SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
ในการจัดการป่ าไม้ระดับชุมชน
www.elifesara.com
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทําถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทําถูกต้อง ทุกหน่วยงานทําถูกต้อง แล้วทําไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นําไปสู่ความยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่
ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่
ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนําไปสู่ความยุติธรรมและความมีคุณธรรม
จริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
www.elifesara.com
พระเจ้าอยู่หัวเคยมีรับสั่งว่า
“นักกฎหมายบางทีอยู่กับกฎหมายมากเกินไป เลยคิดว่ากฎหมายคือความ
ยุติธรรม ความจริงแล้วกฎหมายกับความยุติธรรมเป็นคนละเรื่องกัน
กฎหมายเป็นเครื่องมือที่จะนําสังคมไปสู่ความยุติธรรม แต่ไม่ใช่ความ
ยุติธรรมในตัว ของมันเอง”
www.elifesara.com 4
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
•สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
•ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกําจัดตัวบุคคล
•ยิ่งใช้อํานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
•ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
•“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจ
ของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
www.elifesara.com
•ความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านกับเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่ป่า เป็นเรื่องที่มีมาตลอดเวลา
•พื้นที่ป่ามีน้อยลง ชาวบ้านมีจํานวนมากขึ้น ความจําเป็นในการรักษาป่าไม้มีความสําคัญมาก
ขึ้น
•ชาวบ้านอ้างว่าอยู่กันมานานแล้ว ขณะที่เจ้าหน้าที่บอกว่าชาวบ้านบุกรุกพื้นที่ป่า
•ฝ่ายหนึ่งถือสิทธิครอบครอง อีกฝ่ายถือกฎหมาย
•ความถูกต้อง ความเป็นธรรมควรเป็นอย่างไร
ปั ญหา เรื่องสิทธิในที่ดิน
www.elifesara.com
•กฎมายมีไว้สําหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่ว่ากฏหมายมีไว้
สําหรับบังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็กลายเป็นเผด็จ
การ กลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมู่น้อยจะต้องบังคับบุคคลหมู่มาก
•ในทางตรงกันข้าม กฏหมายมีไว้สําหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีและอยู่ได้
ด้วยความสงบบางทีเราตั้งกฏหมายขึ้นมาก็ด้วยวิชาการซึ่งได้จาก
ต่างประเทศ เพราะว่าวิชาการกฏหมายนี้ก็เป็นวิชาการที่กว้างขวาง
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
www.elifesara.com
•การทํามาหากินของประชาชนที่อยู่ห่างไกล ซึ่งเราเอากฎหมายไปบังคับประชาชน
เหล่านั้นไม่ได้ เพราะว่าเป็นความผิดของตนเอง เพราะการปกครองไม่ถึง
ประชาชนที่อยู่ในที่ห่างไกล จึงไม่สามารถทราบถึงกฏหมาย
•ความบกพร่องก็อยู่ที่ทางฝ่ายที่บังคับกฏหมายมากกว่าฝ่ายที่จะถูกบังคับ ข้อนี้ควร
จะถือป็นหลักเหมือนกัน ฉะนั้นจะต้องหาวิธีที่จะปฏิบัติกฏหมายให้ถูกต้องตามหลัก
ธรรมชาติ......”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
www.elifesara.com
“.......ในป่าสงวนซึ่งทางราชการได้ขีดเส้นไว้ว่าเป็นป่าสงวนหรือป่าจําแนก แต่ว่าเราขีดเส้น
ไว้ประชาชนก็มีอยู่ในนั้นแล้ว เราจะเอากฏหมายป่าสงวนไปบังคับคนที่อยู่ในป่าที่ยังไม่ได้
สงวนแล้วเพิ่งไปสงวนทีหลังโดยขีดเส้นบนเศษกระดาษก็ดูชอบกลอยู่
แต่มีปัญหาเกิดขึ้นที่เมื่อขีดเส้นแล้ว ประชาชนที่อยู่ในนั้นก็กลายเป็นผู้ฝ่าฝืนกฏหมายไป
ถ้าดูในทางกฏหมายเขาก็ฝ่าฝืน เพราะว่าตรามาเป็นกฏหมายโดยชอบธรรม แต่ว่าถ้าตาม
ธรรมชาติ ใครเป็นผู้ทําผิดกฏหมายก็ผู้ที่ขีดเส้นนั่นเอง เพราะว่าบุคคลที่อยู่ในป่านั้นเขาอยู่
ก่อน เขามีสิทธิในทางเป็นมนุษย์”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
www.elifesara.com
•เพื่อการเกษตร แหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม
•ต้นนํ้านั้นมาจากป่า อาศัยผลผลิตจากป่าเป็นรายได้เสริมนอกเหนือจากการทําเกษตรกรรม
•ป่ายังเป็นแหล่งที่มาของความเชื่อ ประเพณี ซึ่งเป็นรากฐานความสัมพันธ์ของชุมชน
•ป่ากับความอยู่รอดของชุมชน มีมานานไม่สามารถแยกจากกันได้
•ชนพื้นเมือง/กลุ่มชนชาติพันธุ์/ชุมชนท้องถิ่น มีวัฒนธรรม/วิถีปฏิบัติในการแลรักษาป่า เช่น
