SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 112
Descargar para leer sin conexión
กำลังอำนำจแห่งชำติด้ำนต่ำงๆในภำพรวม

www.elifesara.com

ekkachais@hotmail.com
ekkachais41@gmail.com
คำสอนของพระพุทธเจ้ำ
อย่ำยึดถือโดยกำรฟังกันตำมมำ
อย่ำยึดถือโดยกำรยึดถือสืบๆกันมำ
อย่ำยึดถือโดยกำรเล่ำลือ
อย่ำยึดถือโดยกำรอ้ำงตำรำ
อย่ำยึดถือโดยตรรกะ
อย่ำยึดถือโดยกำรอนุมำน
อย่ำยึดถือโดยกำรคิดตรองตำมแนวเหตุผล
อย่ำยึดถือเพรำะเข้ำกันได้กับทฤษฎีของตน
อย่ำยึดถือเพรำะมองเห็นรูปลักษณะน่ำเชื่อ
อย่ำยึดถือเพรำะนับถือว่ำท่ำนสมนะนี้เป็นครูของเรำ
แนวคิดและทฤษฎี
สถำนะปัจจุบนของไทย
ั
กำลังอำนำจ(ภูมิรัฐศำสตร์,องค์ประกอบ,คุณลักษณะ,ปัจจัย,
เครื่องมือ
กรณีศึกษำ
CONCEPT
จากหนังสือสงครามและสันติภาพ
“ความรู้แจ้งแห่งหลักการ”
เราสามารถเปลี่ยนการก่อกวนให้เป็น
ระเบียบได้
เปลี่ยนอันตรายให้เป็นความปลอดภัย
เปลี่ยนการทาลายล้างให้เป็นการอยู่รอด
เปลี่ยนความพินาศให้เป็นโชคดี
การศึกษาเรื่องยุทธศาสตร์
• นักศึกษำและผู้สอนวิชำยุทธศำสตร์ ต้องศึกษำตำม
ควำมเข้ำใจของตน ที่ได้ประสบมำของแต่ละคน
• หลำยคนปฏิเสธกำรรับรู้เรื่องยุทธศำสตร์ โดยวิจำรณ์
ว่ำ “เรื่องนี้อย่ำนำมำถกเถียงกันไปเลยเนื่องจำกเป็นเรื่อง
ของยุทธศำสตร์”
• บำงคนกล่ำวว่ำ ยุทธศำสตร์เป็นเรื่องเกินสติปัญญำ
ของมนุษย์ที่จะทำควำมเข้ำใจได้

• เป็นเรื่องปัจจัตตัง รู้ได้โดยตนเองเท่ำนั้น
ยุทธศาสตร์ชาติ(National Strategy)
National Purpose
Value and National Style
National Interests
Basic National Objectives

National Security Policies

National Powers/Geopolitics
กำรศึกษำยุทธศำสตร์
ความมุ่งประสงค์แห่งชาติ (National Purpose)
๑.ค่านิยม(Values)
๒.แบบแผนของชาติ (National Style)
ผลประโยชน์แห่งชาติ(National Interests)
วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ(Basic National Objectives)
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ(National Security Policies)
กาลังอานาจของชาติ(National Powers)
สภาพประเทศทางภูมิรัฐศาสตร์
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
กำรประเมินยุทธศำสตร์ชำติ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
การกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ

การวิเคราะห์กาลังอานาจแห่งชาติและแบบแผนของชาติ
การกาหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
กำรประเมินยุทธศำสตร์ชำติ
ผลประโยชน์แห่งชาติ
Distributor
แบบแผนของชาติและค่านิยม

Tier 2
สถานการณ์โลกและภูมิภาค
Supplier

การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
Enterprise

Contract
สถานการณ์ประเทศรอบบ้าน
Manufacturer
ประเทศใกล้เคียงและในประเทศ

กาลัSupplier งชาติ
งTier 1
อานาจแห่
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Defense of homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotion of value












Global
State
Non State
Actors Leaders

Value and
National Style

ภูมิศาสตร์
National
National Powers
ภาวะประชากร
Security
Strategy
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
Personal,
Regional,
Social,
กาลังทหาร
International
National,
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
การศึกษา
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย

Model National Security Assessment : EKMODEL
Strategic Thinking

R/D Situation
Global,Region,Neighbor,Domestic

Method
Theory
Model Strategy

Transforming
Thailand

Educate/Training
FUTURE STUDIES
GEOPOLITICS

NATIONAL POWER

Implement

Tempo Thailand
Transforming
กำลังอำนำจ(National Power)
องค์ประกอบ
(ELEMENTS)

คุณลักษณะ
(CHARACTORISTICS)

โครงสร้างของกาลังอานาจ
(STRUCTURE OF NATIONAL POWER)

เครื่องมือ
(INSTRUMENTS)

ปัจจัย

(FACTORS)
Leadership
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง

Resource
Sciences and Technology

Socio-psychotically

Political

Geopolitics
Economic

Military
แนวทำงสู่ควำมรู้ในกำรศึกษำยุทธศำสตร์ชำติ
GEOPOLITICS

NATIONAL
STRATEGY

FUTURE STUDIES

NATIONAL POWER

www.kpi.ac.th
Bartlett Model
STRATEGY

GOALS
(Ends)

TOOLS
(Means)

RISK
GLOBAL CONFLICT
Globalisation & Localisation
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low
Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
EKMOD
แนวทางสู่ความรู้ในการศึกษายุทธศาสตร์ชาติ
GEOPOLITICS

NATIONAL
STRATEGY

FUTURE STUDIES

NATIONAL POWER

www.kpi.ac.th
FUTURE STUDIES METHOD

Anticipatory thinking
Assessments Environmental
scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis

Futures biographies
Futures wheel
Morphological analysis
Monitoring
Mission flow diagram
Relevance tree
Role playing
Simulation and modeling
Social network analysis
Systems engineering
Scenario method
Trend analysis
Trend Extrapolation
Time-space grids
Technology forecasting
เสือ ๘ ตัวใน
เอเชียจะ
เปลี่ยนแปลงโลก
จากหนังสือ Megatrend 2000 และ
Megatrend Asia ของ John Nibitt
ทำนำยควำมเจริญของโลกจะไหลกลับมำอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกำหลี และ
อำเซียน
ธนำคำรโลกวิเครำะห์ว่ำปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหำอำนำจทำงเศรษฐกิจ
อันดับ ๑ ของโลก ตำมด้วยสหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี
สหรัฐฯร่วมมือกับสหภำพยุโรปสกัดกั้นกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจของจีน
ใช้มำตรกำรระเบียบโลกใหม่เข้ำมำกดดันคือ สิทธิมนุษยชน
ประชำธิปไตย สิ่งแวดล้อม และ กำรค้ำเสรี
จีนต่อสู้ไม่ยอมอ่อนข้อ ทั้งเงินสกุลหยวนของจีนยังไม่อยู่ในระบบกำรเงิน
สำกล สหรัฐฯ จึงโจมตีเครือข่ำยจีนเป็นประเทศที่เวลำตรงกับจีน เช่น
ไต้หวัน เกำหลี มำเลเซีย ไทย สิงคโปร์และ อินโดนีเซีย
แนวโน้มมหำอำนำจทำงเศรษฐกิจโลก
ชาติร่ารวยจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสองประเทศนี้ ก่อนที่ทุกอย่างจะสาย
โกลด์แมน แซคส์ วาณิชธนกิจชื่อดังคาดการณ์ว่าปี ๒๐๕๐ GDP ของจีน
จะขยายตัวจากมูลค่ารวม ๒ เป็น ๔๘.๖ ล้านล้านดอลลาร์
จีพีดของอินเดียปัจจุบันไม่ถง ๑ ล้านล้านดอลลาร์ แต่จะขยายสูงขึ้นถึง
ี
ึ
๒๗ ล้านล้านดอลลาร์
สหรัฐฯ GDP จะเพิ่มจาก ๑๓ ล้านล้านดอลลาร์ เป็น ๓๗ ล้านล้าน
ดอลลาร์เท่านั้น ซึ่งน้อยกว่าจีนถึง ๑๐ ล้านล้านดอลลาร์
ปี 2050 เศรษฐกิจของจีนและอินเดียมีแนวโน้มจะขยายตัวถึง ๒๒ เท่า
ขณะที่ชาติ G7 มีแนวโน้มขยายตัวเพียง ๒.๕ เท่าเท่านั้น
จีนและอินเดีย เข้าไปลงทุนในแอฟริกาอย่างมาก
(เจมส์ วูลเฟนซอห์น อดีตประธานธนาคารโลกพูดที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์
เวลส์ ซิดนีย์)
ควำมรู้ในกำรศึกษำยุทธศำสตร์ชำติ
GEOPOLITICS

ภูมิศาสตร์การเมือง
ประชาชนและสังคม
ดินแดนที่มีขอบเขตแน่นอน
รัฐบาล
อานาจอธิปไตย

FUTURE STUDIES

NATIONAL POWER

www.kpi.ac.th
แนวคิดทำงภูมิรัฐศำสตร์
Geopolitics
 ภูมิรัฐศาสตร์มีความเกียวโยงและสัมพันธ์กนกับภูมิศาสตร์
่
ั
ที่ตั้ง และการกาหนดนโยบายต่างประเทศของรัฐนันๆ
้
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) มีรากฐานมาจากลักษณะเฉพาะ ๔ ประการคือ
 ภูมิศาสตร์การเมือง
 ประวัติศาสตร์
 การใช้ลัทธิอานาจนิยม
 ยุทธศาสตร์ทางบก ทางเรือ และทางอากาศ

แนวคิดนี้ได้ถกฮิตเลอร์นำเอำไปใช้
ู
พล.จ.ดร.คาร์ล เฮาส์โฮฟเฟอร์
(Karl Ernst Houshofer)

ผู้อานวยการสถาบันภูมิรัฐศาสตร์ ของเยอรมัน(ค.ศ. ๑๘๖๐–๑๙๔๕)
 ผสมผสานแนวความคิดของแมคคิน
เดอร์ในเรื่องความสัมพันธ์ของ
ทรัพยากร
 เสนอความต้องการด้านทรัพยากร
ให้แก่กาลังอานาจของโลก

แนวควำมคิดทำงกำรเมืองของรัฐซึ่งเป็นเสมือนองค์กร
แนวทำงสู่ควำมรู้ใน กำรศึกษำยุทธศำสตร์ชำติ
GEOPOLITICS

NATIONAL
STRATEGY

FUTURE STUDIES

NATIONAL POWER

www.kpi.ac.th
กำลังอำนำจแห่งชำติ
• ความสามารถของรัฐ/ประเทศ ในอันที่จะก่อให้เกิดอิทธิพลแก่รัฐ/
ประเทศอื่น ๆ

• ความสามารถของชาติหนึ่ง ที่สามารถชักจูงใจ
ทาให้ชาติอื่นกระทาการใด ๆ ตามที่ตนปรารถนา
หรือเป็นผลให้เกิดความกดดัน จนบรรลุวัตถุประสงค์
ทางการเมืองของชาติได้
.. ควำมหมำยกำลังอำนำจแห่งชำติ
Hans J.
Morgenthau

ขีดความสามารถในการใช้อทธิพลเหนือจิตใจผู้อื่น
ิ

Frederick H.
Hartmann

ความเข้มแข็งที่ชาติมีอยู่
เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของตน

Inis L.
Claude

ความสามารถในการทาลายสิ่งต่าง ๆ
ทั้งที่มชีวิตและไม่มีชีวิต
ี

Ft.
Leavenworth

กาลังทั้งสิ้น/ขีดความสามารถของชาติ
ในการทาให้ผลประโยชน์ของชาติบรรลุผล

Harold
Sprout

ขีดความสามารถทั้งหมดของรัฐ
ที่จะทาให้บรรลุความมุ่งหมายที่มีต่อรัฐอื่น
กำลังอำนำจแห่งชำติ(National Power)
ความสามารถของชาติในการกระทาไดๆ เพื่อผลักดัน โน้มนา
ให้การดาเนินการ บรรลุสู่ปลายทางที่ต้องการ

