SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
395การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
การสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์
396 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
การสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์
	 สถานการณ์ก่อนรัฐบาลเข้าบริหารประเทศ สังคมไทยตกอยู่ภายใต้สภาวการณ์ของ
ความขัดแย้งตึงเครียด เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ มีการใช้ความรุนแรง ประชาชนรวมกลุ่มชุมนุม
และเผชิญหน้ากัน มีการใช้อาวุธสงครามจนเป็นเหตุให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ตลอดจนเจ้าหน้าที่รัฐ
บาดเจ็บและเสียชีวิต เหตุการณ์ความแตกแยกที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลาหลายปีนี้ได้สั่งสมจนกลายเป็น
บาดแผลที่ร้าวลึกของคนในสังคมไทยอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน
	 เป้าหมายและภารกิจหลักของรัฐบาลในการเข้าบริหารประเทศจึงมุ่งที่จะยุติสถานการณ์
การเผชิญหน้าอันน�ำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง มุ่งสร้างเสถียรภาพและความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สินของพี่น้องประชาชน ในการนี้ รัฐบาลร่วมกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงได้
พยายามด�ำเนินการทุกวิถีทางเพื่อยุติความขัดแย้งยุติการใช้ความรุนแรงและพยายามสร้างบรรยากาศ
ความปรองดองสมานฉันท์ของสังคมโดยรวม ด้วยมุ่งหวังให้ประชาชนเพื่อนร่วมชาติสามารถ
หันกลับมาด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้ดังที่เคยเป็นมา แม้จะมีความคิดเห็นและทัศนคติทางการเมือง
ที่แตกต่างกัน แต่ประชาชนต้องสามารถอยู่ร่วมกันได้ตามวิถีทางแห่งประชาธิปไตยบนพื้นฐาน
ของการยึดหลักนิติรัฐ นิติธรรม และเรียนรู้บทเรียนจากอดีต ตระหนักร่วมกันว่าสถานการณ์
ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้น ไม่เพียงแต่น�ำความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงมาสู่ครอบครัว
ผู้สูญเสีย สังคม และประเทศชาติ หากแต่เป็นอุปสรรคส�ำคัญยิ่งในการพัฒนาและปฏิรูปประเทศ
ให้เจริญก้าวหน้า
	 ตลอดช่วงเวลา ๑ ปีที่ผ่านมา รัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ร่วมกัน
ด�ำเนินนโยบายสร้างความปรองดองสมานฉันท์  ซึ่งเป็นเงื่อนไขส�ำคัญที่จะผลักดันการปฏิรูป
ให้บรรลุผลส�ำเร็จ โดยมีผลการด�ำเนินการที่ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์ ดังนี้
397การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
๑.	 การสร้างการรับรู้ความเข้าใจ
	 ปัจจัยส�ำคัญที่สุดในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์และการผลักดันการปฏิรูป
ให้บรรลุผลส�ำเร็จ คือ การสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ
และอยู่ในความสนใจของประชาชนอย่างต่อเนื่อง จึงมีการชี้แจงท�ำความเข้าใจการบริหาร
ราชการแผ่นดินของรัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รวมถึงสาเหตุที่มาของปัญหา
ตลอดจนแนวทางแก้ไข โดยผ่านกลไกระดับจังหวัด อ�ำเภอ ท้องถิ่น จ�ำนวน ๖๕,๗๒๑ ครั้ง
มีประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๘,๙๔๗,๗๙๙คนนอกจากนี้รัฐบาลยังได้ให้ความส�ำคัญ
ในการชี้แจงท�ำความเข้าใจกับต่างประเทศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น รักษาภาพลักษณ์ความสัมพันธ์
และความร่วมมืออันดีระหว่างประเทศไทยกับนานาประเทศส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า
ไม่ให้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยรัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวง
การต่างประเทศร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดท�ำข้อมูลส�ำหรับให้ทุกส่วนราชการใช้ในการชี้แจง
กับต่างประเทศเกี่ยวกับการด�ำเนินการของรัฐบาลเพื่อสร้างความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกัน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งเกี่ยวกับสภาพปัญหาก่อนที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติและรัฐบาลเข้ามาบริหาร
ราชการแผ่นดิน(ก่อนวันที่๒๒พฤษภาคม๒๕๕๗)เช่นความแตกแยกของคนในชาติการใช้ความรุนแรง
การไม่บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การทุจริตคอร์รัปชัน การด�ำเนินการของคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติและรัฐบาลในระยะต้นที่ต้องเร่งแก้ไขปัญหาส�ำคัญเร่งด่วนและน�ำมาสู่
ความขัดแย้งของคนในชาติ
๒.	 การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างบรรยากาศความปรองดอง ส่งเสริม
ความสามัคคีสมานฉันท์ในพื้นที่ผ่านกลไกระดับจังหวัด อ�ำเภอ ท้องถิ่น
	 รัฐบาลได้จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดบรรยากาศลดความตึงเครียด เผชิญหน้าของคู่ขัดแย้ง
และคนในสังคมที่เห็นต่างให้สามารถกลับมาด�ำรงชีวิตในสังคมร่วมกันตามวิถีชีวิตขนบธรรมเนียม
ประเพณีของคนไทยด้วยการจัดงานประเพณีการจัดกิจกรรมทางศาสนารวมถึงกิจกรรมพัฒนาต่างๆ
จ�ำนวน๗๗,๕๐๒ครั้งมีประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๑๑,๑๒๓,๙๙๒คนมีการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่จ�ำนวน ๑๒๙ เรื่อง จากปัญหาทั้งหมด จ�ำนวน ๑๓๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ
๘๙.๘๖ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่สาธารณประโยชน์ ที่ดินท�ำกิน หนี้สิน ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน
	 นอกจากนี้ ยังมีการก�ำหนดหลักสูตรหมู่บ้านปรองดองสมานฉันท์ของโรงเรียน กรรมการ
หมู่บ้านระดับอ�ำเภอ และด�ำเนินกิจกรรมจ�ำนวน ๑ หลักสูตร ทั้ง ๘๗๗ อ�ำเภอทั่วประเทศที่มี
คณะกรรมการหมู่บ้าน (ยกเว้นอ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เมื่อผ่านการอบรมจะต้อง
ไปขยายแนวคิดการปลูกฝังความรักสามัคคีโดยมีอ�ำเภอที่ก�ำหนดหลักสูตรแล้ว๘๗๗อ�ำเภอมีแกนน�ำ
คณะกรรมการหมู่บ้านเข้ารับการอบรมจ�ำนวน๔๖๒,๒๔๕คนมีการจัดกิจกรรมสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน จ�ำนวน ๑๗๓,๐๗๓ ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน
๙,๑๕๑,๘๕๐ คน เช่น การแสดงกิจกรรมพื้นบ้านเพื่อปลูกฝังความสามัคคี การจัดกิจกรรม
บ�ำเพ็ญประโยชน์ พัฒนาหมู่บ้าน ลงนามเสริมสร้างความรักสามัคคี กิจกรรมปรองดองสามัคคี
ร่วมท�ำความดีรักษาพื้นที่ป่า
398 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
๓.	 การส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยเพื่อเสริมสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์
	 จัดอบรมแกนน�ำอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย
อ�ำเภอละ ๑ คน และจ่าจังหวัด ๆ ละ ๑ คน รวมทั้งสิ้น ๙๕๔ คน
เพื่อมอบหมายภารกิจให้อ�ำเภอร่วมกับวิทยากรแกนน�ำ
ระดับอ�ำเภอขยายผลการด�ำเนินงานไปยังแกนน�ำอาสาสมัคร
ต้นแบบประชาธิปไตย อ�ำเภอละ ๑๐ คน และอาสาสมัคร
ต้นแบบประชาธิปไตยหมู่บ้านละ๑๐คนรวมทั้งสิ้น๘๗,๘๐๐คน
จัดกิจกรรมส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย เช่น กิจกรรม
การประชุมรับฟังความคิดเห็นในหมู่บ้าน การริเริ่มในการร่วมกัน
จัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านโดยอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย
จ�ำนวน๓๙,๙๔๓ครั้งผู้เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๒,๙๗๓,๖๔๕คน
๔.	 การแก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนที่ได้จากเวทีเสวนา
	 จัดเวทีเสวนาเพื่อรวบรวมข้อมูลและแก้ไขปัญหา
ความต้องการของประชาชนที่จังหวัดและอ�ำเภอ โดยตรวจพบ
สภาพปัญหาที่ต้องแก้ไขทั้งสิ้นจ�ำนวน๑๐,๓๒๘เรื่องแก้ไขได้แล้ว
จ�ำนวน ๘,๐๕๐ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๙๔ ส่วนใหญ่
เป็นปัญหาความต้องการสิ่งสาธารณประโยชน์โครงสร้างพื้นฐาน
การท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการขาดแคลนน�้ำ
อุปโภคบริโภค การประกอบอาชีพ การด�ำเนินงานในระยะต่อไป
จะเน้นการประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่
โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นตามสถานการณ์และประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจ
กับประชาชนในประเด็นขัดแย้งที่ส�ำคัญรวมทั้งการจัดเวทีรับฟังความเห็นประชาชนเพื่อการปฏิรูป
ประเทศในภาพรวมและร่วมกับหน่วยต่าง ๆ
๕.	 การจัดการข้อร้องเรียนของศูนย์ด�ำรงธรรม
	 รัฐบาลให้ความส�ำคัญแก่การเปิดช่องทางให้ประชาชนได้ร้องเรียนแจ้งปัญหาความเดือดร้อน
ทุกข์ยาก การไม่ได้รับความเป็นธรรมในด้านต่าง ๆ อันเป็นสาเหตุส�ำคัญประการหนึ่งแห่งปัจจัย
ความขัดแย้งของสังคม โดยได้จัดตั้งศูนย์ด�ำรงธรรมเพื่อด�ำเนินการตามภารกิจ ๗ มิติ ได้แก่