ความเชื่อเรื่องผีที่ดูแลป่า รักษาต้นนํ้า แบบแผนการใช้ทรัพยากรจากป่าอย่างรู้คุณค่า และมี
กุศโลบายในการรักษาความสมบูรณ์ของป่าผ่านทางพิธีกรรมต่างๆ
สังคมชนบทอาศัยพึ่งพาป่า
www.elifesara.com
•ชนพื้นเมืองหรือกลุ่มชาติพันธุ์ มีวัฒนธรรมในการจัดการและดูแลรักษาป่า
•ความเชื่อผีที่ดูแลป่า รักษาต้นนํ้า แบบแผนการใช้ทรัพยากรจากป่าอย่างรู้คุณค่า
•การรักษาความสมบูรณ์ของป่าผ่านทางพิธีกรรมต่างๆ
•ความแตกต่างหลากหลายตามภูมินิเวศและวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง
•ชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มคนพื้นเมืองจะมีการดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้
•นโยบายและกฎหมายในการหยุดการทําลายป่า
•ป่าไม้ของไทยลดน้อยถ้อยลง ป่ายังคงถูกทําลาย กฎหมายไม่เอื้อ
สังคมชนบทไทยอาศัยพึ่งพาป่า
www.elifesara.com
•มีความขัดแย้งในตัวนโยบายเองและการปฏิบัติจริง
•รัฐได้พยายามในการอนุรักษ์และจัดการป่าไม้ เพื่อรักษาขนาดและพื้นที่ของป่า
•มีนโยบายส่งเสริมพืชเชิงเดี่ยวที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่และตลาดมีการขยายตัว
•อิทธิพลต่อวิถีชีวิตและกระบวนทัศน์ของคนท้องถิ่น
•กฎหมายป่าไม้ที่ไม่เอื้อและไม่ทันสมัยต่อสถานการณ์นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง
เจ้าหน้าที่กับชุมชน ที่อยู่ในพื้นที่เขตอนุรักษ์ เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชน
และป่าไม้
สังคมชนบทไทยอาศัยพึ่งพาป่า
www.elifesara.com
•การปรับตัวของการจัดการทรัพยากรในชุมชน ลดความยากจน/ความเหลื่อมลํ้า
•จากการถูกแย่งชิงทรัพยากรเพื่อการพัฒนาประเทศ
•การรักษาพื้นที่ป่าและความสมบูรณ์ของนิเวศ เพื่อความสมดุลย์
•ป่าชุมชนเป็นกลไกที่ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ จัดการ ฟื้ นฟูให้ป่ามีความ
สมบูรณ์เพิ่มขึ้น
•มีการใช้ทรัพยากรและผลผลิตจากป่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความมั่นคงแห่งชีวิตของ
คนในชุมชน ยู่ดีขึ้นจึงไม่ต้องอพยพย้ายถิ่นฐาน และที่สําคัญยิ่งคือเพิ่มความสามารถให้กับ
มนุษยชาติ ได้เรียนรู้การอยู่อย่างสมดุลกับธรรมชาติและดํารงชีพอยู่ได้อย่างมีความสุข
ป่าชุมชน
www.elifesara.com
• ชุมชนเป็นฐานการจัดการร่วมกันของชุมชน มีระบบทรัพยากรร่วมของชุมชน
• กิจกรรมของคนชนบทในการจัดการป่าไม้ เพื่อผลประโยชน์ของครอบครัวและชุมชน
• สนับสนุนและถ่ายอํานาจให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปลูก จัดการ ป้องกัน และเก็บหาผลประโยชน์จากป่า
ไม้
• ให้มีการจัดการที่ยั่งยืนทั้งป่าบก ป่าชายเลน ป่าพรุและบุ่งทาม ต้นไม้ ทุ่งหญ้า พันธุ์พืช สัตว์ป่า แหล่งนํ้า และ
สรรพสิ่งในธรรมชาติที่เป็นระบบนิเวศทั้งหมด
• ป่าชุมชนอาจอยู่รอบหมู่บ้าน/ชุมชน หรืออยู่ใกล้เคียงชุมชน ใช้ประโยชน์จากป่าอย่างยั่งยืน
• ชุมชนเป็นผู้ดูแลรักษา ฟื้ นฟู และพัฒนาป่าชุมชน
การจัดการทรัพยากรนิเวศป่าไม้
www.elifesara.com
• ความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับชาวบ้าน ชุมชนกับคนในสังคม คนกับคน
• ยกระดับความเป็นอยู่/สวัสดิการของชุมชน กระจายอํานาจจัดการทรัพยากรชุมชนท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม
• กําหนดกฎเกณฑ์ วางแผนจัดการป่าชุมชน/ตั้งกลไกจัดการป่าชุมชน/คนในชุมชนด้วยการวางแผนร่วมกัน
ของคนในชุมชนที่ต้องมีส่วนร่วมของสมาชิกอย่างแท้จริง
• วางแผนจัดการของชุมชน ให้ทุกส่วนรับรู้ และยอมรับของชุมชนรอบข้างด้วย
• ความขัดแย้งระหว่างชุมชนจะเกิดขึ้นหากขาดการมีส่วนร่วม ป่าชุมชนที่ประสบความสําเร็จอย่างยั่งยืนควรมี
การทํางานร่วมกันในรูปเครือข่าย เช่น เครือข่ายลุ่มนํ้า เครือข่าย ป่าชุมชน เป็นต้น
กระบวนการการจัดความสัมพันธ์ทางสังคมแบบใหม่
www.elifesara.com
• จัดการทรัพยากรต่างๆแบบองค์รวม ชุมชนล้วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ให้ความสําคัญกับป่า ไม่แยกส่วน
• เป็นการจัดการเชิงระบบนิเวศป่าไม้ ที่ชุมชนใช้ประโยชน์ไม่ได้ เพราะเลือกที่จะดูแลรักษาป่าแทนการทําลาย
• ชุมชนต้องได้รับประโยชน์จากการรักษาป่าเป็นการทดแทน
• มีขอบเขตที่ชาวบ้านสามารถจําแนกขนาดของพื้นที่ได้ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นผืนป่าขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่
• มีการจัดการร่วมกันหลายชุมชนก็ได้ กําหนดขอบเขตทําร่วมกันระหว่างชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ก็ได้