การเมืองระหว่างประเทศและภายในประเทศ
เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
กำลังอำนำจแห่งชำติ(National Power)
กาลังอานาจของชาติ มีตัวตนและไม่มีตัวตน
ไม่มีประเทศใดมั่นใจว่ากาลังอานาจแห่งชาติที่มีอยู่แล้วนั้นเพียงพอ
ประเทศที่แพ้สงครามมาจากคาดคะเนกาลังอานาจของประเทศตรง
ข้ามผิดพลาด
จะต้องศึกษาวิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกาลังอานาจ
แห่งชาติ
สามารถประเมินกาลังอานาจแห่งชาติทั้งของชาติตนและชาติอื่น
กาลังอานาจแห่งชาติที่เป็นรูปธรรม ไม่ได้เป็นเครื่องชี้ว่าเหนือกว่า
ชาติอื่น
กำลังอำนำจแห่งชำติ
ลักษณะที่สาคัญของกาลังอานาจแห่งชาติคือมีความไม่แน่นอนในตัวเองและ
สามารถจะเปลี่ยนแปลงได้
ถ้าประเทศหนึ่งมีกาลังความสามารถเพิ่มขี้น แต่อีกประเทศหนึ่งมีกาลัง
ความสามารถคงที่ กาลังอานาจประเทศหลังย่อมลดน้อยลงโดยการเปรียบเทียบ
กาลังอานาจของประเทศที่มีอยู่ จะสามารถสร้างเพิ่มเติมได้จากภายในประเทศ
และภายนอกประเทศ
การพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของชาติไว้ได้ต้องมีกาลังอานาจที่เข้มแข็ง
ทุกประเทศต้องการมีกาลังอานาจที่เข้มแข็ง และพยายามเสริมสร้างกาลังกองทัพ
ให้มีแสนยานุภาพเหนือกว่าประเทศที่เป็นศัตรูหรือมีผลประโยชน์ของชาติขัดกัน
ประเทศที่มีกาลังอานาจแห่งชาติมากกว่า จะใช้การป้องปรามเพื่อบีบบังคับ
ประเทศที่ด้อยกว่าให้ปฏิบัตตามที่ปรารถนา
ิ
องค์ประกอบของกำลังอำนำจแห่งชำติ
(Elements of National Power)
แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างรัฐต่างๆ
กฎหมายระหว่างประเทศถือว่ารัฐทุกรัฐมีความเท่าเทียมกันไม่ว่ามี
ขนาดใด เศรษฐกิจและการทหารเป็นอย่างไรมีสิทธิออกเสียงใน UN ได้
เพียง ๑ เสียง
ขีดความสามารถของรัฐเป็นคุณสมบัติทแสดงให้เห็นฐานะที่เป็นจริง
ี่
ของรัฐนั้นในเวทีระหว่างประเทศ
ขีดความสามารถเป็นเสมือน “รากฐานของอานาจแห่งรัฐ”
รัฐจะเป็นเครื่องมือในการสร้างอานาจ(Power Inventory)
เป็นอานาจที่เป็นศักยภาพในการดาเนินนโยบายของประเทศ
“There is no instance of a country having
been benefited from a long war”

•การทาสงครามจะต้องชัยชนะเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
•ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้การรบยืดเยื้อ
•ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศ
จะมีปัญหา
•กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคม
กล้า ขวัญ ทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
รู้เขาและรูเ้ รา
ปัจจัยกาลังอานาจที่เป็นนามธรรม
กาลังอานาจทางเศรษฐกิจ
กาลังอานาจทางการเมือง
กาลังอานาจทางการทหาร
กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา
SUN WU TZU

หลักการสงคราม
Niccolo Machiavelli
ยุทธศาสตร์คอ“การใช้กาลังอานาจของชาติเพื่อบรรลุ
ื
วัตถุประสงค์ของชาติ”
เมือง/รัฐ/ประเทศ/จักรวรรดิ จะปกครองในแบบใดต่างมีแนวคิดที่จะ
ใช้กาลังอานาจของชาติ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของตนเสมอ
การพัฒนาแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ มีลักษณะมุ่งไปสู่จุดหมายปลายทาง
(Ends) หรือวัตถุประสงค์(Objectives) เน้นถึงเครืองมือ (Means)ที่มี
่
ประสิทธิภาพ โดยไม่คานึงถึงศีลธรรมและอุดมการณ์
Niccolo Machiavelli
นักยุทธศาสตร์ยุคใหม่ ชาวอิตาเลียน ๑๔๖๙-๑๕๒๗
พัฒนากฎเกณฑ์การใช้กาลังอานาจทางการเมือง (Political
Power)
เสนอรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกาลังอานาจของรัฐ
(Power of the state)
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติการเมือง สังคมจิตวิทยา และการทหาร
“ ยุทธศาสตร์ ”กับ“ กาลังอานาจของรัฐ (ชาติ) ”
มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้
Niccolo Machiavelli
เสนอให้ผู้นาแก้ปัญหาทั้งมวลของชาติด้วยการใช้กาลัง
อานาจของชาติในทางประชาธิปไตย กับทางอานาจนิยม
ผู้ที่ได้รับอิทธิพลจากมาเควเวลลีที่สาคัญของโลกคือ
่
โทมัส เจฟเฟอร์สัน นิโคไล เลนิน และอด๊อล์ฟ ฮิตเลอร์
เป็นต้น
พล.ต. คาร์ล ฟอน เคล้า เซวิทส์
( KARL VON CLAUSEWITZ)

นักยุทธศาสตร์ชาวปรัสเซีย ค.ศ. ๑๗๘๐ – ๑๘๓๑
ได้รับอิทธิพลมาจาก มาเกียเวลลี และนโปเลียน
เขียนตารายุทธศาสตร์ทหาร ชื่อ “ON WAR”
ได้รับสมยาให้เป็น “บิดาของกาลังทางบก”
แนวความคิดการยุทธศาสตร์ทหารที่สาคัญ คือ
ยุทธศาสตร์ทหาร = จุดมุ่งหมาย + การรบ
พลังอานาจของชาติ = การเมือง + สังคม + ทหาร + เศรษฐกิจ
Karl Von Clausewitz นายทหารปรัสเซีย
ใช้กาลังอานาจทั้ง การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และการทหาร เป็นเจ้าของ
แนวความคิด “สงคราม คือ การดาเนินการเมืองต่อไปโดยวิธีอื่น

เมีแนวคิดเรื่องกาลังทางบกขนาดใหญ่อย่างเดียวไม่ได้กล่าวถึง

แสนยานุภาพทางเรือไว้เลย มีสมญาว่าบิดากาลังอานาจทางบก
ได้เรียบเรียงคาสอนเกี่ยวกับหลักการสงคราม
(The Most Important Principles for the Conduct of War)

ได้รับการยอมรับโดยกว้างขวางว่าเป็นหลักการที่สาคัญที่สุดของการดาเนินการสงครามในระยะต่อมา
นโปเลียนนักยุทธศาสตร์ยุคใหม่
• อาศัยพื้นฐานความรู้ของมาเกียเวลลี่ และ เคลาซ์เซวิส

•ประสบความสาเร็จในการรบด้วยการระดมทรัพยากรและ
กาลังอานาจของชาติทั้งมวลเข้าไว้ด้วยกันอย่างได้ผล
• ปลุกเร้าให้คนในชาติเกิดความรักชาติก่อให้เกิดชาตินิยม

• ทาสงครามแบบเบ็ดเสร็จ
Mackinder’s Theory
เป็นทฤษฎีทำงภูมิรัฐศำสตร์ (Geopolitics)
ประเทศใดถ้ำมีภูมิประเทศ หรือ สำมำรถยึดบริเวณจุดสำคัญ
(Pivot Area) หรือใจโลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะ
เป็นผู้ครองอำนำจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตำมแนวควำมคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเล
บอลติค ทุ่งหญ้ำสะเต็บตอนกลำงของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็น
ทะเลน้ำแข็งตลอดปี ด้ำนเหนือเป็นมหำสมุทรอำร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็น
ชัยภูมิเหมำะเพรำะเรือเข้ำไม่ถึง แม่น้ำดำนูบดนีเปอร์ เอเซียไมเนอร์
จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์

หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
ใช้กำลังอำนำจแห่งชำติเป็นเครื่องมือตำมยุคสมัย
Military Power
Politics Power

National
Power

Economics Power
Sociological Power

www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power

National
Power

Economics Power
Sociological Power

Media Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
National
Power

Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture

Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,
TV, Radio
www.kpi.ac.th
Sir Halford Mackinder

Geopoliitika:Geopolitics
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”

แนวคิดนี้ได้รับกำรพิสูจน์หลังสงครำมโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกำลังในบริเวณพื้นที่ต่ำง ๆ
ของโลกอย่ำงเป็นระบบ เพื่อป้องกันกำรเข้ำครอบครองใจโลกของฝ่ำยคอมมิวนิสต์

การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพ
เป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธา
นุภาพ
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน

จำนวนพลเมือง ทรัพยำกร กำรเดินเรือ
Rimland

Eurasia

World
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพืนที่ส่วนต่างๆของโลกได้
้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์
Heart Land and Rim Land Strategy

http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
EURASIA
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
บิดำแห่งกำลังอำนำจทำงทะเล
เป็นผู้บรรยำยในวิทยำลัยกำรทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของกำรใช้กำลังอำนำจทำงเรือ
เสนอแนวคิดกำลังอำนำจทำงทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้ำ
ทะเล คุมเส้นทำงเดินเรือ และแสวงหำทรัพยำกรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”

แนวคิดนี้ได้รับกำรพิสูจน์หลังสงครำมโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกำลังในบริเวณพื้นที่ต่ำง ๆ
ของโลกอย่ำงเป็นระบบ เพื่อป้องกันกำรเข้ำครอบครองใจโลกของฝ่ำยคอมมิวนิสต์

การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพ
เป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธา
นุภาพ
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน

จำนวนพลเมือง ทรัพยำกร กำรเดินเรือ
Rimland

Eurasia

World
Alfred Thayer Mahan
เอำเหตุกำรณ์ทำงประวัติศำสตร์มำพัฒนำแนวควำมคิดของตน
ควำมสัมพันธ์ของกำลังอำนำจทำงเรือกับเศรษฐกิจ
กำลังอำนำจทำงเรือย่อมขึ้นอยู่กับควำมแข็งแกร่งทำงเศรษฐกิจ
ควำมก้ำวหน้ำทำงเศรษฐกิจต้องกำรแหล่งวัตถุดิบและตลำดเป็น
ประกำรสำคัญ
มีแนวควำมคิดว่ำรัฐที่มีขีดควำมสำมำรถทำงเรือและมีกำรค้ำขำย
ทำงทะเลย่อมได้เปรียบกว่ำรัฐอื่น ๆ
Alfred Thayer Mahan
รัฐจาเป็นต้องเปิดเส้นทางคมนาคมทางทะเลให้มากพอ
และมากยิ่งกว่าทางพื้นดิน
กำรพัฒนำกำลังอำนำจทำงเรือ ต้องแสวงหำ
สิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพต่ำง ๆเช่น ฝั่งทะเล
ท่ำเรือธรรมชำติ และที่ตั้งทำงยุทธศำสตร์
รายละเอียดและความชัดเจนในปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ

เกี่ยวกับกาลังอานาจแห่งชาติทางทะเล
Alfred Thayer Mahan

องค์ประกอบกำลังอำนำจทำงทะเล
•ที่ตั้งทำงภูมิศำสตร์
•รูปร่ำงทำงกำยภำพ
•กำรขยำยดินแดน
•จำนวนพลเมือง
•คุณลักษณะของประชำกร
•คุณลักษณะของรัฐบำล

Sea Power Strategy
แนวคิดแบบ Hard Power
ขาดความรู้ ความคิด ในวัฒนธรรมทีแตกต่างกัน
่
การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft
Power ได้
ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
Case การฆ่าตัดคอเผยแพร่สื่อ Internet ของตะวันตก
การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
ครูสอนศาสนาเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทาง
ศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง
เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
ขีดความสามารของชาติ
การใช้ประโยชน์จากปัจจัยทางกายภาพของรัฐบาลได้แก่
สภาพทางภูมิศาสตร์และประชากร
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
รัฐที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย
หรือรวบอานาจ
สภาพทางภูมิศาสตร์ทาให้ได้เปรียบในทางยุทธศาสตร์
ประชากรกับทรัพยากรธรรมชาติจะเป็นหลักคู่กันของกาลังอานาจ
ความพร้อมรบทางการทหาร และการพัฒนาอุตสาหกรรม
มีปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสาคัญอยู่ไม่น้อยต่อกาลังอานาจแห่งชาติ ได้แก่
ภาพพจน์ของประเทศ หรือทัศนะที่ประเทศอื่นมีต่อประเทศนั้น
ประเมินรำกวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง
Culture as the Root of Competency
Country

Cultural Orientation

Germany

Engineering Culture

France

Chic Culture

Italy

Sexy Culture

Britain

Heritage Culture

Japan

Technology Culture

USA

Youth Culture

Thailand

?
รากวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง
Culture as the Root of Competency
Country

Cultural Orientation

Germany

Engineering Culture

France

Chic Culture

Italy

Sexy Culture

Britain

Heritage Culture

Japan

Technology Culture

USA

Youth Culture

Thailand

Human Touch Culture
ลักษณะประจาชาติ
วัฒนธรรม
จำรีตประเพณี
ปทัสฐำน
ศำสนำ
ควำมกระตือรือร้นของคนในชำติ
ทัศนคติต่อกำรทำงำน
จะต้องพิจำรณำปัจจัยต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกำลังอำนำจ
ภาพพจน์ของประเทศหรือทัศนะทีประเทศอื่นมีต่อประเทศนั้น
่
กาลังอานาจจะต้องมาพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวข้อง
–
–
–
–