(๑) การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ (๒) บริการเบ็ดเสร็จ (๓) บริการส่งต่อ (๔) บริการด้านข้อมูล
(๕) บริการให้ค�ำปรึกษา (๖) การปฏิบัติงานของหน่วยเคลื่อนที่เร็ว และ (๗) การด�ำเนินการ
ตามนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล การรับความเห็นการปฏิรูปประเทศผ่านช่องทางโทรศัพท์
สายด่วน ๑๕๖๗ ทางเว็บไซต์ www.damrongdhama.moi.go.th ปณ. ๑๐๑ ปณฝ. มหาดไทย
กรุงเทพมหานคร๑๐๒๐๐และเข้ามารับบริการด้วยตนเอง(Walkin)โดยแบ่งโครงสร้างเป็น๓ระดับ
คือ ศูนย์ด�ำรงธรรมส่วนกลาง ศูนย์ด�ำรงธรรมจังหวัด ๗๖ จังหวัด และศูนย์ด�ำรงธรรมอ�ำเภอ
399การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
โดยมีการรับแจ้งเรื่องร้องเรียนของศูนย์ด�ำรงธรรมทั่วประเทศ ๑,๓๕๐,๒๗๙ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๑,๒๙๓,๗๑๘ เรื่อง อยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๔๕,๗๗๗ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๘๒ โดยแยก
ตามประเภทการให้บริการ ดังนี้
		 • ร้องเรียน ร้องทุกข์ จ�ำนวน ๗๗,๒๙๑ เรื่อง
แก้ไขแล้วเสร็จ ๓๑,๕๑๔ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๗๗
และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๔๕,๗๗๗ เรื่อง
		 • บริการเบ็ดเสร็จ ๙๖๓,๔๗๙ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๙๖๓,๔๗๙ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
		 • บริการส่งต่อ ๓๗,๙๒๐ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๓๐,๗๙๖ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๒๑ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ
๗,๑๒๔ เรื่อง
		 • บริการข้อมูล ๑๘๔,๒๑๗ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๑๘๓,๖๘๘ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๗๑ และอยู่ระหว่าง
ด�ำเนินการ ๕๒๙ เรื่อง
		 • บริการให้ค�ำปรึกษา๗๗,๖๙๒เรื่องแก้ไขแล้วเสร็จ
๗๗,๖๙๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
		 • หน่วยเคลื่อนที่เร็ว ๔,๗๘๕ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๔,๐๘๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๓๓ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ
๗๐๒ เรื่อง
		 • หนี้นอกระบบ ๔,๘๐๔ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ
๒,๔๖๖ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๓๓ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ
๒,๓๓๘ เรื่อง
		 •  รับฟังความเห็นเรื่องปฏิรูป ๙๑ เรื่อง
๖.	 การด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป
	 รัฐบาลโดยกระทรวงมหาดไทยได้ร่วมกับกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ภายใต้ภารกิจของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ซึ่งจัดตั้ง
โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติด�ำเนินพันธกิจ๓ประการคือ(๑)ก�ำหนดแนวทางในการเสริมสร้าง
บรรยากาศปรองดองสมานฉันท์ให้หน่วยงานส่วนราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องรับไปด�ำเนินการ
เพื่อยุติความขัดแย้งของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่าย (๒) รวบรวมข้อมูล ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ
จากประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่าย เพื่อน�ำมาสรุปและวิเคราะห์ ก�ำหนดเป็นแนวทาง (Roadmap)
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เพื่อเสริมสร้างความรัก ความสามัคคี ความปรองดองสมานฉันท์
และคืนความสุขให้แก่คนในชาติ และ (๓) เชิญบุคคล ผู้แทนหน่วยงาน ส่วนราชการ ตลอดจน
องค์กรที่เกี่ยวข้อง มาให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่การด�ำเนินงาน
ของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปได้ตามความเหมาะสมโดยมีการด�ำเนินงานตามแผนงาน
โครงการ ดังนี้
400 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 ๖.๑	 แผนงานลดความขัดแย้งอันเนื่องมาจากความแตกต่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
มีเป้าหมายให้ทุกภาคส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสารในการบริหารราชการแผ่นดินอย่างถูกต้อง และเพื่อให้
การน�ำเสนอข่าวสารมีความเที่ยงตรงชัดเจนและมีฐานข้อมูลที่ถูกต้องมีจ�ำนวน๓โครงการได้แก่
		๖.๑.๑	 โครงการเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์และติดตามผลการแก้ไขข้อร้องเรียน
ของประชาชน โดยจัดท�ำเว็บไซต์ www.crr-thai.org และ Facebook:
ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูป และติดตั้ง Call Center หมายเลข ๑๑๕๒
มีผู้เข้าชมและใช้งานเว็บไซต์มากกว่า ๕๐๐,๐๐ ครั้ง มีการจัดท�ำแอปพลิเคชัน
เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ผู้เข้าเยี่ยมชมการเชื่อมโยงไปยังระบบเครือข่ายสาธารณะ
Social Network เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียน
จากประชาชน
	 	 ๖.๑.๒	 โครงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่กิจกรรม
ของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ด�ำเนินรายการคนไทยหัวใจเดียวกันทางสถานี
วิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง๕จัดท�ำวีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์
เพื่อการปฏิรูปทางสถานีโทรทัศน์ประชาสัมพันธ์ด้วยอักษรวิ่งทางสถานีโทรทัศน์และประชาสัมพันธ์
กิจกรรม “เวทีความคิด ปฏิรูปประเทศไทย” ตามโครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน เป็นประจ�ำทุกวัน
ผ่านทางเครือข่ายสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก ๑๒๗ สถานี และสถานีวิทยุเครือข่าย
กรมประชาสัมพันธ์ ๑๕๐ สถานี
	 	 ๖.๑.๓	 โครงการสื่อมวลชนสัมพันธ์ โดยพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับเป้าหมาย
ในระดับจังหวัดจ�ำนวน๑๐๐คน๒เดือนต่อครั้งและในระดับภาคจ�ำนวน๒๕๐คน๓เดือนต่อครั้ง
ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน ๓๙๒ แห่ง มีสื่อมวลชนเข้าร่วม จ�ำนวน ๔๑,๑๕๐ คน มีผลการด�ำเนินการ
โดยสรุปเป็นข้อคิดเห็น คือ ภาครัฐควรลดการครอบง�ำสื่อ ให้สื่อมีความเป็นอิสระในการน�ำเสนอ
ข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ อย่างตรงไปตรงมา หน่วยงานภาครัฐมีการให้ข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง
เพื่อให้สื่อต่าง ๆ สามารถเสนอข่าวได้อย่างถูกต้องชัดเจน ควรมีศูนย์ข้อมูลข่าวสารในท้องถิ่น
เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเป็นจริง สื่อมวลชนเสนอให้มีหน่วยงานเฉพาะ
เพื่อท�ำหน้าที่บริหารจัดการตรวจสอบและควบคุมการน�ำเสนอหรือเผยแพร่ข่าวสารทางสื่อ Social
Networkให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและไม่สร้างความแตกแยกเกลียดชังในสังคมนอกจากนี้ต้องการให้
ภาครัฐมีมาตรการคุ้มครองสื่อดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนอย่างเป็นรูปธรรม
แต่ไม่ใช่การแทรกแซงสื่อ
401การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 ๖.๒	 แผนงานป้องกันแก้ไขไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นใหม่ โดยด�ำเนินโครงการ
สร้างความเข้มแข็งสู่การปฏิรูปสังคมเพื่อติดตามสถานการณ์และด�ำเนินกิจกรรมไม่ให้คู่ขัดแย้งเช่น
แกนน�ำ กลุ่มหรือบุคคลที่มีความขัดแย้งเดิมในสังคมและกลุ่มหรือบุคคลที่จะท�ำให้เกิดความขัดแย้ง
ในสังคม อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงหรือข้อขัดแย้งที่มีอยู่เดิมในทุกภาคส่วนของสังคม
ได้ก่อตัวเกิดขึ้นมาใหม่โดยใช้การพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับเป้าหมายในระดับจังหวัดจ�ำนวน
๕๐ คน ๒ เดือนต่อครั้ง ในระดับภาค จ�ำนวน ๑๐๐ คน ๓ เดือนต่อครั้ง ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน
๓๙๒ แห่ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน ๒๑,๒๐๐ คน มีผลสรุปข้อคิดเห็นในประเด็น
ด้านต่างๆเช่นด้านการเมืองการบริหารราชการแผ่นดินการสร้างจริยธรรมของผู้บริหารประเทศ
กระบวนการยุติธรรมการทุจริตคอร์รัปชันการศึกษาการขจัดความเหลื่อมล�้ำ การจัดการทรัพยากร
ข้อมูลข่าวสาร
	 ๖.๓	 แผนงานภาคประชาสังคมมีส่วนร่วม ด�ำเนินโครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน
เพื่อขจัดข้อขัดแย้งและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่ เปิดเวทีความคิด
ให้กับประชาชนในการปฏิรูปประเทศทั้ง ๑๑ ด้าน และรับทราบความต้องการของประชาชน
ที่ต้องการให้ภาครัฐแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน รวมถึงแนวคิดการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
ของประชาชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมจากเทศบาลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล
จ�ำนวน ๔,๑๓๖ แห่ง มหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๙๒ แห่ง องค์กรวิชาชีพ ๔๐ แห่ง รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น
๔,๒๖๘ แห่ง เปิดเวทีความคิดให้แก่เป้าหมายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เป้าหมายละ ๑๐๐ คน
เป้าหมายละ ๑ ครั้ง ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน ๔,๒๖๘ แห่ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
จ�ำนวน ๔๕๒,๔๐๘ คน มีผลสรุปข้อคิดเห็นของประชาชนในประเด็นส�ำคัญที่น่าสนใจ เช่น
ควรมีการจัดท�ำเวทีประชาคมสร้างความปรองดองอบรมสร้างความเข้าใจเด็กเยาวชนสร้างความเข้าใจ
สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องในอนาคต สร้างกิจกรรมความปรองดอง
ของเด็ก เยาวชน ระดับหมู่บ้าน ชุมชน เช่น การเข้าค่ายเพื่อให้เกิดความสามัคคี ช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน ให้มีการจัดเวทีพบปะระหว่างผู้น�ำชาวบ้านให้บ่อยขึ้น เริ่มปลูกฝังความส�ำคัญ
ล�ำดับอาวุโส สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม ให้มีการจัดเวทีพบปะระหว่างแกนน�ำ
ทางการเมืองทุกพรรคให้ส�ำนึกรักชาติมากกว่าผลประโยชน์ของกลุ่มบุคคล ควรมีคนกลาง
ที่แท้จริงในการประสานด้านความคิดการสร้างความสมานฉันท์รวมทั้งมีกิจกรรมบางส่วนถูกบังคับ
ให้ท�ำหรือเข้าร่วมกิจกรรม หรือความคิดเห็นที่น�ำเสนอไม่ได้รับการพิจารณาน�ำไปปฏิบัติ
ไม่มีการสานต่อแก้ไขหรือน�ำไปใช้ประโยชน์ จึงไม่เกิดการมีส่วนร่วม
402 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 ๖.๔	 แผนงานสร้างค่านิยมสร้างจิตส�ำนึกและความสามัคคี ได้ด�ำเนินมหกรรม
เอกลักษณ์ไทยหัวใจ๔ภาคเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนทุกภาคส่วนก่อเกิดค่านิยม
และจิตส�ำนึกในการรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย โดยการจัดแสดงศิลปวัฒนธรรม
ประจ�ำภูมิภาคทั้ง ๔ ภาค จัดนิทรรศการ เอกลักษณ์ จุดเด่น อันเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดต่าง ๆ
ทุกภูมิภาคของประเทศ ได้จัดกิจกรรมจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง ในพื้นที่ ๑๖ จังหวัดทั่วประเทศ
	 ๖.๕	 แผนงานรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและสถานที่
ราชการ มีโครงการฝึกอบรมทดสอบกองอาสารักษาดินแดน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
เจ้าหน้าที่หน่วยงานความมั่นคงภาครัฐ และมูลนิธิต่าง ๆ ของภาคเอกชน เพื่อบูรณาการหน่วยงาน
ทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดด้วยการฝึกอบรมทดสอบการปฏิบัติในการป้องกันภัยหรือระงับ
เหตุการณ์ที่จะน�ำไปสู่ความไม่สงบในพื้นที่ โดยด�ำเนินการในจังหวัดเป้าหมายจ�ำนวน ๔๖ จังหวัด
มีผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่จังหวัดเป้าหมาย จ�ำนวน ๔,๗๕๐ คน
๗.	 การด�ำเนินการเยียวยาด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับ
ผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗
	 รัฐบาลตระหนักดีว่ากระบวนการเยียวยาเป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการสร้างความปรองดอง
และมีผลในการป้องกันเหตุการณ์ความรุนแรงในอนาคต เนื่องจากเป็นสิ่งที่คนในสังคมโดยเฉพาะ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างรอคอยและคาดหวังความช่วยเหลือจากรัฐบาล
ในฐานะ “รัฐ” จึงได้ด�ำเนินมาตรการเยียวยาควบคู่กันทั้งในส่วนของ (๑) การเยียวยาที่เป็นตัวเงิน
และ(๒)การเยียวยาที่ไม่ใช่ตัวเงินอันหมายถึงความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมต่างๆเพื่อให้ผู้เสียหาย
สามารถกลับมาด�ำรงชีวิตได้ต่อไป เช่น การบ�ำบัดฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ การช่วยเหลือหางาน
ให้คนพิการทุพพลภาพหรือสูญเสียหัวหน้าครอบครัวการดูแลการศึกษาแก่ลูกก�ำพร้าการช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ การให้ค�ำแนะน�ำด้านกฎหมาย การช่วยเหลือ
ด้านมนุษยธรรมแก่ครอบครัวของจ�ำเลยที่ไม่ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวการให้ความเป็นธรรมเร่งรัดคดี
หรือโอกาสในการรับรู้ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์
	 ๗.๑	 การเยียวยาที่เป็นตัวเงิน รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการเยียวยา
ด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง
ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ตามค�ำสั่งส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๑๔/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘
เพื่อพิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์และเสนอแนะมาตรการ กลไกและวิธีการเยียวยาด้านการเงิน
ตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองปี๒๕๕๖-๒๕๕๗
รวมถึงเหตุการณ์การชุมนุมทางการเมือง ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ และอ�ำนวยการ ก�ำกับ ติดตาม
และวินิจฉัยสั่งการ เพื่อให้การเยียวยาด้านการเงินเป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
โดยมีผลการด�ำเนินการดังนี้
403การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 	 ๗.๑.๑	 การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง
ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาช่วยเหลือเยียวยาทางการเงินไปแล้วตามหลักเกณฑ์
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๑ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๕ และมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ในส่วนที่ยังคงค้างอยู่ เบื้องต้นก�ำหนดให้รอจนกว่าคดีของคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจะถึงที่สุดก่อนนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๘
กันยายน๒๕๕๘ให้กระทรวงยุติธรรมพิจารณาว่าการรอผลคดีดังกล่าวท�ำให้ล่าช้าไปหรือไม่มีวิธีใด
ที่จะสามารถท�ำให้เร็วขึ้นแต่ต้องเป็นไปตามกฎหมายและอ�ำนาจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
	 	 ๗.๑.๒	 การเยียวยากรณีผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง
ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านการเงิน
ตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองปี๒๕๕๖-๒๕๕๗
(ชีวิตและร่างกาย) คาดว่าใช้งบประมาณในการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ จ�ำนวน ๘๖๒ ราย
(เสียชีวิต ๒๘ ราย บาดเจ็บ ๘๓๔ ราย) ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘
อนุมัติให้ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘งบกลางรายการเงินส�ำรองจ่าย
เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�ำเป็นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการเยียวยาวงเงิน๑๒๐,๐๐๐,๐๐๐บาท
โดยให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการให้ความช่วยเหลือ
และเบิกจ่ายงบประมาณในการจ่ายเงินเยียวยา เงินฟื้นฟูสมรรถภาพ และเงินยังชีพ และส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการให้ความช่วยเหลือและเบิกจ่าย
งบประมาณในการจ่ายเงินทุนการศึกษาแก่ผู้มีสิทธิได้รับเงินเยียวยาภายใต้หลักเกณฑ์
ส่วนในปีงบประมาณต่อไปขอให้ตั้งงบประมาณปกติในการเยียวยาและค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ
ของคณะกรรมการอ�ำนวยการเยียวยาด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบ
จากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๔๔๗ คณะอนุกรรมการ กรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
วงเงิน๑,๐๐๐,๐๐๐บาทโดยให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยเบิกจ่ายงบประมาณ
ทั้งนี้ จะเริ่มด�ำเนินการรับค�ำร้องในเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ และประกาศรายชื่อและจ่ายเงินเยียวยา
ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๘
	 ๗.๒	 การเยียวยาที่ไม่เป็นตัวเงิน เพื่อแสดงว่ารัฐบาลรับรู้ในความสูญเสียของประชาชน
อันเกิดจากเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในอดีตที่ผ่านมาและมิได้เพิกเฉยต่อความเจ็บปวด
ทุกข์ยากของประชาชนที่ได้รับผลกระทบ จึงให้หน่วยงานต่าง ๆ ประสานความร่วมมือกับ
ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.) ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
แก่ผู้ได้รับผลกระทบด้วยความเอื้ออาทรเพื่อพยายามให้ผู้ได้รับผลกระทบสามารถกลับมาด�ำรงชีวิต
ได้ตามปกติ ดังนี้
404 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 	 ๗.๒.๑	ส�ำรวจปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการเยียวยาด้านมนุษยธรรม