• ชุมชนมีอํานาจในการบริหารจัดการป่าชุมชนอย่างอิสระและสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ การร่วม
รับผิดชอบและตัดสินใจ จุดประสงค์และเป้าหมายของการจัดการป่าชุมชนต้องสอดคล้องกับความต้องการของ
คนส่วนใหญ่ในชุมชน
ลักษณะที่สําคัญของป่าชุมชน
www.elifesara.com
•กฎหมายรองรับสถานภาพป่าชุมชน
•กรมป่ามีการจัดตั้งสํานักจัดการป่าชุมชนและมีการสนับสนุนชุมชนในการจัดการป่าอย่างมี
ส่วนร่วมของชุมชน
•มีการจดทะเบียนการจัดตั้งป่าชุมชนโดยองค์กรชุมชน
•มีการสนับสนุนทั้งด้านวิชาการและทรัพยากร
•ประเทศไทยมีการจัดการนิเวศป่าไม้ในรูปแบบป่าชุมชนมากกว่า 10,000 ป่าชุมชน ในหลาย
พื้นที่
ป่าชุมชนในประเทศไทย
www.elifesara.com
•ภาคเหนือเป็นที่สูง
•มีการรักษาพื้นที่ป่าเพื่อเป็นต้นนํ้า
•เป็นแหล่งอาหาร สมุนไพร และประกอบพิธีกรรม
•การดูแลรักษาป่าจําแนกออกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ เช่นป่าขุนนํ้า ป่าความ
เชื่อ ป่าใช้สอย
•ชุมชนผู้รักษาป่าก็มีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์
ป่าชุมชนภาคเหนือ
www.elifesara.com
การ
ปรัชญาในการทางานชุมชน
1. มนุษย์ทุกคนมีเกียรติและศักดิ์ศรีในความเป็นคน
2. มนุษย์ทุกคนมีความสามารถ หรือมีศักยภาพ
3. ความสามารถของมนุษย์สามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาส
www.elifesara.com
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาชุมชน
1. การมีส่วนร่วมของประชาชน
2. การช่วยเหลือตนเอง
3. ความคิดริเริ่มของประชาชน
4. ความต้องการของชุมชน
5. การศึกษาเรียนรู้ตามวิถีชีวิต
6. ยึดหลักประชาธิปไตย
www.elifesara.com
• เข้าใจตัวเอง
• เข้าใจผู้อื่น
• เข้าใจสังคม
• เข้าใจโครงสร้างของหมู่คณะ
• เข้าใจหลักการและวิธีการสร้างความสัมพันธ์
การสร้างความสัมพันธ์
www.elifesara.com
www.elifesara.com
การรู้จักตนเอง
ความแตกต่างของมนุษย์เกิดจาก
1. ค่านิยม
2. การรับรู้
3. ทัศนคติ
4. บุคลิกภาพ
www.elifesara.com
www.elifesara.com
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่พูดคุย
การชี้นิ้วใส่ผู้อื่น เป็นภาษาสากลมีความหมายในทางลบและแสดงถึงการเผด็จการ
ข่มขู่ผู้ฟัง ก้าวร้าวและอาการโกรธ เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติกับผู้อื่น
ผลสํารวจที่ทดลองกับผู้บรรยาย 8 คนที่ให้ใช้สัญญาณ
มือ 3 แบบนี้ ระหว่างการบรรยายครั้งละ 10 นาที และดู
ปฏิกิริยาของผู้ฟังแต่ละครั้ง
ประเทศมาเลเซียและฟิลิปปินส์ การชี้นิ้วถือเป็นการดูถูก เพราะเขาจะใช้กับสัตว์เท่านั้น
คนมาเลเซียจะใช้นิ้วโป้ งชี้คนหรือบอกทิศทาง
www.elifesara.com
การเข้าใจคนอื่น
1. จากการสืบค้นข้อมูลประวัติ
2. ค้นคว้าจากตํารา แล้วนํามาเป็นหลักการ
3. สัมภาษณ์ และสนทนา
4. จากการสังเกต
5. จากผลงานของเขาที่ผ่านมา และจากการปฏิบัติงานร่วมกัน
www.elifesara.com
เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
7. หมั่นให้กําลังใจคนอื่น มิใช่ซํ้าเติม
8. อดกลั้นและหลีกเลี่ยงการโต้เถียง
9. เคารพความคิดเห็น และพูดคุยเรื่องที่เขาสนใจ
10. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่กระทํา
11. พูดเรื่องความผิดของเราก่อนที่จะตําหนิผู้อื่น
www.elifesara.com
1. อย่าตําหนิ ประจาน หรือบ่น
2. ยกย่องและเอาใจใส่ต่อผู้อื่น
4. ยิ้ม
5. จําชื่อผู้อื่นและเรียกให้ถูกต้อง ให้ความ
เป็นกันเอง
6. เป็นนักฟังที่ดี
การสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น
1. รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเอง
2. ส่งเสริมให้กําลังใจกัน
3. ยกย่องชมเชย
4. หลีกเลี่ยงการขู่บังคับ
5. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม
www.elifesara.com
www.elifesara.com
ความขัดแย้งกันเป็นเรื่องธรรมดา
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม
เมื่อสังคมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ต้องหาวิธีการจัดการความขัดแย้งให้
เหมาะสมกับลักษณะความขัดแย้งและความต้องการของคู่กรณี เพื่อให้
คู่กรณีคงอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างปกติสุข
www.elifesara.com
มนุษย์อยู่กับความขัดแย้ง
ขัดแย้งกับตัวอง
ขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน
ขัดแย้งต่อสังคมรอบข้าง
www.elifesara.com
www.elifesara.com
ทาอะไรคิดเอาแต่“ตัวกู ของกู”