ลักษณะนิสัยประจาชาติ (National Character)
ขวัญและกาลังใจ (Morale)
อุดมการณ์ (Ideology)
ภาวะผู้นาของประเทศ (National Leadership)
ลักษณะประจำชำติหรือนิสัยประจำชำติ(National Character)
ลักษณะในการคิด การแสดงความรู้สึก การกระทาของคนใน
ชาติโดยรวม
สิ่งที่ทาสืบต่อกันมาทางสายโลหิต ตามเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์
สภาพแวดล้อมในการดารงชีวิตและเติบโตในสังคมเดียวกัน
ความเป็นอยู่ การฝึกอบรม วัฒนธรรม การเลียนแบบ
ประสบการณ์ ฯลฯทาให้ประชากรมีความรู้สึกนึกคิดและการ
ประพฤติปฏิบัติเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ดูได้จากการประพฤติปฏิบัติของคนส่วนใหญ่ในชาติ ที่กาเนิดใน
ประเทศนั้น เป็นการประพฤติปฏิบัติอย่างสม่าเสมอและสืบทอด
กันมา จนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นลักษณะประจาชาตินั้น ๆ
ลักษณะนิสัยประจำชำติ
– เป็นเรื่องที่สับสนมาก และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
– ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะนิสัยประจาชาติกับกาลัง
อานาจแห่งชาติมิได้ขึ้นอยู่กับตัวลักษณะนิสัยทีมีอยู่จริง ๆ
่
เท่าใดนัก ขึ้นอยู่กับการที่ประเทศหนึ่งเชื่อว่าอีกประเทศ
หนึ่งเป็นอย่างไร
– ลักษณะนิสัยประจาชาติกับขวัญและกาลังใจของแต่ละ
ประเทศเป็นแหล่งกาเนิดของกาลังอานาจดูได้จาก
วัฒนธรรม ประสบการณ์จากประวัติศาสตร์ โครงสร้าง
ทางสังคม
ลักษณะนิสัยประจำชำติเป็นหัวใจ
ภำวะผู้นำเป็นมันสมอง
ภาวะผู้นาและภาพพจน์ของประเทศเป็นที่มาของกาลังอานาจ
ภาวะผู้นาบกพร่องทรัพยากรอื่น ๆ ก็อาจจะไม่เกิดประโยชน์
จานวนประชากรหรือศักยภาพทางเศรษฐกิจและทางทหารจะ
มีความเข้มแข็งก็ต่อเมื่อผู้นาของประเทศนั้นสามารถใช้
ประโยชน์จากทรัพยากร
ภาวะผู้นาสามารถจะตัดสินใจได้ว่าจะใช้ทรัพยากรของ
ประเทศอย่างไร
ลักษณะนิสัยประจำชำติ
รักสงบ เคำรพอำวุโส เชื่อโชคลำงของขลัง เชื่อกฎแห่งกรรม
ยอมตำมผู้มีอำนำจ รักเอกรำช สุกเอำเผำกิน ไม่ยอมให้ใคร
ดูหมิ่น รักถิ่นและครอบครัว อ่อนน้อมถ่อมตัว ชอบผู้นำ ทำ
สำรวย ชอบบันเทิง(สนุก) เมตตำกรุณำ ผักชีโรยหน้ำ ไม่
กระตือรือร้น เป็นคนใจกว้ำง ช่ำงอดช่ำงทน กตัญญูกตเวที
ชอบมีอภิสิทธิ์ จิตใจเอื้ออำรี โอนอ่อนผ่อนตำม มีควำมเกรงใจ
ให้อภัยเสมอ ตำมใจต่ำงชำติ ฉลำดเลือกงำน ทำกำรมักเบ่ง
เคร่งครัดเคำรพแด่พระมหำกษัตริย์
•สภาวิจัยแห่งชาติได้ประมวลไว้เป็นร้อยกรองโดยสมบูรณ์
กาลังอำนำจทางเศรษฐกิจ
ความสามารถทางเกษตรกรรม
ระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ

การจัดการทรัพยากร
ระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ
ลักษณะและขีดความสามารถของรัฐในด้านเศรษฐกิจ
อัตราส่วนของผลผลิตทางด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ
บริการ
ขีดความสามารถในการผลิต ทั้งปริมาณและคุณภาพ
ผลผลิตทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการทั้งปริมาณและคุณภาพ
GNP/GDP/รายได้ประชาชาติต่อหัว
การผลิตพลังงานและวัตถุปัจจัยอุตสาหกรรมหนัก
พลังทางแรงงานของชาติ
77
ความสามารถทางเกษตรกรรม
มีผลผลิตสูง
แรงงานที่ใช้และต้นทุนต่า
ความสามารถในการพัฒนาทางด้านเกษตรกรรม

