÉองการทำงานทีÉปลอดภัยใกล้เคียงกัน ดังคำกล่าวของ สุชา [8] ทีÉว่าองค์ประกอบทีÉมีอิทธิพลต่อ การรับรู้ขึÊนอยู่กับสิÉงเร้า ได้แก่ ขนาด ความเข้ม การกระทำ ซํÊาๆ และความพร้อมทีÉจะรับรู้ของบุคคล นอกจากนีÊยังมี หัวหน้างาน และเพืÉอนร่วมงานคอยให้คำแนะนำในการ ทำงาน และเมืÉอพนักงานทำงานไปเรืÉอยๆ ก็ได้รับข่าวสารข้อมูล เกีÉยวกับความปลอดภัยทำให้สามารถตีความได้ว่าการทำงาน ในลักษณะใดจึงจะทำให้เกิดความปลอดภัยสาเหตุเหล่านีÊ อาจมีผลทำให้พนักงานในสายงานการผลิตมีปัจจัยส่วน
  • 6. บุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรสและ ระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกัน มีการรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำงานไม่ต่างกัน 6 สมมติฐานทีÉ 2 พนักงานทีÉมีปัจจัยส่วนบุคคล ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉ ทำงานของพนักงานสายการผลิตต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทีÉ.05-.000 กล่าวคือ พนักงานทีÉมีอายุ กลุ่มงาน และมี ประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุต่างกันมีพฤติกรรมการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิตต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมี พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ พนักงานสายการผลิตต่างกัน ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐาน ทีÉตัÊงไว้ และพบอีกว่าพนักงานทีÉมีอายุน้อยจะมีพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานสูงกว่า พนักงานทีÉมีอายุมาก ทัÊงนีÊอาจจะเนืÉองมาจาก พนักงานทีÉมี อายุมากจะไม่ค่อยเชืÉอฟังและปฏิบัติตามกฎระเบียบทีÉ หัวหน้างานสัÉง ซึÉงส่วนมากหัวหน้างานมักจะเป็นนักศึกษา ทีÉจบมาใหม่อายุยังน้อย พนักงานทีÉมีอายุมากมักจะทะนง ตนว่ามีความเป็นอาวุโสกว่ามักจะไม่ค่อยปฏิบัติตามกฏ ระเบียบในเรืÉองความปลอดภัยในโรงงาน และ สอดคล้องกับงานวิจัยของกนกนิภา [9] ทีÉศึกษาพบว่า พนักงานทีÉมีอายุต่างกันมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการ ทำงานต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีกลุ่มงานต่างกันมี พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ พนักงานสายการผลิตต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีÉ .05-.000 ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ โดยพนักงาน กลุ่มงาน B จะมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกับ อุบัติเหตุสูงสุด รองลงมาคือ กลุ่มงาน C และกลุ่มงาน A ตามลำดับ ทัÊงนีÊเนืÉองมาจากลักษณะการทำงานทีÉแตกต่าง กัน ระดับความปลอดภัยในการทำงานก็แตกต่างกัน สภาพแวดล้อมและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุก็ แตกต่างกันดังนัÊนจึงทำให้พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานแตกต่างกัน พนักงานทีÉเคยมีประสบการณ์ได้รับอุบัติเหตุ ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉ ทำงานของพนักงานสายการผลิตกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติทีÉระดับ .05 - .000 ซึÉงเป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ นันÉ คือ พนักงานทีÉไม่เคยได้รับอุบัติเหตุจากการทำงานจะมี พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน ของพนักงานสายการผลิตสูงกว่าพนักงานทีÉเคยได้รับ อุบัติเหตุจากการทำงาน โดยสาเหตุน่าจะมาจากพนักงานทีÉ ไม่เคยมีประสบการณ์จากการได้รับอุบัติเหตุจากการ ทำงานจะมีการป้องกันตัวเองเป็นอย่างดีเพราะกลัวการ บาดเจ็บซึÉงเห็นพนักงานด้วยกันทีÉได้รับอุบัติเหตุจากการ ทำงานทีÉเพืÉอนเคยได้รับ ดังนัÊนพนักงานเหล่านีÊจึงให้ความ สนใจในเรืÉองการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุมากกว่า พนักงานทีÉมีเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีพฤติกรรมการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิตไม่ต่างกัน