(ในส่วนที่ไม่ใช่ตัวเงิน) ของผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทุกฝ่าย
ตั้งแต่ปี๒๕๔๘-๒๕๕๗โดยใช้ช่องทางรับฟังความเห็นผ่านศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป
และศูนย์ด�ำรงธรรม ตลอดจนประสานกับกลไกของสภาปฏิรูปแห่งชาติที่มีภารกิจเกี่ยวข้อง
กับการสร้างความปรองดอง
	 	 ๗.๒.๒	ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์
ความรุนแรงทางการเมืองที่มีภูมิล�ำเนาในแต่ละจังหวัดเช่นการบ�ำบัดฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ
การช่วยเหลือหางานให้คนพิการ ทุพพลภาพ หรือสูญเสียหัวหน้าครอบครัว การดูแลการศึกษา
แก่ลูกก�ำพร้า ฯลฯ โดยประสานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์
องค์กรสาธารณกุศลและองค์กรศาสนาในแต่ละจังหวัดให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านมนุษยธรรม
เพื่อบรรเทาผลกระทบเฉพาะหน้าของประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ให้สามารถ
ฟื้นกลับไปด�ำรงชีวิตในชุมชนได้เป็นปกติ
	 	 ๗.๒.๓	ติดตามและเร่งรัดความคืบหน้าด้านคดีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
ความขัดแย้งทางการเมืองตั้งแต่ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ของทุกฝ่าย
	 	 ๗.๒.๔	สั่งการให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรายงานความคืบหน้าและปัญหาอุปสรรค
ในการด�ำเนินการให้นายกรัฐมนตรีทราบอย่างต่อเนื่อง
๘.	 การด�ำเนินการตามข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปเรื่องแนวทางการสร้าง
ความปรองดองของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
	 รัฐบาลให้ความส�ำคัญแก่ข้อเสนอของทุกภาคส่วนเกี่ยวกับแนวทางในการสร้างความปรองดอง
รวมถึงรายงานของคณะกรรมการศึกษาแนวทางสร้างความปรองดองของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ซึ่งได้จัดท�ำขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘
รับทราบข้อเสนอแนวทางการสร้างความปรองดองตามรายงานดังกล่าวและมอบหมายให้กระทรวง
ยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักรับไปพิจารณาหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาศึกษา
แนวทางและความเหมาะสมของข้อเสนอดังกล่าวและสรุปผลการพิจารณาหรือผลการด�ำเนินการ
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวในภาพรวมแล้วเสนอคณะรัฐมนตรีทั้งนี้กระทรวงยุติธรรมได้เชิญประชุมหารือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแล้วเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ในการด�ำเนินการตามข้อเสนอดังกล่าว
ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ และมีข้อเสนอการสร้างความปรองดอง ดังนี้
	 ๘.๑	 การสร้างความเข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่งความขัดแย้ง โดยการสังเคราะห์
ข้อมูลเบื้องต้นจากรายงานผลการศึกษาที่หน่วยงานต่าง ๆ ด�ำเนินการไว้ รวมทั้งการจัดเวที
รับฟังข้อมูลข้อเท็จจริงประเด็นปัญหาข้อเสนอแนะจากกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ
ร่วมกันของสังคมต่อเหตุความขัดแย้ง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานส�ำคัญต่อการก�ำหนดและเสนอแนะแนว
ทางการคลี่คลายความขัดแย้งและป้องกันเหตุที่จะท�ำให้เกิดความขัดแย้งในอนาคต
405การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 ๘.๒	 การแสวงหาและเปิดเผยข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ความรุนแรง โดยการรวบรวม
ข้อเท็จจริง แรงจูงใจเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายและการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจน
ผู้เกี่ยวข้องที่เป็นผู้กระท�ำการดังกล่าวในเหตุการณ์รุนแรงที่เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง
เพื่อการสร้างความเข้าใจร่วมกันของสังคมต่อเหตุการณ์และน�ำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาสรุปบทเรียน
ในการป้องกันมิให้ประเทศชาติต้องประสบกับวิกฤตการณ์เช่นนี้อีก
	 ๘.๓	 การอ�ำนวยความยุติธรรม การส�ำนึกรับผิด และการให้อภัย โดยการน�ำ
หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(TransitionalJustice)อันเป็นหลักความยุติธรรมในระยะ
ที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่พยายามท�ำความเข้าใจผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ
และกระบวนทัศน์แบบความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) ที่ให้ความส�ำคัญ
แก่ผู้เสียหายเป็นอันดับแรกมาใช้ด�ำเนินการ เพื่อการอ�ำนวยความยุติธรรมและเอื้อให้เกิด
การส�ำนึกผิดและการให้อภัยซึ่งจะช่วยน�ำพาสังคมไปสู่สันติภาพ ให้สังคมเดินหน้าต่อไป
โดยที่เหตุการณ์ความรุนแรงไม่ย้อนกลับมาอีกครั้ง
	 ๘.๔	 การเยียวยาดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบมีแนวทางด�ำเนินการหลายประการ
เช่น การจัดตั้งศูนย์ประสานงานและรวบรวมข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุม
ทางการเมืองตั้งแต่ปี๒๕๔๘-๒๕๕๗การจัดท�ำฐานข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุม
ทางการเมืองการเยียวยาดูแลและฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายโดยมีมาตรการเยียวยาและฟื้นฟู
ทั้งในส่วนที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน นอกจากนี้ จะต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง จัดท�ำ กฎหมาย
กฎระเบียบที่จ�ำเป็น รวมทั้งก�ำหนดหลักเกณฑ์ ฐานการคิดค�ำนวณอัตราในการให้การชดเชย
ความเสียหายและการเยียวยา โดยไม่ท�ำให้เกิดการเลือกปฏิบัติ
	 ๘.๕	 การสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมท่ามกลางความคิดเห็น
ที่แตกต่าง โดยควรด�ำเนินการทั้งในด้าน (๑) พัฒนายุทธศาสตร์สันติวิธีเพื่อความมั่นคงของชาติ
บูรณาการให้การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีเป็นหลักปฏิบัติเชิงนโยบาย ให้คุณค่าของสังคม
พหุวัฒนธรรม (๒) ส่งเสริมให้มียุทธศาสตร์การสื่อสารกับสังคมเพื่อสร้างความเข้าใจของประชาชน
ให้ตระหนักถึงผลจากการใช้ความรุนแรงในการจัดการปัญหา ความเคารพและรับผิดชอบ
ในการใช้สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล (๓) การสร้างเครื่องเตือนใจ สัญลักษณ์ความทรงจ�ำให้สังคม
ได้เรียนรู้ร่วมกันถึงเรื่องราวของความขัดแย้งและร�ำลึกถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้น (๔) การฟื้นฟู
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สังคม องค์กร และสถาบัน ที่มีความขัดแย้งกัน (๕) การเร่งรัด
ผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างหรือองค์กรทางการเมืองให้เอื้อต่อการเกิดวัฒนธรรมทางการเมือง
แบบพหุนิยมให้สอดคล้องกับสภาพสังคมไทย และ (๖) การเร่งรัด ผลักดันการปฏิรูปโครงสร้าง
และระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพื่อขจัดปัญหาความเหลื่อมล�้ำและสร้างความเป็นธรรม
ทางสังคม
406 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์
รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
	 ๘.๖	 มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง โดยด�ำเนินการ
(๑) ควรมีการเฝ้าระวังสถานการณ์ ระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าหรือปะทะรุนแรง
ระหว่างฝ่ายประชาชนหรือฝ่ายเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง (๒) ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตาม
หลักนิติธรรมอย่างเคร่งครัด โดยหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานอื่นของรัฐ
ที่เกี่ยวข้อง(๓)ปฏิรูปและก�ำกับบทบาทการท�ำหน้าที่และการรักษาจรรยาบรรณของสื่อสารมวลชน
น�ำเสนอเนื้อหาสาระที่สร้างสรรค์ ไม่ยุยง บิดเบือนข้อเท็จจริง จนเกิดความเกลียดชัง
หรือการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างคนในสังคมโดยยังให้หลักประกันสิทธิเสรีภาพ
ของสื่อมวลชน(๔)ลดบทบาทบุคคลและปฏิรูปหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งเพื่อสร้าง
ความเชื่อมั่นและการสร้างความไว้วางใจของสังคม (๕) ในเหตุการณ์ชุมนุม ควรให้หน่วยบริการ
ทางการแพทย์เข้าถึงผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิตโดยเร็วและปกป้องคุ้มครองผู้ให้บริการอย่างปลอดภัยที่สุด
(๖) ในการควบคุมฝูงชนใช้วิจารณญาณในการปฏิบัติต่อสถานการณ์อย่างรอบคอบเน้นใช้การเจรจา
และปฏิบัติกฎการปะทะตามหลักสากลอย่างเคร่งครัด และ (๗) ควรมีมาตรการตรวจสอบ ลงโทษ
การแสดงความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่ท�ำเกินกว่าเหตุ ทั้งหมดนี้เพื่อป้องกันและป้องปราม
ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงขึ้นอีกในสังคมไทย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kanghanlom
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้าthepower mancity
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการthnaporn999
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 

La actualidad más candente (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 

Más de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช

  • 1. 395การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) การสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์
  • 2. 396 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) การสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์ สถานการณ์ก่อนรัฐบาลเข้าบริหารประเทศ สังคมไทยตกอยู่ภายใต้สภาวการณ์ของ ความขัดแย้งตึงเครียด เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ มีการใช้ความรุนแรง ประชาชนรวมกลุ่มชุมนุม และเผชิญหน้ากัน มีการใช้อาวุธสงครามจนเป็นเหตุให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ตลอดจนเจ้าหน้าที่รัฐ บาดเจ็บและเสียชีวิต เหตุการณ์ความแตกแยกที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลาหลายปีนี้ได้สั่งสมจนกลายเป็น บาดแผลที่ร้าวลึกของคนในสังคมไทยอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เป้าหมายและภารกิจหลักของรัฐบาลในการเข้าบริหารประเทศจึงมุ่งที่จะยุติสถานการณ์ การเผชิญหน้าอันน�ำไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง มุ่งสร้างเสถียรภาพและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของพี่น้องประชาชน ในการนี้ รัฐบาลร่วมกับคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงได้ พยายามด�ำเนินการทุกวิถีทางเพื่อยุติความขัดแย้งยุติการใช้ความรุนแรงและพยายามสร้างบรรยากาศ ความปรองดองสมานฉันท์ของสังคมโดยรวม ด้วยมุ่งหวังให้ประชาชนเพื่อนร่วมชาติสามารถ หันกลับมาด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้ดังที่เคยเป็นมา แม้จะมีความคิดเห็นและทัศนคติทางการเมือง ที่แตกต่างกัน แต่ประชาชนต้องสามารถอยู่ร่วมกันได้ตามวิถีทางแห่งประชาธิปไตยบนพื้นฐาน ของการยึดหลักนิติรัฐ นิติธรรม และเรียนรู้บทเรียนจากอดีต ตระหนักร่วมกันว่าสถานการณ์ ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้น ไม่เพียงแต่น�ำความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงมาสู่ครอบครัว ผู้สูญเสีย สังคม และประเทศชาติ หากแต่เป็นอุปสรรคส�ำคัญยิ่งในการพัฒนาและปฏิรูปประเทศ ให้เจริญก้าวหน้า ตลอดช่วงเวลา ๑ ปีที่ผ่านมา รัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ร่วมกัน ด�ำเนินนโยบายสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ซึ่งเป็นเงื่อนไขส�ำคัญที่จะผลักดันการปฏิรูป ให้บรรลุผลส�ำเร็จ โดยมีผลการด�ำเนินการที่ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ ดังนี้
  • 3. 397การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๑. การสร้างการรับรู้ความเข้าใจ ปัจจัยส�ำคัญที่สุดในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์และการผลักดันการปฏิรูป ให้บรรลุผลส�ำเร็จ คือ การสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ และอยู่ในความสนใจของประชาชนอย่างต่อเนื่อง จึงมีการชี้แจงท�ำความเข้าใจการบริหาร ราชการแผ่นดินของรัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รวมถึงสาเหตุที่มาของปัญหา ตลอดจนแนวทางแก้ไข โดยผ่านกลไกระดับจังหวัด อ�ำเภอ ท้องถิ่น จ�ำนวน ๖๕,๗๒๑ ครั้ง มีประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๘,๙๔๗,๗๙๙คนนอกจากนี้รัฐบาลยังได้ให้ความส�ำคัญ ในการชี้แจงท�ำความเข้าใจกับต่างประเทศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น รักษาภาพลักษณ์ความสัมพันธ์ และความร่วมมืออันดีระหว่างประเทศไทยกับนานาประเทศส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้า ไม่ให้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยรัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวง การต่างประเทศร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดท�ำข้อมูลส�ำหรับให้ทุกส่วนราชการใช้ในการชี้แจง กับต่างประเทศเกี่ยวกับการด�ำเนินการของรัฐบาลเพื่อสร้างความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเกี่ยวกับสภาพปัญหาก่อนที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติและรัฐบาลเข้ามาบริหาร ราชการแผ่นดิน(ก่อนวันที่๒๒พฤษภาคม๒๕๕๗)เช่นความแตกแยกของคนในชาติการใช้ความรุนแรง การไม่บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การทุจริตคอร์รัปชัน การด�ำเนินการของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติและรัฐบาลในระยะต้นที่ต้องเร่งแก้ไขปัญหาส�ำคัญเร่งด่วนและน�ำมาสู่ ความขัดแย้งของคนในชาติ ๒. การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างบรรยากาศความปรองดอง ส่งเสริม ความสามัคคีสมานฉันท์ในพื้นที่ผ่านกลไกระดับจังหวัด อ�ำเภอ ท้องถิ่น รัฐบาลได้จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดบรรยากาศลดความตึงเครียด เผชิญหน้าของคู่ขัดแย้ง และคนในสังคมที่เห็นต่างให้สามารถกลับมาด�ำรงชีวิตในสังคมร่วมกันตามวิถีชีวิตขนบธรรมเนียม ประเพณีของคนไทยด้วยการจัดงานประเพณีการจัดกิจกรรมทางศาสนารวมถึงกิจกรรมพัฒนาต่างๆ จ�ำนวน๗๗,๕๐๒ครั้งมีประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๑๑,๑๒๓,๙๙๒คนมีการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่จ�ำนวน ๑๒๙ เรื่อง จากปัญหาทั้งหมด จ�ำนวน ๑๓๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๘๖ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่สาธารณประโยชน์ ที่ดินท�ำกิน หนี้สิน ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน นอกจากนี้ ยังมีการก�ำหนดหลักสูตรหมู่บ้านปรองดองสมานฉันท์ของโรงเรียน กรรมการ หมู่บ้านระดับอ�ำเภอ และด�ำเนินกิจกรรมจ�ำนวน ๑ หลักสูตร ทั้ง ๘๗๗ อ�ำเภอทั่วประเทศที่มี คณะกรรมการหมู่บ้าน (ยกเว้นอ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เมื่อผ่านการอบรมจะต้อง ไปขยายแนวคิดการปลูกฝังความรักสามัคคีโดยมีอ�ำเภอที่ก�ำหนดหลักสูตรแล้ว๘๗๗อ�ำเภอมีแกนน�ำ คณะกรรมการหมู่บ้านเข้ารับการอบรมจ�ำนวน๔๖๒,๒๔๕คนมีการจัดกิจกรรมสร้างความปรองดอง สมานฉันท์โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน จ�ำนวน ๑๗๓,๐๗๓ ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน ๙,๑๕๑,๘๕๐ คน เช่น การแสดงกิจกรรมพื้นบ้านเพื่อปลูกฝังความสามัคคี การจัดกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ พัฒนาหมู่บ้าน ลงนามเสริมสร้างความรักสามัคคี กิจกรรมปรองดองสามัคคี ร่วมท�ำความดีรักษาพื้นที่ป่า
  • 4. 398 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๓. การส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยเพื่อเสริมสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ จัดอบรมแกนน�ำอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย อ�ำเภอละ ๑ คน และจ่าจังหวัด ๆ ละ ๑ คน รวมทั้งสิ้น ๙๕๔ คน เพื่อมอบหมายภารกิจให้อ�ำเภอร่วมกับวิทยากรแกนน�ำ ระดับอ�ำเภอขยายผลการด�ำเนินงานไปยังแกนน�ำอาสาสมัคร ต้นแบบประชาธิปไตย อ�ำเภอละ ๑๐ คน และอาสาสมัคร ต้นแบบประชาธิปไตยหมู่บ้านละ๑๐คนรวมทั้งสิ้น๘๗,๘๐๐คน จัดกิจกรรมส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย เช่น กิจกรรม การประชุมรับฟังความคิดเห็นในหมู่บ้าน การริเริ่มในการร่วมกัน จัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านโดยอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย จ�ำนวน๓๙,๙๔๓ครั้งผู้เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน๒,๙๗๓,๖๔๕คน ๔. การแก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนที่ได้จากเวทีเสวนา จัดเวทีเสวนาเพื่อรวบรวมข้อมูลและแก้ไขปัญหา ความต้องการของประชาชนที่จังหวัดและอ�ำเภอ โดยตรวจพบ สภาพปัญหาที่ต้องแก้ไขทั้งสิ้นจ�ำนวน๑๐,๓๒๘เรื่องแก้ไขได้แล้ว จ�ำนวน ๘,๐๕๐ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๙๔ ส่วนใหญ่ เป็นปัญหาความต้องการสิ่งสาธารณประโยชน์โครงสร้างพื้นฐาน การท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการขาดแคลนน�้ำ อุปโภคบริโภค การประกอบอาชีพ การด�ำเนินงานในระยะต่อไป จะเน้นการประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นตามสถานการณ์และประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจ กับประชาชนในประเด็นขัดแย้งที่ส�ำคัญรวมทั้งการจัดเวทีรับฟังความเห็นประชาชนเพื่อการปฏิรูป ประเทศในภาพรวมและร่วมกับหน่วยต่าง ๆ ๕. การจัดการข้อร้องเรียนของศูนย์ด�ำรงธรรม รัฐบาลให้ความส�ำคัญแก่การเปิดช่องทางให้ประชาชนได้ร้องเรียนแจ้งปัญหาความเดือดร้อน ทุกข์ยาก การไม่ได้รับความเป็นธรรมในด้านต่าง ๆ อันเป็นสาเหตุส�ำคัญประการหนึ่งแห่งปัจจัย ความขัดแย้งของสังคม โดยได้จัดตั้งศูนย์ด�ำรงธรรมเพื่อด�ำเนินการตามภารกิจ ๗ มิติ ได้แก่ (๑) การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ (๒) บริการเบ็ดเสร็จ (๓) บริการส่งต่อ (๔) บริการด้านข้อมูล (๕) บริการให้ค�ำปรึกษา (๖) การปฏิบัติงานของหน่วยเคลื่อนที่เร็ว และ (๗) การด�ำเนินการ ตามนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล การรับความเห็นการปฏิรูปประเทศผ่านช่องทางโทรศัพท์ สายด่วน ๑๕๖๗ ทางเว็บไซต์ www.damrongdhama.moi.go.th ปณ. ๑๐๑ ปณฝ. มหาดไทย กรุงเทพมหานคร๑๐๒๐๐และเข้ามารับบริการด้วยตนเอง(Walkin)โดยแบ่งโครงสร้างเป็น๓ระดับ คือ ศูนย์ด�ำรงธรรมส่วนกลาง ศูนย์ด�ำรงธรรมจังหวัด ๗๖ จังหวัด และศูนย์ด�ำรงธรรมอ�ำเภอ