กาลังอานาจด้านเศรษฐกิจ
การจัดการทรัพยากร
สัดส่วนทางทรัพยากรที่ใช้สอยและสะสมไว้
เป็นทุน
ส่วนสัดรายจ่ายของรัฐ
สัดส่วนของทรัพยากรที่ใช้เพื่อความมั่นคง
การพึ่งตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ
วิกฤติทำงกำรเศรษฐกิจ
ขำดดุลย์ทำงกำรค้ำ
ขำดดุลย์บัญชีเดินสะพัด
ขำดดุลย์กำรชำระเงิน
หนี้ต่ำงประเทศ
ฐำนะเงินสำรองระหว่ำงประเทศ
กำรลงทุนต่ำงประเทศไม่มี ถอนเงินออก
ธนำคำร, สถำบันกำรเงิน ทุจริต ล้ม
ดอกเบี้ยสูงจนดำเนินธุรกิจไม่ได้
79
กำลังอำนำจทำงเศรษฐกิจ
โครงสร้างระบบ
เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
กำรให้รำงวัลหรือลงโทษ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ควบคุมสินค้ำ บริกำร
การเงินและการคลัง
และทรัพยำกร
การผลิต-การตลาด-การบริโภค
สิทธิพิเศษทำงกำรค้ำ
กำรคว่ำบำตรทำงกำรค้ำ
การค้านานาชาติ
กำรห้ำมนำเข้ำ
การบริหารและพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
กำรช่วยเหลือจำกต่ำงประเทศ
โครงสร้างทุน
สถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจนานาชาติ
กำลังอำนำจทำงกำรเมือง
อุดมการณ์และอุปนิสัยของพลเมือง
รัฐบาลและนโยบายของรัฐบาล
•กำรบังคับขู่เข็ญ
การดาเนินการทางการทูต
•กำรเกลี้ยกล่อม
พันธมิตร
•กำรปรับจุดยืนเข้ำหำกัน
ความเชื่อถือในตัวผู้นา
•กำรบรรลุข้อตกลง
ความสามารถในการบริหารทรัพยากร
ความสามารถในการโน้มน้าวจิตใจ
ระบอบการปกครองและระบบบริหารการ
จัดการ
แนะแนวในกำรวิเครำะห์ทำงกำรเมือง
• รากฐานทางการเมือง
• องค์กรทางการเมือง
• การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
• เสถียรภาพทางการเมือง
• วิถีทางการเมืองระหว่างประเทศ
กำรดำเนินกำรทำงกำรทูตในหลำยลักษณะ คือ
การบังคับขู่เข็ญ (Coercion)
เกลี้ยกล่อม (Persuasion)
การปรับจุดยืนเข้าหากัน (Adjustment)
การบรรลุข้อตกลง (Agreement)
กำรบังคับขู่เข็ญ (Coercion)
สร้ำงแรงกดดัน เป็นกำรบำดหมำงในควำมสัมพันธ์ทำงกำรทูตกำร
ให้ประเทศเป้ำหมำยถอนตัวจำกกำรประชุมหรือองค์กำรระหว่ำง
ประเทศ
กำรบังคับขู่เข็ญเป็นกำรยื่นคำขำดในกำรเจรจำ
กำรกำหนดเวลำเส้นตำยที่จะต้องทำควำมตกลงหรือกำรยื่น
เรื่องรำวร้องทุกข์หรือประท้วงอย่ำงเป็นทำงกำรหรือไม่เป็น
ทำงกำร
ผู้นำเผด็จกำรใช้กำรบังคับขู่เข็ญทำงจิตวิทยำ โดยกำรไร้มำรยำท
และแบบธรรมเนียมที่ดีของกำรทูต
ดำเนินควำมสัมพันธ์ในบรรยำกำศของอำรมณ์อันรุนแรงและกำร
ด่ำทอ พฤติกำรณ์เช่นนี้ได้ประโยชน์มำแล้วอย่ำงปฏิเสธไม่ได้
กำรเกลี้ยกล่อม (Persuasion)
กำรโต้คำรม
กำรเสนอข้อแลกเปลี่ยนกัน
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรบังคับขู่เข็ญกับกำรเกลี้ยกล่อมมีอยู่
เล็กน้อย
กำรริเริ่มทำงกำรทูตส่วนมำกเริ่มต้นในรูปแบบของกำรเกลี้ย
กล่อม
กำรปรับจุดยืนเข้ำหำกัน (Adjustment)
กำรทูตเป็นวิธีกำรเดียวเท่ำนั้นที่มีกำรปรับจุดยืนของตนเข้ำหำกัน
ปรับท่ำทีของตนเพื่อสัมพันธภำพอันดีเป็นเรื่องที่น่ำสรรเสริญ
กำรติดต่อสื่อสำรโดยตรง
กำรไม่บังคับขู่เข็ญ
ชั้นเชิงกับควำมอ่อนตัวในกำรเจรจำ
กำรปรับจุดยืน
ประเทศต่ำงๆ อำจฟ้องร้องข้อขัดข้องหมองใจ และทำให้ควำมขัดแย้งรุนแรง
ขึ้นโดยวิธีต่ำง ๆ มำกมำย
กำรลดควำมตึงเครียดระหว่ำงกันลงได้โดยวิถีทำงกำรทูต
กำรปรับจุดยืนเข้ำหำกันจะได้ผลก็ต่อเมื่อประเทศคู่กรณียอมรับที่จะเจรจำกัน
ไม่มีอะไรสำมำรถเอำชนะควำมไม่สมัครใจจะเปลี่ยนนโยบำยของประเทศได้
กำรบรรลุข้อตกลง (Agreement)
กำรบรรลุข้อตกลงด้วยศิลปะในกำรเจรจำทำงกำรทูต
ให้มีข้อตกลงเป็นทำงกำรและลำยลักษณ์อักษร
เป็นข้อผูกมัดระหว่ำงประเทศตำมวิถีทำงกำรเมืองของโลก
สำมำรถจะทำให้เกิดมีขึ้นได้ก็โดยกำรดำเนินกำรทำงกำรทูตเท่ำนั้น
กำรบรรลุข้อตกลงอำจใช้กำรเกลี้ยกล่อม
กำรปรับจุดยืนเข้ำหำกัน
ข้อตกลงใด ๆ ย่อมจะไม่อำจเกิดมีขึ้นได้ถ้ำคู่กรณีทั้งสองฝ่ำยไม่
ต้องกำรให้มี
กำลังอำนำจด้ำนสังคมจิตวิทยำ
วัฒนธรรม/จารีตประเพณี/ปทัส
ฐาน
การจูงใจ
ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยม
ชนกลุ่มน้อย
องค์กรเอกชน
ชนกลุ่มน้อย

ชาตินิยม
ลักษณะประจาชาติ
คุณธรรมประจาชาติ
กฎหมาย
ความถูกต้องยุติธรรม
ศิลปวัฒนธรรม

กลุ่มพลังต่างๆ สถาบันการศึกษา/สังคม/ศาสนา/
พระมหากษัตริย์
การแบ่งปันการทางานและผลประโยชน์
ความสามัคคีหรือความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
สถาบันการศึกษา/สังคม/ศาสนา/พระมหากษัตริย์

88
วิกฤติทางสังคมจิตวิทยา
ทุกคนเห็นประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม
ขาดคุณธรรม
ความเอื้อเฟือ
้
คนมีเงินได้รับการยกย่องมากกว่าคนดี
อาชญากรรมเพิ่มขึ้น
ไม่มีความยุติธรรมในสังคม
กาลังอานาจด้านสังคมจิตวิทยา
เอกภาพและขวัญของคนภายในรัฐ
ความกระตือรือร้นของคนในชาติ
ความสามัคคีหรือความเป็นน้าหนึ่ง
ใจเดียวกัน
การแบ่งปันการทางานและ
ผลประโยชน์
ความสามัคคีเป็นน้าหนึงเดียวกัน
่
การแบ่งปันการทางานและ
ผลประโยชน์

คุณธรรมประจาชาติ
ความยุติธรรม
มาตรฐานคุณภาพ
ชีวิต
คุณธรรมประจาชาติ
ชาตินิยม
กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา
ปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา

ปัจจัยทางจิตวิทยา

(Sociological Factors)

(Psychological Factors)

“พฤติกรรม”
ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยม
สิ่งจูงใจ สถาบันทางสังคม