เอาตัวเองเป็ นศูนย์กลาง
2
ความขัดแย้งในสังคมไทย
www.elifesara.com
www.elifesara.com
ปั ญหาพื้นฐาน 4 ประการในการพูด
1. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่ได้ยิน
2. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่เข้าใจ
3. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังเข้าใจแต่อาจไม่ยอมรับ
4. ผู้พูดอาจไม่รู้ว่า ผู้ฟังนั้นได้ยิน เข้าใจ หรือยอมรับในสิ่งที่ตนพูด
www.elifesara.com
www.elifesara.com
34
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.elifesara.com
www.elifesara.com
35
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอํานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม
การฟื้ นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
www.elifesara.com
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม อุดมการณ์
วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ
ปัญหาโครงสร้าง
www.elifesara.com
37
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอํานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน ความ
ไม่ยุติธรรม กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกันความ
แตกต่างในการเก็บและศึกษา
ข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
www.elifesara.com
38เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
หลักสาคัญที่ควรจะยึดถือ
แยกคนออกจากปัญหา
เน้นที่ความสนใจ อย่าเน้นที่ตําแหน่งหน้าที่
พยายามหาทางเลือกหลายๆทาง ก่อนตัดสินใจ
ต้องตกลงกันตามกฎเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
www.elifesara.com
www.elifesara.com
การใช้อานาจ
การใช้อํานาจจัดการความขัดแย้ง จะนําไปสู่ความไม่พอใจและการไม่ร่วมมือ
การใช้อํานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอํานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย และเป็น
อํานาจที่ตนเองมีอยู่จริง
ผู้บริหารแบบ “บ้าอํานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอํานาจ ฉันต้องชนะ”
ผู้บริหารแบบบ้าอํานาจจะมีใน 2 สถานการณ์คือเมื่อเข้ารับตําแหน่งใหม่ จะแสดงให้คนทั้งหลาย
เห็นว่า ตนเองมีอํานาจเป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอน จะแสดงอํานาจอกมา
เพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอํานาจอยู่
www.elifesara.com
www.elifesara.com
การใช้อานาจที่ไม่มีเหตุผล
หน่วงเหนี่ยวไม่ให้ข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจ ไม่ยอมแก้ปัญหาขัดแย้งโดยอ้างว่ามีเรื่อง
สําคัญบางอย่างที่ยังไม่ได้พิจารณา
ไม่มีการปรึกษาในการตัดสินใจ ทั้ง ๆ ที่การตัดสินใจนั้นมีผลกระทบต่อเขา
ประวิงการหารือในประเด็นสําคัญ จนกระทั่งไม่มีเวลาพอที่จะหารือได้
พยายามให้คนอื่นๆได้ร่วมในการตัดสินใจ แล้วเลือกสิ่งที่ตนได้ประโยชน์
www.elifesara.com
www.elifesara.com
การใช้อานาจที่ไม่มีเหตุผล
ย้ายบุคคลโดยไม่สนใจความสามารถและความสนใจของบุคคลที่ถูกย้าย
ย้ายบุคคลโดยไม่ถามหรือรับฟังความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาชั้นต้น
เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น จะแสดงหรือชี้นําให้คนทั้งหลายเห็นว่า สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
เกิดขึ้นก่อนที่ตนเองจะมาดํารงตําแหน่ง
ควรลดการใช้อํานาจและเพิ่มการใช้ปัญญา อํานาจจะหมดไปเมื่อพ้นวาระการดํารงตําแหน่ง แต่
ปัญญาเป็นสมบัติเฉพาะติดตัวตลอดไป
www.elifesara.com
www.elifesara.com
การมีส่วนร่วมในสังคมไทยในอดีต
•ลงแขกลงขัน
•สุมหัว
•สภากาแฟ
•การปรึกษาหารือ
•พูดคุยกัน ฮิ
•โสเหล่
•โซะกั๋น
•ปิ๊กรั๊วะ คะเนีย
•จังกาบ จากับ
•มารีจากับ (ภาษามลายูกลาง)
•มางีแกเจ๊ะ(ภาษามลายูท้องถิ่น)
•แกเจ๊ะ (ภาษามลายูพื้นบ้าน)
•มูเซาวารัต(การประชุมร่วมกันของดาวะห์)
•เติ่งป่างจีฮ๊วย (ภาษาไทยใหญ่)
•สานเสวนา
•สุนทรียสนทนา
•สร้างความรู้และความเข้าใจแก่เครือข่ายภาคภาคประชาชนในการพัฒนาระบบราชการ
•เน้นการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง เพื่อให้ประชาชนมีศักยภาพในการเข้าสู่กระบวนการมี
ส่วนร่วมมากขึ้นจนถึงระดับ การเข้ามาเป็นหุ้นส่วน และร่วมติดตามและร่วมประเมินผล
การบริหารจัดการภาครัฐได้อย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง
•กระตุ้นให้เกิดความรู้และความตระหนักในสานึกพลเมืองว่าจะต้องเข้ามา เป็นหุ้นส่วนกับ
ภาครัฐรวมถึงองค์กรส่วนท้องถิ่น
แนวคิดสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
•พัฒนารูปแบบกลไก ระบบ และวิธีการทํางาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาสังคม และภาค
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการ จัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับ
ประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบและให้ข้อคิดเห็นต่อการ
ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในการช่วยกันทําให้เกิดการบริการสาธารณะที่ดียิ่งขึ้น
•ส่งเสริมให้มีคณะทางานภาคประชาชนในทุกระดับ และจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามามี
ส่วนร่วมในการดําเนินงานของหน่วยงาน ของรัฐ รวมถึงการริเริ่มให้มีการวางแผนและจัดทางบประมาณ
แบบมีส่วนร่วม
แนวคิดสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
•ระยะเวลาที่ผ่านมา การทําเกษตรกรรมพืชไร่ โดยใช้ประโยชน์ที่ดินและทําลายทรัพยากรป่าไม้
อย่างมาก
•เกิดการเปลี่ยนแปลงและส่งผลกระทบต่อความเสื่อมโทรมของป่าไม้
•เกิดความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ และมีการบุกรุกที่ป่าอย่างรุนแรง
•พื้นที่ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว จากการบุกรุกและเปลี่ยนแปลงสภาพเพื่อประโยชน์ในด้านอื่นๆ
•ป่าและพันธ์พืชอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม ปริมาณความชุ่มชื้นของผืนดินในพื้นที่ต้นนํ้าได้ลดลง
อย่างมาก
แนวคิดในการรักษาทรัพยากรป่าไม้ของชาติ
•กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนออกมาทางานร่วมกัน มีความต้องการร่วม
ความสนใจร่วม ต้องการบรรลุเป้าหมายร่วมกัน หรือการร่วมกันเพื่อให้เกิดอํานาจในการต่อรอง
•อานาจในการตัดสินใจไม่ควรเป็นของกลุ่มคนจํานวนน้อย แต่อํานาจควรได้รับการจัดสรรในระหว่าง
ประชาชน เพื่อทุก ๆ คนได้มีโอกาสที่จะมีอํานาจต่อกิจกรรมส่วนรวม
•การกระจายโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร
ของชุมชนและของชาติ ที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
•โดยการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ให้คาแนะนาปรึกษา ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ
ตลอดจนการควบคุมโดยตรงจากประชาชน
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)
•การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิในกระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะทั้งในด้าน
การให้ และรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
•การให้ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ การร่วมตัดสินใจ
•ในขั้นตอนการริเริ่มนโยบาย การจัดทาแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจมีผลกระทบ
ต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
•การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
รวมทั้งการปฏิบัติ การติดตาม และประเมินผลตามนโยบายแผนงานโครงการหรือกิจกรรม
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)
1. คุณภาพของการตัดสินใจดีขึ้น ปรึกษาหารือกับสาธารณชนสร้างความกระจ่าง วัตถุประสงค์และ
ความต้องการของโครงการหรือนโยบาย
2. ใช้ต้นทุนน้อยและลดความล่าช้าลง การให้ประชาชนมีส่วนร่วมอาจใช้เวลา และมีค่าใช้จ่าย แต่
การตัดสินใจฝ่ายเดียวที่ไม่คํานึงถึงความต้องการแท้จริงของประชาชนนั้น อาจนํามาซึ่งการโต้แย้ง
คัดค้านหรือการฟ้ องร้องกัน อันทําให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในระยะยาว เกิดความล่าช้า และความ
ล้มเหลวของโครงการได้ในที่สุด
3. การสร้างฉันทามติ การมีส่วนร่วมของประชาชนจะสร้างข้อตกลงและข้อผูกพันอย่างมั่นคงในระยะ
ยาว ระหว่างกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน ช่วยสร้างความเข้าใจระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ลดข้อโต้แย้งทาง
การเมืองและช่วยให้เกิดความชอบธรรมต่อการตัดสินใจของรัฐบาล
ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน
4. การนาไปปฏิบัติง่ายขึ้น การเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทําให้ประชาชนมีความรู้สึกของการเป็น
เจ้า ของการตัดสินใจนั้น และทันทีที่การตัดสินใจได้เกิดขึ้น พวกเขาก็อยากเห็นมันเกิดผลในทางปฏิบัติ