  • 5. 399การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) โดยมีการรับแจ้งเรื่องร้องเรียนของศูนย์ด�ำรงธรรมทั่วประเทศ ๑,๓๕๐,๒๗๙ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๑,๒๙๓,๗๑๘ เรื่อง อยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๔๕,๗๗๗ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๘๒ โดยแยก ตามประเภทการให้บริการ ดังนี้ • ร้องเรียน ร้องทุกข์ จ�ำนวน ๗๗,๒๙๑ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๓๑,๕๑๔ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๗๗ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๔๕,๗๗๗ เรื่อง • บริการเบ็ดเสร็จ ๙๖๓,๔๗๙ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๙๖๓,๔๗๙ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ • บริการส่งต่อ ๓๗,๙๒๐ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๓๐,๗๙๖ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๒๑ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๗,๑๒๔ เรื่อง • บริการข้อมูล ๑๘๔,๒๑๗ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๑๘๓,๖๘๘ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๗๑ และอยู่ระหว่าง ด�ำเนินการ ๕๒๙ เรื่อง • บริการให้ค�ำปรึกษา๗๗,๖๙๒เรื่องแก้ไขแล้วเสร็จ ๗๗,๖๙๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ • หน่วยเคลื่อนที่เร็ว ๔,๗๘๕ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๔,๐๘๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๓๓ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๗๐๒ เรื่อง • หนี้นอกระบบ ๔,๘๐๔ เรื่อง แก้ไขแล้วเสร็จ ๒,๔๖๖ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๓๓ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ๒,๓๓๘ เรื่อง • รับฟังความเห็นเรื่องปฏิรูป ๙๑ เรื่อง ๖. การด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป รัฐบาลโดยกระทรวงมหาดไทยได้ร่วมกับกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ภายใต้ภารกิจของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ซึ่งจัดตั้ง โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติด�ำเนินพันธกิจ๓ประการคือ(๑)ก�ำหนดแนวทางในการเสริมสร้าง บรรยากาศปรองดองสมานฉันท์ให้หน่วยงานส่วนราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องรับไปด�ำเนินการ เพื่อยุติความขัดแย้งของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่าย (๒) รวบรวมข้อมูล ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จากประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่าย เพื่อน�ำมาสรุปและวิเคราะห์ ก�ำหนดเป็นแนวทาง (Roadmap) ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เพื่อเสริมสร้างความรัก ความสามัคคี ความปรองดองสมานฉันท์ และคืนความสุขให้แก่คนในชาติ และ (๓) เชิญบุคคล ผู้แทนหน่วยงาน ส่วนราชการ ตลอดจน องค์กรที่เกี่ยวข้อง มาให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่การด�ำเนินงาน ของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปได้ตามความเหมาะสมโดยมีการด�ำเนินงานตามแผนงาน โครงการ ดังนี้
  • 6. 400 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๖.๑ แผนงานลดความขัดแย้งอันเนื่องมาจากความแตกต่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีเป้าหมายให้ทุกภาคส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสารในการบริหารราชการแผ่นดินอย่างถูกต้อง และเพื่อให้ การน�ำเสนอข่าวสารมีความเที่ยงตรงชัดเจนและมีฐานข้อมูลที่ถูกต้องมีจ�ำนวน๓โครงการได้แก่ ๖.๑.๑ โครงการเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์และติดตามผลการแก้ไขข้อร้องเรียน ของประชาชน โดยจัดท�ำเว็บไซต์ www.crr-thai.org และ Facebook: ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูป และติดตั้ง Call Center หมายเลข ๑๑๕๒ มีผู้เข้าชมและใช้งานเว็บไซต์มากกว่า ๕๐๐,๐๐ ครั้ง มีการจัดท�ำแอปพลิเคชัน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ผู้เข้าเยี่ยมชมการเชื่อมโยงไปยังระบบเครือข่ายสาธารณะ Social Network เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียน จากประชาชน ๖.๑.๒ โครงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่กิจกรรม ของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ด�ำเนินรายการคนไทยหัวใจเดียวกันทางสถานี วิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง๕จัดท�ำวีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูปทางสถานีโทรทัศน์ประชาสัมพันธ์ด้วยอักษรวิ่งทางสถานีโทรทัศน์และประชาสัมพันธ์ กิจกรรม “เวทีความคิด ปฏิรูปประเทศไทย” ตามโครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน เป็นประจ�ำทุกวัน ผ่านทางเครือข่ายสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก ๑๒๗ สถานี และสถานีวิทยุเครือข่าย กรมประชาสัมพันธ์ ๑๕๐ สถานี ๖.๑.๓ โครงการสื่อมวลชนสัมพันธ์ โดยพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับเป้าหมาย ในระดับจังหวัดจ�ำนวน๑๐๐คน๒เดือนต่อครั้งและในระดับภาคจ�ำนวน๒๕๐คน๓เดือนต่อครั้ง ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน ๓๙๒ แห่ง มีสื่อมวลชนเข้าร่วม จ�ำนวน ๔๑,๑๕๐ คน มีผลการด�ำเนินการ โดยสรุปเป็นข้อคิดเห็น คือ ภาครัฐควรลดการครอบง�ำสื่อ ให้สื่อมีความเป็นอิสระในการน�ำเสนอ ข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ อย่างตรงไปตรงมา หน่วยงานภาครัฐมีการให้ข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง เพื่อให้สื่อต่าง ๆ สามารถเสนอข่าวได้อย่างถูกต้องชัดเจน ควรมีศูนย์ข้อมูลข่าวสารในท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเป็นจริง สื่อมวลชนเสนอให้มีหน่วยงานเฉพาะ เพื่อท�ำหน้าที่บริหารจัดการตรวจสอบและควบคุมการน�ำเสนอหรือเผยแพร่ข่าวสารทางสื่อ Social Networkให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและไม่สร้างความแตกแยกเกลียดชังในสังคมนอกจากนี้ต้องการให้ ภาครัฐมีมาตรการคุ้มครองสื่อดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนอย่างเป็นรูปธรรม แต่ไม่ใช่การแทรกแซงสื่อ
  • 7. 401การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๖.๒ แผนงานป้องกันแก้ไขไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นใหม่ โดยด�ำเนินโครงการ สร้างความเข้มแข็งสู่การปฏิรูปสังคมเพื่อติดตามสถานการณ์และด�ำเนินกิจกรรมไม่ให้คู่ขัดแย้งเช่น แกนน�ำ กลุ่มหรือบุคคลที่มีความขัดแย้งเดิมในสังคมและกลุ่มหรือบุคคลที่จะท�ำให้เกิดความขัดแย้ง ในสังคม อันมีผลกระทบต่อความมั่นคงหรือข้อขัดแย้งที่มีอยู่เดิมในทุกภาคส่วนของสังคม ได้ก่อตัวเกิดขึ้นมาใหม่โดยใช้การพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับเป้าหมายในระดับจังหวัดจ�ำนวน ๕๐ คน ๒ เดือนต่อครั้ง ในระดับภาค จ�ำนวน ๑๐๐ คน ๓ เดือนต่อครั้ง ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน ๓๙๒ แห่ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน ๒๑,๒๐๐ คน มีผลสรุปข้อคิดเห็นในประเด็น ด้านต่างๆเช่นด้านการเมืองการบริหารราชการแผ่นดินการสร้างจริยธรรมของผู้บริหารประเทศ กระบวนการยุติธรรมการทุจริตคอร์รัปชันการศึกษาการขจัดความเหลื่อมล�้ำ การจัดการทรัพยากร ข้อมูลข่าวสาร ๖.