“อุดมการณ์” สื่อโฆษณา
ลักษณะประจาชาติ
ความสามัคคี
ความจงรักภักดี

การโฆษณาชวนเชื่อ
เครื่องมือทางจิตวิทยา
• กำรโฆษณำชวนเชือ แตกต่ำงกับกำรเผยแพร่ข่ำวสำร เพรำะ
่
กำรแจกจ่ำยข่ำวสำรอย่ำงเสรีจะไม่มีอคติในกำรคัดเลือกเนื้อหำ
สำระ
• แต่กำรโฆษณำชวนเชื่อจะคัดเลือกสัญญำลักษณ์ ข้อเท็จจริงหรือ
ถ้อยคำอย่ำงละเอียดรอบคอบ เพื่อเสนอเฉพำะทัศนะที่จะ
สนับสนุนกำรสอนสั่งหรือให้มีผลต่อท่ำทีอื่น ๆ ตำมที่ผู้โฆษณำ
ต้องกำร
• มุ่งต่อท่ำทีและพฤติกรรมของประชำกรประเทศ กลุ่มเชื้อชำติ
เศรษฐกิจ ชนชั้น ภำษำ หรือศำสนำ
• กำรเผยแพร่ควำมคิด ข่ำวสำร ข้อเท็จจริงและสัญลักษณ์ต่ำงๆ
• หล่อหลอมควำมคิด ท่ำที หรือพฤติกรรมในสถำนกำรณ์เฉพำะ
เครื่องมือทางจิตวิทยา
กำรโฆษณำชวนเชื่อไม่คอยจะเป็นควำมจริงทั้งหมดแต่ก็ไม่ใช่
่
ควำมเท็จทั้งสิ้น
ผู้โฆษณำชวนเชื่อจะใช้กำรเกลี้ยกล่อมให้มำกที่สุด ไม่ใช่ยด
ึ
กับหลักกำร
ประเทศมหำอำนำจมักจะมีสำนักงำนในและต่ำงประเทศ
ทำงำนในกำรสร้ำงท่ำทีและภำพพจน์ที่ดีของประเทศ
มีกำรเสนอข่ำวสำรอย่ำงตรงไปตรงมำเกี่ยวกับประเทศชำติ
สถำบันต่ำง ๆ สังคม แล้วให้ผู้รับข่ำวสำรสรุปผลเอำเอง
เครื่องมือทางจิตวิทยา
ควำมเชื่อมันของประชำชนย่อมยึดถือเอำควำมจริงและ
่
ควำมถูกต้องเป็นหลัก และใช้ควำมจริงในกำรตอบโต้กำร
บิดเบือนในกำรโฆษณำชวนเชื่อของประเทศอื่น
เครื่องมือทำงจิตวิทยำในกำรส่งเสริมควำมสัมพันธ์ทำง
วัฒนธรรม เช่นกำรแลกเปลี่ยน นักเรียนนักศึกษำ อำจำรย์
ศิลปิน นักกีฬำ และผู้นำทำงกำรเมือง หรือผู้นำสำขำอำชีพ
อื่น ๆ เป็นกำรแลกเปลี่ยนฝีมือ ควำมคิดและข่ำวสำรและ
กำรส่งเสริมให้เกิดภำพพจน์ที่ดีระหว่ำงประชำชนของ
ประเทศ
กาลังอานาจด้านการทหาร
โครงสร้ำงของหน่วยบัญชำกำร
และกำรปกครองบังคับบัญชำ
กำลังและกำรประกอบกำลัง
ที่ตั้งและกำรวำงกำลัง
กำรระดมสรรพกำลัง
กำรส่งกำลังบำรุง
พันธมิตรและมิตรประเทศ
ปริมำณและคุณภำพของกำลังพล
ปริมำณและคุณภำพยุทโธปกรณ์
หลักนิยมทำงทหำร

ค่ำใช้จ่ำยและงบประมำณทำง
ทหำร
ระดับกำรศึกษำ ควำมรู้ทำง
วิทยำศำสตร์และ
ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยี
ในหมู่ประชำกรที่มีผลต่อ
กำลังพลในกองทัพ
ควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ระหว่ำงทหำรกับประชำชน
กำรฝึก
เครื่องมือทางการทหาร
กำรใช้อทธิพลต่อท่ำที พฤติกรรม และกำร
ิ
ปฏิบัติของประเทศอื่น
กำรใช้วิธีกำรทำงทหำร สิ้นเปลืองและมี
อันตรำยมำกกว่ำวิธีอื่น ๆ
เป็นวิธีกำรสุดท้ำยที่นำออกใช้
วิวัฒนำกำรกำรผลิตอำวุธปัจจุบันทำให้กำร
ใช้กำลังทหำรมีผลดีและผลเสียมำกขึ้น
กำรป้องกัน
กำรใช้กำลังทหำรทำกำรโจมตี หรือลด
ควำมเสียหำยของตนเมื่อถูกโจมตีในกำร
ป้องกัน
ใช้กำลังผลักดันกำรถูกโจมตีเมื่อเกิดขึ้น หรือ
ใช้โจมตีก่อนเมื่อเชือว่ำตนจวนจะถูกโจมตีอยู่
่
แล้วหรือไม่มีทำงหลีกเลี่ยงต่อกำรถูกโจมตี

กำรป้องปรำม
ป้องกันไม่ให้ฝ่ำยตรงข้ำมทำอะไรที่
คุกคำม
กำรป้องกันกับกำรป้องปรำม
เหมือนกันตรงที่มุ่งจะป้องกันประเทศ
จำกกำรถูกโจมตีด้วยกำลัง
กำรป้องกันเป็นกำรยับยั้งโดยกำรใช้
กำลังทหำรฝ่ำยตรงข้ำม
กำรป้องปรำม เป็นกำรยับยั้งที่จะ
ทำลำยล้ำงตอบโต้
ผลของกำรป้องปรำมจะขึ้นอยู่กับ
ควำมสำมำรถที่จะทำให้ฝ่ำยตรงข้ำม
เชื่อว่ำ ประเทศตนมีทั้งกำลัง และ
ควำมตั้งใจที่จะลงโทษอย่ำงรุนแรง
กำรใช้เครื่องมือทำงทหำรจะเป็นไปใน
ลักษณะของกำรบังคับข่มขู่หรือกำร
ลงโทษ
วิกฤติทำงทหำร
ทหารขาดระเบียบวินัย
ไม่มีการฝึกซ้อม
ขาดอาวุธยุทโธปกรณ์
ขาดขวัญและกาลังใจ
ผู้นาไม่มีความสามารถ
ขาดความยุติธรรมในระบบ
องค์ประกอบกาลังอานาจทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงาน และสิ่งแวดล้อม
วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ ช่างเทคนิค นักวิจัย

บุคคลำกร
กำรวิจัยและพัฒนำ
เครื่องมือเครืองใช้
่
องค์กรและกำรบริหำร
แผนพัฒนำ S&T
องค์ควำมรู้(Know How)
กำรนำมำใช้( Know Use)

“ควำมทันสมัยฉับไว และทวีกำลัง
ในกำรผสมผสำน สร้ำงสรรค์
และเสริมสร้ำงกำลังอำนำจอื่น
ให้เข้มแข็ง
บังเกิดประสิทธิภำพสูงยิ่งขึน”
้
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสูงจะเสริมกำลังอำนำจทำงทหำรให้มีอำนุภำพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสูงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเศรษฐกิจ
ลงทุนเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำอำวุธเทคโนโลยีสูงก็ยอมมีผลในกำร
่
ป้องปรำมกำรกระทำที่เป็นศัตรูของต่ำงประเทศได้
เทคโนโลยีจะช่วยสังคมด้วยกำรใช้เป็นสื่อในกำรโฆษณำชวนเชื่อและ
กำรประสัมพันธ์ต่อเป้ำหมำยในต่ำงประเทศได้อย่ำงกว้ำงขวำงและ
รวดเร็ว
กาลังอานาจด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี
ระดับกำรพัฒนำและกำรใช้เทคโนโลยีเพื่อกำรประกอบกำร
ระดับกำรพัฒนำและกำรใช้เทคโนโลยีทำงทหำร
กำรใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับคุณภำพชีวิตและควำมเป็นอยู่ของประชำกร
วิกฤติทำงวิทยำศำสตร์เทคโนโลยี
ไม่มีหน่วยงำนวิจัย
ขำดกำรพัฒนำต่อเนื่อง
ขำดบุคลำกรที่มีควำมรู้
ขำดอุปกรณ์ และเครื่องมือในกำรส่งเสริม
ไม่มีกำรนำมำใช้ประโยชน์
ปัจจัยกาลังอานาจ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรมและความจงรักภักดี

ความสัมพันธ์รDistributor
ะหว่างประเทศและการทูต

Tier 2
ทรัพยากรธรรมชาติฯ
Supplier

เศรษฐกิจ

ลักษณะประจาชาติ

ปัEnterprise
จจัยกาลังอานาจ

ภูมิศาสตร์

ลักษณะประจาชาติ

การศึกษา
Contract
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ
Manufacturer

อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา

กาลัSupplier
งTier 1
ทางทหาร
H. MORGENTHAU
N.SPYKMAN
สภาพทางภูมิศาสตร์
เนื้อที่ของประเทศ
--------------ลักษณะของพรมแดน
พลเมือง
จานวนพลเมือง
ทรัพยากรธรรมชาติ
วัตถุดิบ
อุตสาหกรรม
ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ
------------ฐานะการเงิน
------------ชาติพันธ์ของพลเมือง
------------ความเป็นปึกแผ่นทางสังคม
คุณภาพของรัฐบาล
เสถียรภาพทางการเมือง
ความเข้มแข็งของจิตใจ ลักษณะทางจิตใจของคนในชาติ
กาลังทหาร
------------ลักษณะนิสัยคนในชาติ
-------------------------------------

R.STEINMETZ
เนื้อที่ของประเทศ
-------------พลเมือง
------------เศรษฐทรัพย์
------------ชาติพันธ์ของพลเมือง
ความสามัคคี
สถาบันทางการเมือง
ลักษณะทางจิตใจ
------------การบังคับบัญชา
-------------

ดร.จุลชีพ
อาณาเขต
การสนับสนุนของต่างประเทศ
ประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
สมรรถนะทางอุตสาหกรรม
สมรรถนะทางการเกษตร
ศักดิ์ศรีในประชาคมโลก
เอกภาพทางสังคม
รูปแบบรัฐบาล
การบริหารราชการ
ความเข้มแข็งทางทหาร
ภาวะผู้นา
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ปัจจัยกำลังอำนำจแห่งชำติ













วปอ.สหรัฐ
สภาพทางภูมิศาสตร์
พลเมือง
ทรัพยากร
------------โครงสร้างทางสังคม
---------------------------วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระบบเศรษฐกิจ
โครงสร้างทางการเมือง
การศึกษา
ภาวะผู้นาของชาติ

วปอ.ไทย














ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
กาลังทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
การศึกษา
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกำลังอำนำจแห่งชำติรูปธรรม













ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รัฐบาล
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงาน
การศึกษา
การเศรษฐกิจ
กาลังทหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
ปัจจัยกำลังอำนำจแห่งชำตินำมธรรม








ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ
อุดมการณ์ของชาติ
แบบแผนของชาติ
ภาวะผู้นา
ความเชื่อ
ศาสนา จริยธรรม
ความจงรักภักดี
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ

















ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
กาลังทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและ
การทูต
การศึกษา
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ

















ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
กาลังทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและ
การทูต
การศึกษา
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ















ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
กาลังทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
การศึกษา
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ














ภูมิศาสตร์
ภาวะประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
ลักษณะประจาชาติ
กาลังทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
การศึกษา
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
10 มหำเศรษฐี ระดับโลกเรียนจบระดับไหน
1. ริชำร์ด แบรนสัน (Richard Branson) : ผู้ก่อตั้งแบรนด์ Virgin
2. โคโค แชลแนล (CoCo Chanel) : ผู้ก่อตั้งแบรนด์ Channel
3. ไมเคิล เดลล์ (Michael Dell) : ผู้ก่อตั้งแบรนด์ Dell
4. เฮนรี่ ฟอร์ด (Henry Ford) : ผู้ก่อตั้ง Ford Motor
5. บิล เกตส์ (Bill Gates) : ผู้ก่อตั้ง Microsoft
6. สตีฟ จ็อปส์ (Steve Jobs):ผู้ก่อตั้งและสร้ำงควำมยิ่งใหญ่ ให้แบรนด์ Apple
7. เจมส์ คำเมรอน(James Cameron) : ผู้กำกับระดับออสกำร์
8. เลดี้ กำก้ำ (Lady Gaga) : นักร้องซุปเปอร์สตำร์ หลุดโลก
9. ไทเกอร์ วู๊ดส์ (Tiger Woods) : อดีตนักกอล์ฟหมำยเลข 1 ของโลก
10.มำร์ค ซัคเคอร์เบิร์ก (Mark Zuckerberg) : ผู้ก่อตั้ง Facebook
มหาเศรษฐีไทย เรียนจบระดับไหน
1. คุณ ธนินท์ เจียรวนนท์ CP
2. คุณ เจริญ สิริวัฒนภักดี
3. คุณ วันชัย จิรำธิวัฒน์ เครือ Central
4. คุณ เฉลียว อยูวัฒนำ เครือกระทิงแดง
่
5. คุณ ตัน อิชิตัน
6. คุณ โน้ต อุดมแต้พำนิช

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิม
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิมโครงงานผักผลไม้กำจัดสนิม
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิมlily lily
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 

La actualidad más candente (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิม
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิมโครงงานผักผลไม้กำจัดสนิม
โครงงานผักผลไม้กำจัดสนิม
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
เงื่อน
เงื่อนเงื่อน
เงื่อน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

Destacado

ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติplaplaruzzi
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามTeeranan
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหารโครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหารTaraya Srivilas
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอSuthini
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 

Destacado (10)

ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหารโครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร
โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Similar a 1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556

ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
ความรุนแรงในวัยรุ่น
  ความรุนแรงในวัยรุ่น  ความรุนแรงในวัยรุ่น
ความรุนแรงในวัยรุ่นpaileang
 
ความรุนแรงในวัยรุ่น
 ความรุนแรงในวัยรุ่น ความรุนแรงในวัยรุ่น
ความรุนแรงในวัยรุ่นpaileang
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0Supisara Jaibaan
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0sincerecin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคsopapon
 

Similar a 1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556 (20)

ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
ความรุนแรงในวัยรุ่น
  ความรุนแรงในวัยรุ่น  ความรุนแรงในวัยรุ่น
ความรุนแรงในวัยรุ่น
 
ความรุนแรงในวัยรุ่น
 ความรุนแรงในวัยรุ่น ความรุนแรงในวัยรุ่น
ความรุนแรงในวัยรุ่น
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
 

Más de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556