และยังอาจเข้ามาช่วยกันอย่างกระตือรือร้นอีกด้วย
5. หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า เปิดโอกาสให้ฝ่ายต่าง ๆ เข้ามาแสดงความต้องการและข้อห่วงกังวลตั้งแต่
เริ่มต้นโครงการ ช่วยลดการโต้แย้งและการแบ่งฝ่าย ที่จะเป็นการเผชิญหน้ากัน
6. มีความน่าเชื่อถือและความชอบธรรม ในกระบวนการตัดสินใจที่โปร่งใส และเปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สร้างความน่าเชื่อถือต่อสาธารณชนและเกิดความชอบธรรมโดยเฉพาะเมื่อ
ต้องมีการตัดสินใจในเรื่องที่มีการโต้แย้งกัน
ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน
7. การคาดการณ์ความกังวล และทัศนคติของสาธารณชน โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้มาทํางาน
ร่วมกับสาธารณชนในกระบวนการมีส่วนร่วม จะได้รับรู้ถึงความห่วงกังวล และมุมมองของสาธารณชน
ต่อการทํางานขององค์กร ซึ่งจะทําให้เจ้าหน้าที่ได้รับรู้ปฏิกิริยาการตอบสนองของสาธารณชนต่อ
กระบวนการทํางาน และการตัดสินใจขององค์กรว่าเป็นอย่างไร
8. เกิดการพัฒนาภาคประชาสังคม ทําให้ประชาชนมีความรู้ทั้งในส่วนของเนื้อหาโครงการ และ
กระบวนการตัดสินใจของรัฐ รวมทั้งเป็นการฝึกอบรมผู้นํา และทําให้ประชาชนได้เรียนรู้ทักษะการ
ทํางานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต
ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน
1. การมีอิสรภาพในการเข้าร่วม หมายถึง การเข้าร่วมต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจ
2. ความเสมอภาคในการเข้าร่วมกิจกรรม หมายถึง ทุกคนที่เข้าร่วมต้องมีสิทธิเท่าเทียมกัน
3. ผู้เข้าร่วมต้องมีความสามารถพอที่จะเข้าร่วมกิจกรรม หมายถึง มีความเข้าใจในเรื่องนั้น
ๆ แต่หากกิจกรรมที่กําหนดไว้มีความซับซ้อนเกินความสามารถของกลุ่มเป้าหมาย ก็จะต้องมี
การพัฒนาศักยภาพให้พวกเขาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้
เงื่อนไขพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชน มี 3 ประการ
1. ระดับการให้ข้อมูลเป็นระดับต่าสุด และเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดของการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้
วางแผนโครงการกับ ประชาชน เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การแถลงข่าว
การแจกข่าวสาร และการแสดงนิทรรศการ เป็นต้น แต่ไม่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นหรือเข้ามา
เกี่ยวข้องใด ๆ
2. ระดับการเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน เป็นระดับขั้นที่สูงกว่าระดับแรก โดยผู้วางแผน
โครงการจะเชิญชวนให้ประชาชนแสดงความคิดเห็น เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาข้อดีข้อเสียของ
โครงการอย่างชัดเจนมากขึ้น เช่น การจัดทําแบบสอบถามก่อนริเริ่มโครงการต่าง ๆ หรือการบรรยาย
และเปิดโอกาสให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการนั้น ๆ เป็นต้น
ระดับขั้นการมีส่วนร่วมของประชาชน
3. ระดับการปรึกษาหารือ เป็นการเจรจาอย่างเป็นทางการระหว่างผู้วางแผนโครงการและประชาชน
เพื่อประเมินความก้าวหน้าหรือระบุประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ เช่น การจัดประชุม การจัดสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการ และการเปิดกว้างรับฟังความคิดเห็น เป็นต้น
4. ระดับการวางแผนร่วมกัน ผู้วางแผนโครงการกับประชาชนมีความรับผิดชอบร่วมกันในการวางแผน
เตรียมโครงการ และผลที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินการโครงการ เหมาะที่จะใช้สําหรับการพิจารณา
ประเด็นที่มีความยุ่งยากซับซ้อนและมีข้อโต้แย้งมาก เช่น การใช้กลุ่มที่ปรึกษาซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิใน
สาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การใช้อนุญาโตตุลาการเพื่อแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง และการเจรจาเพื่อหาทาง
ประนีประนอมกัน เป็นต้น
ระดับขั้นการมีส่วนร่วมของประชาชน(ต่อ)
5. ระดับการร่วมปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบโครงการกับประชาชนร่วมกันดําเนินโครงการ เป็นขั้นการนําโครงการ
ไปปฏิบัติร่วมกันทําเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่วาง ไว้
6. ระดับการควบคุมโดยประชาชน เป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วมโดยประชาชน เพื่อแก้ปัญหาข้อ