พนักงานทีÉมีเพศต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตไม่ ต่างกัน ดังนัÊนพนักงานทีÉมีเพศต่างกันจึงไม่มีผลต่อการมี พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของ พนักงานสายการผลิต ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ กนกนิภา [9] ทีÉพบว่า พนักงาน ฝ่ายผลิตโรงงานผลิตอะไหล่จักรยานเขตพระประแดง ทีÉมี เพศต่างกันมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานไม่ ต่างกัน พนักงานทีÉมีระดับการศึกษาต่างกันมีพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของ พนักงานสายการผลิตไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตาม สมมติฐานทีÉตัÊงไว้ อาจจะเนืÉองมาจากพนักงานได้รับทราบ ถึงมาตรฐานการปฏิบัติเรืÉองการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุอย่างชัดเจนและมีการจัดอบรมอย่างต่อเนืÉองมี การติดตามผลหลังการฝึกอบรม ทัÊงพนักงานทีÉเข้าใหม่
  • 7. และพนักงานเก่า ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ สมชาย [10] ทีÉพบว่าระดับการศึกษาต่างกันมีพฤติกรรมความ ปลอดภัยในการทำงานของคนงานไม่แตกต่างกัน 7 พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสต่างกันมีพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิตไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊง ไว้ น่าจะเนืÉองมาจากบริษัทได้มีการจัดอบรมการใช้ อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานให้กับพนักงานทีÉ เข้ามาทำงานทุกคน และพนักงานกลัวอุบัติเหตุทีÉจะเกิดขึÊน สอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนวรรณ [7] ทีÉพบว่า พนักงานทีÉมีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีพฤติกรรม ความปลอดภัยในการทำงานไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัยพบว่า พนักงานทีÉมีระยะเวลา ปฏิบัติงานต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงานสายการผลิตไม่ต่างกัน ซึÉงไม่เป็นไปตามสมมติฐานทีÉตัÊงไว้ ซึÉงทัÊงนีÊอาจเป็น เพราะว่าแนวทางการบริหารและความเอาใจใส่ของ หัวหน้างานจะมีลักษณะเป็นไปในทิศทางเดียวกันทัÊงกับ พนักงานใหม่และพนักงานเก่า ดังนัÊนระยะเวลาในการ ปฏิบัติงานของพนักงานทีÉแตกต่างกันจึงไม่ส่งผลต่อ พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน ของพนักงานสายการผลิต สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมชาย [10] ทีÉพบว่าคนงานทีÉมีอายุงานแตกต่างกันมี พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานไม่แตกต่างกัน สมมติฐานทีÉ 3 การรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิต ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในทีÉทำงานของพนักงาน สายการผลิตโดยรวมและรายด้านอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติทีÉระดับ .01-.000 ซึÉงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฟ้ารัตน์ [11] ทีÉพบว่าการรับรู้เกีÉยวกับความปลอดภัยใน การทำงานมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยใน การทำงานของคนงานก่อสร้างงานและงานวิจัยของ ปัทมา [12] พบว่าความรู้ด้านการจัดการความปลอดภัยมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติทีÉระดับ .01-.000 ทัÊงนีÊอัน เนืÉองมาจากก่อนเกิดพฤติกรรม มนุษย์จะต้องมีการรับรู้ เกิดขึÊนก่อน แล้วจึงนำการรับรู้นัÊนมาคิดและตัดสินใจ จากนัÊนจึงแสดงออกเป็นพฤติกรรมตามทีÉสุรพล [13] กล่าวว่า ถ้าบุคคลไม่รับรู้ก็จะไม่มีผลมาสู่พฤติกรรม ใน การวิจัยครัÊงนีÊพนักงานมีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลางทำ ให้พนักงานสามารถแปลความหมายของสิÉงเร้าต่างๆ ได้ดี พอสมควร รวมทัÊงได้รับการฝึกอบรมเกีÉยวกับความ ปลอดภัยอย่างสมํÉาเสมอ ทำให้พนักงานมีความรู้เกีÉยวกับ การปฏิบัติงาน 6. ข้อเสนอแนะ 6.1 ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม จากผลการวิจัยเรืÉองการรับรู้สภาพแวดล้อมในการ ทำงานทีÉปลอดภัยและพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุในการทำงานของพนักงานสายการผลิต ศึกษา เฉพาะกร ณีพนักงานของบริษัท โ ร แ ย ล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) ผู้วิจัยเสนอข้อคิดเห็นและ เสนอข้อชีÊแนะดังนีÊ 6.1.1 จากการวิจัยพบว่า พนักงานมีการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง ซึÉงถือ ได้ว่าพนักงานมีความรู้ และเชืÉอว่าบริษัทได้กำหนด แนวทางในการดำเนินงานเกีÉยวกับความปลอดภัยเพืÉอให้ พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยในระดับ ปานกลาง ดังนัÊนบริษัทควรทีÉจะสนับสนุนแนวทางการ ดำเนินงานให้อยู่ในระดับดีมากขึÊน เพืÉอให้พนักงานมีการ รับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยมากขึÊนโดย ปรับปรุงสภาพสิÉงแวดล้อมทางกายภาพในเรืÉองของ อุณหภูมิในทีÉทำงาน เสียงในบริเวณทีÉทำงานและโฟลิฟท์
  • 8. วิงÉไปมาซึÉงมีค่อนข้างสูง และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ทีÉปลอดภัยด้านสิÉงแวดล้อมทางเคมีควรมีการปรับปรุง เรืÉองของป้ายเตือนอันตรายจากสารเคมี การเก็บรักษา สารเคมี และการใช้เชืÊอเพลิงในการผลิตมากเกินไป และ สภาพสิÉงแวดล้อมทางชีวภาพควรปรับปรุงในเรืÉองของหนู สุนัขและการขับถ่ายของนกทีÉมีค่อนข้างสูง และกระถาง ไม้ดอกไม้ประดับค่อนข้างมีน้อยควรมีมากกว่านีÊ เพืÉอให้ พนักงานรู้สึกผ่อนคลายไม่เครียด และควรมีการปรับปรุง สภาพสิÉงแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัยและควรมีการ ตีพิมพ์เอกสารเพืÉอเผยแพร่เรืÉองความปลอดภัยให้กับ พนักงาน เพืÉอให้พนักงานเห็นถึงอันตรายทีÉอาจจะเกิดขึÊน ในการทำงาน และปรับเปลีÉยนพฤติกรรมในการให้ อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานทีÉดีมากขึÊน 8 6.1.2 จากการวิจัยพบว่า พนักงานมีพฤติกรรมการ ใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานอยู่ในระดับปาน กลาง ซึÉงถือได้ว่าพนักงานมีการใช้อุปกรณ์ป้องกัน อุบัติเหตุมีไม่มากนัก ดังนัÊนบริษัทควรตระหนักในเรืÉอง ของพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการ ทำงานของพนักงานสายการผลิตมากยิงÉขึÊน โดยเฉพาะการ จัดอบรม ซืÊออุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานให้ มากกว่าเดิมและได้มาตรฐานตามทีÉกฎหมายกำหนด มีการ กำหนด ระเบียบ ข้อบังคับและสร้างวินัยในการทำงานให้ เกิดพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ และต้อง ดำเนินการอย่างจริงจัง มีการกำหนดบทลงโทษเมืÉอ พนักงานไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ส่วนตัว พนักงานนัÊนก็จะต้องมีความพร้อมในการให้ความร่วมมือ ในการดำเนินการด้านความปลอดภัยเพืÉอลดอุบัติเหตุจาก การทำงาน 6.1.3 จากผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สภาพแวดล้อม ในการทำงานทีÉปลอดภัยมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานทีÉ ปลอดภัยของพนักงานสายการผลิต ซึÉงบริษัทควรจะจัดให้ มีการฝึกอบรมในด้านความปลอดภัยให้กับพนักงานอย่าง ต่อเนืÉองตามหลักสูตรทีÉกำหนดอย่างสมํÉาเสมอ บริษัท จะต้องให้ความสำคัญกันนโยบายด้านความปลอดภัยและ การใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีการจัด สถานทีÉให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และสร้าง บรรยากาศในการทำงานให้พนักงานเกิดทัศนคติทีÉดีต่อ ความปลอดภัย เมืÉอพนักงานมีทัศคติทีÉดีจะเกิดพฤติกรรมทีÉ ดีในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน มีการ จัดกิจกรรมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็นกำหนดแนวทางหรือวิธีการทำงานเพืÉอให้เกิดความ ปลอดภัยมากยิงÉขึÊน 6.