๓ แผนงานภาคประชาสังคมมีส่วนร่วม ด�ำเนินโครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน เพื่อขจัดข้อขัดแย้งและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่ เปิดเวทีความคิด ให้กับประชาชนในการปฏิรูปประเทศทั้ง ๑๑ ด้าน และรับทราบความต้องการของประชาชน ที่ต้องการให้ภาครัฐแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน รวมถึงแนวคิดการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของประชาชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมจากเทศบาลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน ๔,๑๓๖ แห่ง มหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๙๒ แห่ง องค์กรวิชาชีพ ๔๐ แห่ง รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น ๔,๒๖๘ แห่ง เปิดเวทีความคิดให้แก่เป้าหมายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เป้าหมายละ ๑๐๐ คน เป้าหมายละ ๑ ครั้ง ด�ำเนินการทั้งสิ้น จ�ำนวน ๔,๒๖๘ แห่ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน ๔๕๒,๔๐๘ คน มีผลสรุปข้อคิดเห็นของประชาชนในประเด็นส�ำคัญที่น่าสนใจ เช่น ควรมีการจัดท�ำเวทีประชาคมสร้างความปรองดองอบรมสร้างความเข้าใจเด็กเยาวชนสร้างความเข้าใจ สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องในอนาคต สร้างกิจกรรมความปรองดอง ของเด็ก เยาวชน ระดับหมู่บ้าน ชุมชน เช่น การเข้าค่ายเพื่อให้เกิดความสามัคคี ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ให้มีการจัดเวทีพบปะระหว่างผู้น�ำชาวบ้านให้บ่อยขึ้น เริ่มปลูกฝังความส�ำคัญ ล�ำดับอาวุโส สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม ให้มีการจัดเวทีพบปะระหว่างแกนน�ำ ทางการเมืองทุกพรรคให้ส�ำนึกรักชาติมากกว่าผลประโยชน์ของกลุ่มบุคคล ควรมีคนกลาง ที่แท้จริงในการประสานด้านความคิดการสร้างความสมานฉันท์รวมทั้งมีกิจกรรมบางส่วนถูกบังคับ ให้ท�ำหรือเข้าร่วมกิจกรรม หรือความคิดเห็นที่น�ำเสนอไม่ได้รับการพิจารณาน�ำไปปฏิบัติ ไม่มีการสานต่อแก้ไขหรือน�ำไปใช้ประโยชน์ จึงไม่เกิดการมีส่วนร่วม
  • 8. 402 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๖.๔ แผนงานสร้างค่านิยมสร้างจิตส�ำนึกและความสามัคคี ได้ด�ำเนินมหกรรม เอกลักษณ์ไทยหัวใจ๔ภาคเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนทุกภาคส่วนก่อเกิดค่านิยม และจิตส�ำนึกในการรักษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย โดยการจัดแสดงศิลปวัฒนธรรม ประจ�ำภูมิภาคทั้ง ๔ ภาค จัดนิทรรศการ เอกลักษณ์ จุดเด่น อันเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดต่าง ๆ ทุกภูมิภาคของประเทศ ได้จัดกิจกรรมจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง ในพื้นที่ ๑๖ จังหวัดทั่วประเทศ ๖.๕ แผนงานรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและสถานที่ ราชการ มีโครงการฝึกอบรมทดสอบกองอาสารักษาดินแดน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เจ้าหน้าที่หน่วยงานความมั่นคงภาครัฐ และมูลนิธิต่าง ๆ ของภาคเอกชน เพื่อบูรณาการหน่วยงาน ทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดด้วยการฝึกอบรมทดสอบการปฏิบัติในการป้องกันภัยหรือระงับ เหตุการณ์ที่จะน�ำไปสู่ความไม่สงบในพื้นที่ โดยด�ำเนินการในจังหวัดเป้าหมายจ�ำนวน ๔๖ จังหวัด มีผู้เข้ารับการอบรมในพื้นที่จังหวัดเป้าหมาย จ�ำนวน ๔,๗๕๐ คน ๗. การด�ำเนินการเยียวยาด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ รัฐบาลตระหนักดีว่ากระบวนการเยียวยาเป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการสร้างความปรองดอง และมีผลในการป้องกันเหตุการณ์ความรุนแรงในอนาคต เนื่องจากเป็นสิ่งที่คนในสังคมโดยเฉพาะ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างรอคอยและคาดหวังความช่วยเหลือจากรัฐบาล ในฐานะ “รัฐ” จึงได้ด�ำเนินมาตรการเยียวยาควบคู่กันทั้งในส่วนของ (๑) การเยียวยาที่เป็นตัวเงิน และ(๒)การเยียวยาที่ไม่ใช่ตัวเงินอันหมายถึงความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมต่างๆเพื่อให้ผู้เสียหาย สามารถกลับมาด�ำรงชีวิตได้ต่อไป เช่น การบ�ำบัดฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ การช่วยเหลือหางาน ให้คนพิการทุพพลภาพหรือสูญเสียหัวหน้าครอบครัวการดูแลการศึกษาแก่ลูกก�ำพร้าการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ การให้ค�ำแนะน�ำด้านกฎหมาย การช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมแก่ครอบครัวของจ�ำเลยที่ไม่ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวการให้ความเป็นธรรมเร่งรัดคดี หรือโอกาสในการรับรู้ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ ๗.๑ การเยียวยาที่เป็นตัวเงิน รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการเยียวยา ด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ตามค�ำสั่งส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๑๔/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพื่อพิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์และเสนอแนะมาตรการ กลไกและวิธีการเยียวยาด้านการเงิน ตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองปี๒๕๕๖-๒๕๕๗ รวมถึงเหตุการณ์การชุมนุมทางการเมือง ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ และอ�ำนวยการ ก�ำกับ ติดตาม และวินิจฉัยสั่งการ เพื่อให้การเยียวยาด้านการเงินเป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ โดยมีผลการด�ำเนินการดังนี้
  • 9. 403การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๗.๑.๑ การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาช่วยเหลือเยียวยาทางการเงินไปแล้วตามหลักเกณฑ์ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๑ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๕ และมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ในส่วนที่ยังคงค้างอยู่ เบื้องต้นก�ำหนดให้รอจนกว่าคดีของคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจะถึงที่สุดก่อนนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๘ กันยายน๒๕๕๘ให้กระทรวงยุติธรรมพิจารณาว่าการรอผลคดีดังกล่าวท�ำให้ล่าช้าไปหรือไม่มีวิธีใด ที่จะสามารถท�ำให้เร็วขึ้นแต่ต้องเป็นไปตามกฎหมายและอ�ำนาจที่มีอยู่ในปัจจุบัน ๗.๑.๒ การเยียวยากรณีผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านการเงิน ตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองปี๒๕๕๖-๒๕๕๗ (ชีวิตและร่างกาย) คาดว่าใช้งบประมาณในการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ จ�ำนวน ๘๖๒ ราย (เสียชีวิต ๒๘ ราย บาดเจ็บ ๘๓๔ ราย) ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘ อนุมัติให้ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘งบกลางรายการเงินส�ำรองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�ำเป็นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการเยียวยาวงเงิน๑๒๐,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการให้ความช่วยเหลือ และเบิกจ่ายงบประมาณในการจ่ายเงินเยียวยา เงินฟื้นฟูสมรรถภาพ และเงินยังชีพ และส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการให้ความช่วยเหลือและเบิกจ่าย งบประมาณในการจ่ายเงินทุนการศึกษาแก่ผู้มีสิทธิได้รับเงินเยียวยาภายใต้หลักเกณฑ์ ส่วนในปีงบประมาณต่อไปขอให้ตั้งงบประมาณปกติในการเยียวยาและค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ของคณะกรรมการอ�ำนวยการเยียวยาด้านการเงินตามหลักมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ปี ๒๕๕๖-๒๔๔๗ คณะอนุกรรมการ กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี วงเงิน๑,๐๐๐,๐๐๐บาทโดยให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยเบิกจ่ายงบประมาณ ทั้งนี้ จะเริ่มด�ำเนินการรับค�ำร้องในเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ และประกาศรายชื่อและจ่ายเงินเยียวยา ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ๗.๒ การเยียวยาที่ไม่เป็นตัวเงิน เพื่อแสดงว่ารัฐบาลรับรู้ในความสูญเสียของประชาชน อันเกิดจากเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในอดีตที่ผ่านมาและมิได้เพิกเฉยต่อความเจ็บปวด ทุกข์ยากของประชาชนที่ได้รับผลกระทบ จึงให้หน่วยงานต่าง ๆ ประสานความร่วมมือกับ ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.) ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม แก่ผู้ได้รับผลกระทบด้วยความเอื้ออาทรเพื่อพยายามให้ผู้ได้รับผลกระทบสามารถกลับมาด�ำรงชีวิต ได้ตามปกติ ดังนี้
  • 10. 404 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๗.๒.๑ ส�ำรวจปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการเยียวยาด้านมนุษยธรรม (ในส่วนที่ไม่ใช่ตัวเงิน) ของผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทุกฝ่าย ตั้งแต่ปี๒๕๔๘-๒๕๕๗โดยใช้ช่องทางรับฟังความเห็นผ่านศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป และศูนย์ด�ำรงธรรม ตลอดจนประสานกับกลไกของสภาปฏิรูปแห่งชาติที่มีภารกิจเกี่ยวข้อง กับการสร้างความปรองดอง ๗.๒.๒ ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ความรุนแรงทางการเมืองที่มีภูมิล�ำเนาในแต่ละจังหวัดเช่นการบ�ำบัดฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ การช่วยเหลือหางานให้คนพิการ ทุพพลภาพ หรือสูญเสียหัวหน้าครอบครัว การดูแลการศึกษา แก่ลูกก�ำพร้า ฯลฯ โดยประสานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรสาธารณกุศลและองค์กรศาสนาในแต่ละจังหวัดให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านมนุษยธรรม เพื่อบรรเทาผลกระทบเฉพาะหน้าของประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ให้สามารถ ฟื้นกลับไปด�ำรงชีวิตในชุมชนได้เป็นปกติ ๗.๒.๓ ติดตามและเร่งรัดความคืบหน้าด้านคดีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ความขัดแย้งทางการเมืองตั้งแต่ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๗ ของทุกฝ่าย ๗.๒.๔ สั่งการให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรายงานความคืบหน้าและปัญหาอุปสรรค ในการด�ำเนินการให้นายกรัฐมนตรีทราบอย่างต่อเนื่อง ๘. การด�ำเนินการตามข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปเรื่องแนวทางการสร้าง ความปรองดองของสภาปฏิรูปแห่งชาติ รัฐบาลให้ความส�ำคัญแก่ข้อเสนอของทุกภาคส่วนเกี่ยวกับแนวทางในการสร้างความปรองดอง รวมถึงรายงานของคณะกรรมการศึกษาแนวทางสร้างความปรองดองของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ซึ่งได้จัดท�ำขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘ รับทราบข้อเสนอแนวทางการสร้างความปรองดองตามรายงานดังกล่าวและมอบหมายให้กระทรวง ยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักรับไปพิจารณาหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาศึกษา แนวทางและความเหมาะสมของข้อเสนอดังกล่าวและสรุปผลการพิจารณาหรือผลการด�ำเนินการ เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวในภาพรวมแล้วเสนอคณะรัฐมนตรีทั้งนี้กระทรวงยุติธรรมได้เชิญประชุมหารือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแล้วเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ในการด�ำเนินการตามข้อเสนอดังกล่าว ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ และมีข้อเสนอการสร้างความปรองดอง ดังนี้ ๘.๑ การสร้างความเข้าใจร่วมของสังคมต่อเหตุแห่งความขัดแย้ง โดยการสังเคราะห์ ข้อมูลเบื้องต้นจากรายงานผลการศึกษาที่หน่วยงานต่าง ๆ ด�ำเนินการไว้ รวมทั้งการจัดเวที รับฟังข้อมูลข้อเท็จจริงประเด็นปัญหาข้อเสนอแนะจากกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ ร่วมกันของสังคมต่อเหตุความขัดแย้ง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานส�ำคัญต่อการก�ำหนดและเสนอแนะแนว ทางการคลี่คลายความขัดแย้งและป้องกันเหตุที่จะท�ำให้เกิดความขัดแย้งในอนาคต
  • 11. 405การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๘.๒ การแสวงหาและเปิดเผยข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ความรุนแรง โดยการรวบรวม ข้อเท็จจริง แรงจูงใจเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายและการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจน ผู้เกี่ยวข้องที่เป็นผู้กระท�ำการดังกล่าวในเหตุการณ์รุนแรงที่เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง เพื่อการสร้างความเข้าใจร่วมกันของสังคมต่อเหตุการณ์และน�ำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาสรุปบทเรียน ในการป้องกันมิให้ประเทศชาติต้องประสบกับวิกฤตการณ์เช่นนี้อีก ๘.๓ การอ�ำนวยความยุติธรรม การส�ำนึกรับผิด และการให้อภัย โดยการน�ำ หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(TransitionalJustice)อันเป็นหลักความยุติธรรมในระยะ ที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่พยายามท�ำความเข้าใจผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ และกระบวนทัศน์แบบความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) ที่ให้ความส�ำคัญ แก่ผู้เสียหายเป็นอันดับแรกมาใช้ด�ำเนินการ เพื่อการอ�ำนวยความยุติธรรมและเอื้อให้เกิด การส�ำนึกผิดและการให้อภัยซึ่งจะช่วยน�ำพาสังคมไปสู่สันติภาพ ให้สังคมเดินหน้าต่อไป โดยที่เหตุการณ์ความรุนแรงไม่ย้อนกลับมาอีกครั้ง ๘.๔ การเยียวยาดูแลและการฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบมีแนวทางด�ำเนินการหลายประการ เช่น การจัดตั้งศูนย์ประสานงานและรวบรวมข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุม ทางการเมืองตั้งแต่ปี๒๕๔๘-๒๕๕๗การจัดท�ำฐานข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายจากเหตุการณ์ชุมนุม ทางการเมืองการเยียวยาดูแลและฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบทุกฝ่ายโดยมีมาตรการเยียวยาและฟื้นฟู ทั้งในส่วนที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน นอกจากนี้ จะต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง จัดท�ำ กฎหมาย กฎระเบียบที่จ�ำเป็น รวมทั้งก�ำหนดหลักเกณฑ์ ฐานการคิดค�ำนวณอัตราในการให้การชดเชย ความเสียหายและการเยียวยา โดยไม่ท�ำให้เกิดการเลือกปฏิบัติ ๘.๕ การสร้างสภาวะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมท่ามกลางความคิดเห็น ที่แตกต่าง โดยควรด�ำเนินการทั้งในด้าน (๑) พัฒนายุทธศาสตร์สันติวิธีเพื่อความมั่นคงของชาติ บูรณาการให้การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีเป็นหลักปฏิบัติเชิงนโยบาย ให้คุณค่าของสังคม พหุวัฒนธรรม (๒) ส่งเสริมให้มียุทธศาสตร์การสื่อสารกับสังคมเพื่อสร้างความเข้าใจของประชาชน ให้ตระหนักถึงผลจากการใช้ความรุนแรงในการจัดการปัญหา ความเคารพและรับผิดชอบ ในการใช้สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล (๓) การสร้างเครื่องเตือนใจ สัญลักษณ์ความทรงจ�ำให้สังคม ได้เรียนรู้ร่วมกันถึงเรื่องราวของความขัดแย้งและร�ำลึกถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้น (๔) การฟื้นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สังคม องค์กร และสถาบัน ที่มีความขัดแย้งกัน (๕) การเร่งรัด ผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างหรือองค์กรทางการเมืองให้เอื้อต่อการเกิดวัฒนธรรมทางการเมือง แบบพหุนิยมให้สอดคล้องกับสภาพสังคมไทย และ (๖) การเร่งรัด ผลักดันการปฏิรูปโครงสร้าง และระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพื่อขจัดปัญหาความเหลื่อมล�้ำและสร้างความเป็นธรรม ทางสังคม
  • 12. 406 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ รายงานผลการด�ำเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒ กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘) ๘.๖ มาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง โดยด�ำเนินการ (๑) ควรมีการเฝ้าระวังสถานการณ์ ระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าหรือปะทะรุนแรง ระหว่างฝ่ายประชาชนหรือฝ่ายเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง (๒) ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตาม หลักนิติธรรมอย่างเคร่งครัด โดยหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานอื่นของรัฐ ที่เกี่ยวข้อง(๓)ปฏิรูปและก�ำกับบทบาทการท�ำหน้าที่และการรักษาจรรยาบรรณของสื่อสารมวลชน น�ำเสนอเนื้อหาสาระที่สร้างสรรค์ ไม่ยุยง บิดเบือนข้อเท็จจริง จนเกิดความเกลียดชัง หรือการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างคนในสังคมโดยยังให้หลักประกันสิทธิเสรีภาพ ของสื่อมวลชน(๔)ลดบทบาทบุคคลและปฏิรูปหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งเพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นและการสร้างความไว้วางใจของสังคม (๕) ในเหตุการณ์ชุมนุม ควรให้หน่วยบริการ ทางการแพทย์เข้าถึงผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิตโดยเร็วและปกป้องคุ้มครองผู้ให้บริการอย่างปลอดภัยที่สุด (๖) ในการควบคุมฝูงชนใช้วิจารณญาณในการปฏิบัติต่อสถานการณ์อย่างรอบคอบเน้นใช้การเจรจา และปฏิบัติกฎการปะทะตามหลักสากลอย่างเคร่งครัด และ (๗) ควรมีมาตรการตรวจสอบ ลงโทษ การแสดงความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่ท�ำเกินกว่าเหตุ ทั้งหมดนี้เพื่อป้องกันและป้องปราม ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงขึ้นอีกในสังคมไทย