ขัดแย้งที่มีอยู่ทั้งหมดเช่น การลงประชามติ ที่สะท้อนถึงความต้องการของประชาชนได้ดีเพียงใด ขึ้นอยู่กับ
ความชัดเจนของประเด็นที่จะลงประชามติ และการกระจายข่าวสารเกี่ยวกับข้อดีข้อเสียของประเด็น
ดังกล่าวให้ประชาชนเข้าใจอย่างสมบูรณ์และทั่วถึง ประเทศที่พัฒนาทางการเมืองแล้ว ลงประชามติจะ
ส่งผลบังคับให้รัฐบาลต้องปฏิบัติตาม ประเทศไทยรัฐธรรมนูญที่ผ่านมาบัญญัติให้การลงประชามติมีข้อยุติ
โดยเสียงข้างมาก และแบบให้คําปรึกษาแก่ ครม.ซึ่งไม่มีผลบังคับให้รัฐบาลต้องปฏิบัติตามแต่อย่างใด
ระดับขั้นการมีส่วนร่วมของประชาชน(ต่อ)
1. เจ้าหน้าที่ภาครัฐและประชาชนขาดการรับรู้เกี่ยวกับแนวคิด และความสําคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน
2. โครงสร้างกฎหมายและกระบวนการนโยบายยังไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมอย่างเพียงพอ
3. การขาดแคลนผู้มีทักษะในการใช้เครื่องมือสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
4. ปัญหาเรื่องวัฒนธรรมการเมืองและความพร้อมของประชาชน
5. ปัญหาด้านความพร้อมของภาครัฐ
6. การที่ตัวชี้วัดไม่ชัดเจนว่าประชาชนมีส่วนร่วมแล้วหรือยัง หรือหน่วยงานรัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน
ร่วมมากน้อยเพียงใด ทําให้ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถทํางานให้ดีขึ้นได้เพราะไม่มีมาตรฐานในการทํางาน ที่ชัดเจน
ปัญหาที่เป็นอุปสรรคของการมีส่วนร่วม
• เป็นการรวมตัวของภาคประชาชนในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะในชุมชนชนบท
• เป็นการรวมของปัจเจกบุคคล กลุ่มคนและเครือข่าย โดยอาศัยวัฒนธรรมชุมชน กระบวนการทํางาน
ร่วมกับภาคีอื่นๆ และระบบเทคโนโลยี เป็นเครื่องหนุนเสริมให้เกิดการรวมตัว
• เครือข่ายภาคประชาชนเกิดขึ้นทั้งจากการเห็นความจําเป็นในการรวมพลังเพื่อแก้ไขปัญหา เกิดจากการ
เรียนรู้และการถ่ายทอดประสบการณ์ร่วมกัน โดยเป็นกระบวนการที่เป็นไปตามธรรมชาติ และเกิดขึ้นจาก
การส่งเสริม โดยหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ต้องการให้องค์กร ชุมชน และสังคม มีความ
เข้มแข็ง มีศักยภาพในการที่จะพัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของภาครัฐหรือหน่วยงานที่
กําหนดไว้
เครือข่ายภาคประชาชน
•ระดับแรก เป็นการเพิ่มความเข้มแข็งให้กับชุมชนในการปรับเปลี่ยนเรียนรู้ และการ
จัดการตัวเองของชุมชน
•ระดับที่สอง เป็นการสร้างโอกาส สร้างศักยภาพของเครือข่ายและขยายกลุ่มองค์กรชุมชน
ไปยังเครือข่ายอื่นๆ จนถึงระดับจังหวัดและระดับประเทศ หรือข้ามพรมแดนนอกเขตการ
ปกครองที่โยงใยกันอย่างทั่วถึงในอนาคต
•การรวมตัวของภาคประชาชนเหล่านี้เป็นพลังที่ช่วยเสริมสร้างให้เกิดการพึ่งพาตนเอง และ
การพัฒนาสังคม เป้าหมายหลัก คือการเรียนรู้ การสืบทอดภูมิปัญญาและกรปรับตัวของ
ชุมชน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและการพัฒนาประเทศ
กระบวนการทํางานของเครือข่ายภาคประชาชน
• ประชาชนมีการกําหนดความเป็นเครือข่ายผ่านกิจกรรม ฐานอาชีพ และกระบวนการเชื่อมโยง เช่น
เครือข่ายป่าชุมชน เครือข่ายกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ เครือข่ายประมงพื้นบ้าน เครือข่ายอุตสาหกรรมชุมชน
เครือข่ายวิทยุชุมชน เป็นต้น
• องค์กรเครือข่ายภาคประชาชนเหล่านี้ มีกิจกรรมและความต่อเนื่องบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองและ
วัฒนธรรมชุมชน
• กระบวนการทํางานส่วนใหญ่จึงเป็นไปเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การจัดการทรัพยากรใน
ชุมชน และการทํางานร่วมกับภาครัฐ เป็นรากฐานให้เกิดแนวร่วมในระดับที่สูงขึ้นไป เช่น การเป็นส่วนหนึ่ง
ของกองทุนหมู่บ้าน กลุ่มอาชีพในระดับตําบล และการเข้าร่วมเป็นภาคประชาชนสังคมระดับจังหวัด
เครือข่ายภาคประชาชนจะมีบทบาทที่สําคัญต่อประเทศ เพราะว่าเป็นพลังของแผ่นดิน
กระบวนการทํางานของเครือข่ายภาคประชาชน
•ขาดการเรียนรู้ในเชิงมหภาคและระดับโลก
•การปรับตัวของชุมชน
•การจัดระบบการจัดการตัวเอง
•การสนับสนุนอย่างเป็นระบบทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน
•การขาดผู้นํา
•ขาดระบบการจัดการเครือข่ายที่จะทําให้เครือข่ายมีกิจกรรมที่ต่อเนื่อง
ข้อจํากัดของเครือข่ายภาคประชาชน
•การใช้ระบบวัฒนธรรม ความเชื่อ ความไว้วางใจและการเข้าใจถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นใน