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครัÊงต่อไป 6.2.1 ในการวิจัยครัÊงนีÊได้ทำการศึกษาเฉพาะกรณี พนักงานของบริษัทโรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) ถ้าต้องการให้ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ได้ กว้างขวางยิÉงขึÊนควรทำการศึกษากับกลุ่มประชากรใน อุตสาหกรรมประเภทอืÉนๆ ด้วย 6.2.2 ควรศึกษาถึงตัวแปรอืÉนๆ ทีÉมีผลต่อการรับรู้ สภาพแวดล้อมในการทำงานทีÉปลอดภัย เช่น ลักษณะของ ผู้บังคับบัญชา บุคลิกภาพ ความคาดหวัง เป็นต้น 6.2.3 ควรมีการศึกษาโดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล แบบอืÉนๆ ร่วมกับการใช้แบบสอบถาม เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกต เพืÉอให้ได้ข้อมูลทีÉสมบูรณ์มากยิงÉขึÊน 7. เอกสารอ้างอิง [1] คำแข แก้วพันนา. (2536). การรับรู้สภาพแวดล้อมใน การทำ งานของพัฒนากรในเขต 3.วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [2] รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2535). ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลิกภาพทัศนคติการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคล. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ส า ข า วิช า จิ ต วิท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [3] วีรมลล์ ละอองศิริวงศ์. (2541). ปัจจัยทีÉมีอิทธิพลต่อ การรับรู้สภาพการทำ งานทีÉเป็นอันตรายและ พฤติกรรมการทำงานอย่างปลอดภัยของพนักงาน ปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก.
  • 9. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [4] อารยา รัมภาภรณ์. (2539). ปัจจัยทีÉมีผลต่อความเข้าใจใน เครืÉองหมายความปลอดภัยทีÉใช้อยู่ในสถานประกอบการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศาสตร์ อุตสาหกรรมและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล. [5] พิมพ์จันทร์ เทียมเศวต. (2544). การรับรู้การทำงานทีÉ เป็นอันตรายและการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยของ พนักงานฝ่ายบริการลานจอดอากาศยาน บริษัทการ บินไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [6] อริศรา ปาดแม้น. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างการ รับรู้สภาพการทำงานทีเÉป็นอันตรายกับพฤติกรรมการ ทำงานทีÉปลอดภัยของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท รองเท้าบาจาแห่งประเทศไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [7] รัตนวรรณ ศรีทองเสถียร. (2542). ปัจจัยทีÉมีอิทธิพล ต่อการรับรู้ระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย ของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [8] สุชา จันทร์แอม. (2541). จิตวิทยาทัÉวไป. พิมพ์ครัÊงทีÉ 10. กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. [9] กนกนิภา ปิตกาญจนกุล. (2547). ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลิกภาพ ความรู้ด้านความปลอดภัยกับ พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน ฝ่ายผลิตโรงงานผลิตอะไหล่จักรยานเขตพระ ประแดง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ส า ข า วิช า จิ ต วิท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 9 [10] สมชาย เลาหะพิพัฒน์ชัย. (2540). ความสัมพันธ์ ระหว่างแบบแผนความเชืÉอด้านสุขภาพ ความเชืÉอ แหล่งอำนาจควบคุมทางสุขภาพกับพฤติกรรม ความปลอดภัยของคนงานในอุตสาหกรรม เครืÉองใ ช้ไ ฟฟ้า . วิท ย า นิพ น ธ์วิท ย า ศ า ส ต ร มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [11] ฟ้ารัตน์ สมแสน. (2537). ปัจจัยทีÉมีผลกระทบต่อ พฤติกรรมเกีÉยวกับความปลอดภัยในการทำงานของ คนงานก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ส า ข า วิช า จิต วิท ย า อุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. [12] ปัทมา พุ่มมาพันธ์. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลิกภาพความรู้ด้านการจัดการความปลอดภัยความ พึงพอใจต่อการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรม ความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานโรงงาน เหล็กกล้าไรสนิม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [13] สุรพล พยอมแย้ม. (2541). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.