ระดับชุมชน เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงและการสานสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
•การพัฒนาบนพื้นฐานแห่งความเข้าใจ และความสอดคล้องในวิถีชีวิตและธรรมชาติของ
สรรพสิ่ง คือการสร้างวัฒนธรรมของตนเองในการดํารงอยู่ในสังคม
ข้อดีหรือจุดแข็ง
•ภาครัฐเป็นพลังขับเคลื่อนสังคมให้ดําเนินไปอย่างเป็นระบบด้วยนโยบายของภาครัฐแต่ละช่วงเวลา
•แต่ระบบที่มีมายาวนาน ได้สร้างความสัมพันธ์เชิงอํานาจและการรวมศูนย์ที่ยากแก่การนําไปสู่การ
ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
•การวางรากฐาน/การวางแผนที่มาจากส่วนบนหรือผู้ที่มีอํานาจ การสร้างอํานาจนิยมของภาครัฐ ได้
กลายเป็นการสะสมปัญหาเชิงโครงสร้างให้เกิดขึ้นอีกต่อกระบวนการพัฒนาในสังคมไทยในช่วงที่
ผ่านมา
เครือข่ายภาครัฐ
• ภาครัฐเองก็ได้มีการปรับตัว/ปฏิรูปกระบวนการทํางาน โดยการสนับสนุนกระบวนการทํางานแบบมีส่วน
ร่วมมากขึ้น
• ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่าย และมีการปรึกษาหารือกันมากขึ้น โดยผ่านช่อง
ทางด้านกฎหมายและกระบวนการทํางาน
• กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาภาครัฐนั้น จะมีการดําเนินการใน
ลักษณะของงานด้านการพัฒนาชุมชนที่ภาครัฐเป็นผู้ให้แนวคิด ส่งเสริมการเรียนรู้ของภาคประชาชน
และความเป็นเครือข่ายของภาครัฐนั้นมักจะเป็นการจัดตั้งมากกว่าเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของ
ภาคประชาชน
เครือข่ายภาครัฐ
•เครือข่ายภาครัฐจะมีหลากหลายประเภทตามโครงสร้างและภารกิจของหน่วยงาน
•เครือข่ายสถาบันการศึกษา เครือข่ายกระทรวงมหาดไทย เครือข่ายเกษตรกรเพื่อการผลิต
ของกรมการพัฒนาชุมชน เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน
•กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ที่เกิดขึ้นจากการจัดตั้งภาครัฐ ส่วนใหญ่มุ่งเน้นกระบวนการพัฒนา
และเข้าไปส่งเสริมการทํางานชุมชน อําเภอ และจังหวัด เป็นการเชื่อมประสานกันในทาง
แนวดิ่ง คือจากบนลงล่าง เป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ ขาดการวางแผนร่วมกันระหว่างชาวบ้าน
และรัฐ องค์กรเครือข่ายของรัฐจะไม่ช่วยสร้างความสัมพันธ์และความต่อเนื่อง และไม่
ก่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ยั่งยืน
เครือข่ายภาครัฐ
•ปัจจุบันมีองค์กรอิสระใหม่ของภาครัฐมาก ซึ่งองค์กรเหล่านั้นต่างก็มุ่งเน้น
กระบวนการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ เช่น สถาบันพระปกเกล้า สภาที่ปรึกษา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) กองทุนเพื่อ
สังคม (SIF) หรือแม้กระทั่งกองทุนหมู่บ้าน
•แสดงให้เห็นว่าภาครัฐได้มีแนวทางในการขับเคลื่อนสังคมร่วมกับภาคประชาชนให้
เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์มากขึ้น
การปรับตัวในภาครัฐที่จะปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
67
เวียงกุมกาม สัญลักษณ์แห่งความปรองดอง
www.elifesara.com
การมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ
เวทีประชาคม
การลงแขกลงขัน
การจัดการทรัพยากรท้องถิ่นร่วมกัน
ทุกคนเห็นหน้ากัน
การพูดคุยและการแสดงออก
พฤติกรรมที่นาไปสู่ความขัดแย้ง
ปกติธรรมดาหันหน้าหากัน
ยามบรรยากาศเคร่งเครียดไม่อยากเห็นหน้ากัน
อุปกรณ์และเครื่องเขียน
•ให้ทุกคนพูดออกมาให้มากที่สุด
•อย่าตัดสินหรือวิพากษ์วิจารณ์
ความคิดคนอื่น
เครื่องมือ:ระดมสมองด้วยการพูดแสดงความคิดเห็น
เครื่องมือ : ระดมสมองด้วยการเขียน
เครื่องมือ : เสนอความต้องการและสิ่งที่รับได้
ให้ฝ่าย ก เขียนความ
ต้องการของตัวเองใน
แผ่นชาร์ต และ ให้ฝ่าย ข
เขียนความต้องการของ
ตัวเองใน แผ่นชาร์ต
• FA อ่านประเด็นทุกประเด็นบน
flipchart ให้ทุกคนฟังก่อน เพื่อให้
เวลาในการตัดสินใจ
•กาหนดให้แต่ละคนมีคะแนนในมือ
อาจจะเป็น ๑๐/๕๐/๑๐๐ คะแนน
การโหวตโดยใช้จุดคะแนน
การสานเสวนา
แจกกระดาษให้คนละใบ
เขียนความเห็นตัวเอง
แบบสั้นๆ ๔-๘ คา กระชับ
ชัดเจน ใช้ปากกาเข้มๆ
ตั้งชาร์ตไว้ตามจานวนประเด็น ที่เรา
ต้องการ
ให้ทุกคนเดินวนเวียนไปตามชาร์ตเขียน
แสดงความคิดเห็น
เขียนความเห็นลงไปในชาร์ต
ที่ไม่ซ้ากับที่มีอยู่แล้ว
เส้นทางเดินแสดงความคิดเห็น
World Café : วงกาแฟ
บันทึกความเห็น
เสียงข้างมากชนะ
กับ ฉันทามติ
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
www.elifesara.com

More Related Content

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน