SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 61
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1. 2. 3. 4. 5.
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1. 2. 3. 4.
[object Object],[object Object],1. 2.
 
ความหมายเทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึง  เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงาน ให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของงานให้มีมากยิ่งขึ้น
การนำเทคโนโลยีมาใช้กับงานในสาขาใด สาขาหนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีส่วนช่วยสำคัญ   3  ประการ และถือเป็นเกณฑ์ในการพิจารณานำเทคโนโลยีมาใช้ด้วย  ( ก่อ สวัสดิพาณิชย์  2517 : 84)  คือ                    1.  ประสิทธิภาพ  ( Efficiency)                    2.  ประสิทธิผล  ( Productivity)                    3.  ประหยัด  ( Economy)
ความหมายสารสนเทศ สารสนเทศ หมายถึง  ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความรอบรู้ของแต่ละคนขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ข้อมูล ความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ข้อมูล มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล  ดังนั้นถือได้ว่ายุคนี้เป็นยุคสารสนเทศ
ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.  การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2.  เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส 3.  สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน 4.  เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม 5.  การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม
 
ความหมายเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง  ระบบการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคนิค    วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนอุปกรณ์ เครื่องมือมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ให้สูงขึ้น
ประเภทของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.   วัสดุอุปกรณ์   เช่น ชอล์ค ดินสอ กระดาษ ฟิล์ม ภาพยนตร์  วิดิทัศน์ สไลด์ เครื่องฉายข้ามศรีษะ คอมพิวเตอร์  เครื่องบันทึกเสียง 2.   นวัตกรรมที่เป็นเครื่องมือ    เช่น ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง 3.   นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ   เช่น การสอนแบบต่างๆ    แบบเรียนสำเร็จรูป    RIT 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1 )  ประโยชน์สำหรับผู้เรียน ผู้เรียนจะได้รับประโยชน์ดังนี้ 1.1  ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเองในการ  เรียนรู้อย่างเต็มที่ 1.2  ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจในการเลือกเรียนตามช่องทางที่   เหมาะกับความสามารถของตนเอง 1.3  ทำให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา   1.4   ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่   1.5  ลดเวลาในการเรียนรู้และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มาก กว่าเดิมในเวลาเท่ากัน 1.6  ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็นและสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 2 )  ประโยชน์สำหรับผู้สอน ผู้สอนจะได้รับประโยชน์ดังนี้ 2.1  ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย   2.2  ทำให้ผู้สอนมีเวลามากขึ้น จึงใช้เวลาที่เหลือในการเตรียม การสอนได้เต็มที่   2.3  ผู้สอนไม่ต้องใช้เวลาสอนทั้งหมดอยู่ในชั้นเรียนเพราะบทบาท ส่วนหนึ่งผู้เรียนทำเอง
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา   2.4  สามารถเพิ่มเนื้อหาและจุดมุ่งหมายในการสอนมากขึ้น   2.5  ง่ายในการประเมิน เพราะการใช้เทคโนโลยี มุ่งให้ผู้เรียน ประเมินตนเองด้วย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1. 2. 3. 4.
พื้นฐานของเทคโนโลยีการสอนในปัจจุบัน ปัจจุบันเทคโนโลยีการสอนมีหลายรูปแบบ และต่างก็มีรากฐานมาจากทฤษฎีเก่าแก่ ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีของโสเครติส เปสตาลอซซี่ และแฮร์บาร์ดก็ตาม ต่างก็ถูกนำมาดัดแปลงและประยุกต์กับวิธีสอนร่วมสมัย เทคโนโลยีการสอนหลายต่อหลายวิธี ก็ดัดแปลงทฤษฎีต่างๆ เข้าด้วยกัน และเกิดเป็น แบบแผนของตัวเอง
ความหมายของทฤษฎี Smith  และ  Ragan  (1999)  กล่าวว่า  ทฤษฎี คือ  กลุ่มคำหรือประโยคที่สามารถใช้ อธิบาย คาดเดา หรือ กำหนดขอบข่ายของเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้โดย  ISD (Instructional System Design )  มาจากทฤษฎีที่เป็นคำกล่าวและทฤษฎีที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยทฤษฎีที่เป็นคำกล่าวจะอธิบายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งหลาย ๆ ทฤษฎีการเรียนรู้ ได้อธิบายถึงความสัมพันธ์กันของการเรียนรู้ ส่วนทฤษฎีที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นตัวชี้นำแนวทางการปฏิบัติที่จะนำไปสู่ผลสรุป
ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง  กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่าง ๆ หรืออุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้
องค์ประกอบของการเรียนรู้ 1 . สิ่งเร้า  ( Stimulus)   เป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยา  โต้ตอบออกมาและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมว่า จะแสดงออกมาในลักษณะใด   2 . แรงขับ  ( Drive)  มี  2  ประเภทคือ แรงขับปฐมภูมิ  ( Primary Drive)  เช่น ความหิว ความกระหาย และแรงขับทุติยภูมิ  (  Secondary Drive )  เป็นเรื่องของความต้องการทางจิตและทางสังคม เช่น ความวิตกกังวล ความต้องการความรัก ความปลอดภัย เป็นต้น
องค์ประกอบของการเรียนรู้ 3 . การตอบสนอง  ( Response)  เป็นพฤติกรรมต่างๆ ที่บุคคลแสดงออกมาเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ หรือสถานการณ์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่รอบตัวเรานั่นเอง   4 . แรงเสริม  ( Reinforcement)   สิ่งที่มาเพิ่มกำลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เช่น รางวัล  การตำหนิ  การลงโทษ การชมเชย เงิน ของขวัญ  เป็นต้น
การแบ่งกลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ การแบ่งประเภททฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา  แบ่งได้  2  แบบ ดังนี้ 1.  กลุ่มพฤติกรรม  ( Behaviorism) 2.  กลุ่มความรู้  ( Cognitive)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข / ทฤษฎีการเสริมแรง  ( S-R Theory  หรือ  Operant Conditioning)  เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์  ( Skinner)  กล่าวว่า “ปฏิกริยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทำให้เกิดการตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง” ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ การนำทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะใช้ในการออกแบบการเรียน การสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ  1.  การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน  ( Step by Step)  2.  การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน  ( Interaction)  3.  การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที  ( Feedback)  4.  การได้รับการเสริมแรง  ( Reinforcement)
ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  การนำหลักการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ไปใช้ใน การเรียนการสอน   แนวคิดที่สำคัญประการหนึ่งที่ได้จากทฤษฎีของสกินเนอร์ คือ การตั้งจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม คือจะต้องตั้งจุดมุ่งหมายในรูปของพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ถ้าต้องการฝึกให้ผู้เรียนเป็นบุคคลประเภทสร้างสรรค์ก็จะต้องระบุให้ชัดเจนว่า บุคคลประเภทดังกล่าวสามารถทำอะไรได้บ้าง
ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  ประโยชน์ที่ได้รับจากทฤษฎี   1.  ใช้ในการปลูกฝังพฤติกรรม  ( Shaping Behavior)  คือ  เราสามารถควบคุมการตอบสนองได้ด้วยวิธีการเสริมแรง กล่าวคือ เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนอง ที่ต้องการ เพื่อให้กลายเป็นนิสัยติดตัวต่อไป อาจนำไปใช้ ในการปลูกฝังบุคลิกภาพของบุคคลให้มีพฤติกรรมตาม แบบที่ต้องการได้
ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  ประโยชน์ที่ได้รับจากทฤษฎี   2 .  ใช้วางเงื่อนไขเพื่อปรับปรุงพฤติกรรม การเสริมแรงมีส่วนช่วยให้คนเรามีพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้ และขณะเดียวกันการไม่ให้การเสริมแรงก็จะช่วยให้ลดพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้เช่นเดียวกัน   3 .  ใช้ในการสร้างบทเรียนสำเร็จรูป  ( Programed Learning)  หรือบทเรียนโปรแกรมและเครื่องสอน  ( Teaching Machine)       
ทฤษฏีกลุ่มความรู้  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ แบบการเรียนรู้ของกาเย่   กาเย่  ( Gagne)  ได้เสนอหลักที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า ไม่มีทฤษฎีหนึ่งหรือทฤษฎีใดสามารถอธิบายการเรียนรู้ของบุคคลได้สมบูรณ์ ดังนั้น กาเย่ จึงได้นำทฤษฎีการเรียนรู้แบบสิ่งเร้าและการตอบสนอง  ( S-R Theory)  กับทฤษฎีความรู้  ( Cognitive Field Theory)  มาผสมผสานกันในลักษณะของการจัดลำดับการเรียนรู้ ดังนี้       
ทฤษฏีกลุ่มความรู้  :  ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ 1.  การเรียนรู้แบบสัญญาณ  ( Signal Learning)  2.  การเรียนรู้แบบการตอบสนอง  ( S-R Learning)  3.  การเรียนรู้แบบลูกโซ่  ( Chaining Learning)    4.  การเรียนรู้แบบภาษาสัมพันธ์  ( Verbol Association  Learning) 5.  การเรียนรู้แบบการจำแนก  ( Discrimination Learning) 6.  การเรียนรู้มโนทัศน์  ( Concept Learning) 7.  การเรียนรู้กฏ  ( Principle Learning)  8.  การเรียนรู้แบบปัญหา  ( Problem Solving)      
( ศาสตราจารย์ซีมัวร์ เพเพิร์ต  :  Seymour Papert)  ซึ่งขยายความหมายของทฤษฎี ว่า การศึกษา หมายถึง การนำเอาความรู้ที่เด็กมีอยู่ภายในตนเองออกมาแสดงให้ปรากฏ ดังนั้นการศึกษาต้องเน้นให้เด็กสร้างความรู้ขึ้นมาเอง ถ้าเด็กมี อะไร อยู่ข้างในเป็นฐานแล้ว จากสัมพันธภาพกับสิ่งต่างๆ เด็กต้องสร้างสิ่งอื่นๆ ขึ้นมาใหม่ อันเป็นบันไดขั้นถัดไปจากการแสวงหาความรู้เบื้องต้น    โดยมีสิ่งแวดล้อมที่ช่วยสร้างบรรยากาศในการสร้างความรู้ของเด็กในความคิดของ  Papert  ก็คือ  ทฤษฏี   Constructionism :  ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ทฤษฏี   Constructionism :  ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง   1.   บรรยากาศและเงื่อนไขที่เปิดโอกาสให้เด็กสร้างสรรค์สิ่งที่เขาสนใจได้อย่างแท้จริง   2.   สภาพแวดล้อมสังคมที่มีความหลากหลายเอื้อให้เด็กได้ร่วมมือร่วมคิดกับคนอื่นๆ   3.   สภาพการเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติเป็นกันเองอันเอื้อให้ผู้เรียนจมดิ่งสู่การสร้างสรรค์ความรู้โดยไม่ต้องพะวงต่อปัญหาอื่นๆ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1. 2. 3. 4. 5.
หมายถึง กระบวนการบูรณาการบุคลคล วิธีการ แนวคิด เครื่องมือ และสิ่งต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา  การดำเนินการ การประเมิน และการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ เทคโนโลยีทางการสอน  (Instruction Technology )
ที่มา  :  http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclassuploads/libs/html/39985/unit07_005.htm
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของเทคโนโลยีทางการสอน
1.  บทเรียนโปรแกรม  ( Programmed Lesson)    ความหมายของบทเรียนโปรแกรม  บทเรียนโปรแกรม  ( Programmed Lesson)   หมายถึง  การจัดระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนื้อหา ซึ่งจัดไว้เป็นขั้นตอนเล็ก ๆ ผู้เรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการดูจากผลสะท้อนกลับอยู่เสมอ และบางครั้งก็อาจจะได้รับความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่นักเรียนยังมีความรู้ไม่ดีพอ ผู้เรียนจะเลือกเรียนได้ตาม ความสนใจ และก้าวไปตามความสามารถของแต่ละคน
1.  บทเรียนโปรแกรม  ( Programmed Lesson)    ลักษณะของบทเรียนโปรแกรม  ลักษณะบทเรียนโปรแกรม  จะเป็นลักษณะของเอกสาร  สื่อประสมและสิ่งพิมพ์
1.  บทเรียนโปรแกรม  ( Programmed Lesson)    ลักษณะของบทเรียนโปรแกรม  หลักการทำบทเรียนโปรแกรม มีดังนี้ 1.  การกำหนดวัตถุประสงค์สามารถกำหนดได้ชัดเจน 2.  เนื้อหาแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆ หรือกรอบ  ( Frame) 3.  จัดเรียงเนื้อหาจากง่ายไปหายาก 4.  มีการให้ข้อมูลย้อนกลับทันที เช่น แบบเฉลย เป็นต้น 5.  มีการวัดผลที่แน่นอน คือ แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
2.  บทเรียนโปรแกรม  ( Programmed Tutoring)    ความหมายการสอนแบบทบทวน การสอนแบบทบทวน  ( Programmed Tutoring)  หมายถึง  วิธีการสอนตัวต่อตัวที่ผู้ให้การทบทวนเป็นผู้ตัดสินใจกำหนดโปรแกรมล่วงหน้า โดยการใช้สื่อที่อยู่ในรูปของสิ่งพิมพ์  ผู้ทบทวนจะมีคู่มือพร้อมคำเฉลย ส่วนผู้เรียนจะมีแบบฝึกหัดแต่จะไม่มีคำเฉลย ผู้ทบทวนจะเลือกขั้นตอนการทบทวน โดยพิจารณาจากการตอบสนองแต่ละครั้งของผู้เรียน
3.  การเรียนรายบุคคล   การเรียนรายบุคคล เป็นเทคโนโลยีการสอนชนิดหนึ่ง ที่ นำเอาทฤษฎีการเสริมแรงมาใช้โดยผู้เรียนเรียนด้วยตนเองจากสื่อการเรียนต่างๆ เช่น หนังสือแบบเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ฟิล์มลูป ฟิล์มสตริปและบทเรียนโปรแกรม เป็นต้น  สื่อการเรียนแบบนี้จะจัดไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนไปเป็นขั้นตอน และต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถเรียนได้ดี ก่อนที่จะย้ายไปเรียนขั้นตอนต่อไปโดยมีการทดสอบไปเรื่อยๆ มีผู้ช่วยสอนหรือผู้เรียนที่เก่งช่วยแนะนำและจัดการเรื่องการทดสอบ หลังการทดสอบ ผู้ช่วยสอนหรือผู้เรียนเก่งจะช่วยทบทวนอีกครั้ง
3.  การเรียนรายบุคคล ถ้าผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จะต้องทดสอบด้วยข้อสอบใหม่เรื่อยๆ นักเรียนสามารถทดสอบใหม่ได้ถึง  4  ครั้ง การเรียนลักษณะนี้ ส่วนใหญ่จะเรียนเป็นรายบุคคลโดยครูเป็นผู้วางแผน จัดการและมีผู้ช่วยหรือนักเรียนที่เก่งเป็นผู้คอยแนะนำ   หลักการของการเรียนรายบุคคล  ประกอบด้วย               4. 1)  เสนอเนื้อหาข้อมูลที่เหมาะสมกับผู้เรียน              4. 2)  ผู้เรียนตอบสนองต่อเนื้อหาข้อมูลนั้น ๆ              4. 3)  ได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันทีทันใด
4.  ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง ระบบการทบทวนด้วยเทปเสียง  ( Audio-Tutorial Systems)  เป็นการให้ความรู้หลากหลายแก่ผู้เรียน โดยผ่านทางสื่อเทปเสียง ไม่ใช้วิธีการบรรยายเนื้อหาแต่เป็นการทบทวนพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน โดยยึดหลักการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และมีครูผู้สอนในชั้นเรียนคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำอย่างใกล้ชิด ผู้เรียนจะเรียนได้ช้าหรือเร็วตามความสามารถของตนเองในการเรียนด้วยวิธีการนี้ อาจใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ประกอบการเรียนได้ เช่น เครื่องมือการทดลองวิทยาศาสตร์ ฟิล์มสตริป สี กระดาษ เป็นต้น
4.  ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง การเรียนวิธีนี้มี  2  ขั้นตอน คือ         1.  ขั้นการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่โดยไม่มีรูปแบบที่แน่นอน        2.  ขั้นการเรียนเป็นรายบุคคล อาจเป็นกลุ่มเล็ก  6-10  คน ก็ได้ ภายหลังจากที่มีการพบกันในกลุ่มใหญ่แล้ว จุดมุ่งหมายของขั้นนี้  เพื่อการสำรวจดูว่าผู้เรียนแต่ละคนได้เข้าใจหลักการทฤษฎีต่างๆ  มากน้อยเพียงใด
5.  หน่วยการสอนย่อย หน่วยการสอนย่อย  ( Modules)  อาจเรียกชื่อได้หลายอย่าง เช่น ชุดการเรียนด้วยตนเองชุดกิจกรรม หน่วยการสอนย่อยโดยปกติออกแบบไว้สำหรับการเรียนด้วยตนเอง แต่ก็มีบ้างที่ใช้ในการเรียนแบบกลุ่ม  เช่น เกม สถานการณ์จำลอง หรือประสบการณ์ภาคสนาม  เทคโนโลยีที่นำหน่วยการสอนย่อยไปใช้คือ การเรียนด้วยตนเอง  ( PSI)  และการทบทวนด้วยเทปเสียง  ( A-T)  อย่างไรก็ตามหน่วยการสอนย่อยนี้มิใช่เทคโนโลยีการสอนโดยตัวของมันเองแต่จะเป็นส่วนที่ประกอบอยู่กับเทคโนโลยีชนิดต่าง ๆ
6.  สถานการณ์จำลอง และเกมส์ สถานการณ์จำลอง  ( Simulation)  หมายถึง  การย่อส่วนของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง  ส่วนเกมส์  ( Games)  หมายถึง กิจกรรมที่มีการแข่งขันอันมีกฎเกณฑ์ที่อยู่บนพื้นฐานของจุดมุ่งหมายเฉพาะ คำทั้งสองอาจแยกหรือรวมกันก็ได้
7.  คอมพิวเตอร์ช่วยสอน           คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีลักษณะเช่นเดียวกับหน่วยการเรียนย่อย คือตัวมันเองไม่ใช่เทคโนโลยีการสอน แต่เป็นเพียงเครื่องมือที่สามารถเสนอการสอนแบบโปรแกรม หรือโปรแกรมการติว สถานการณ์จำลองและเกมและรูปแบบการเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่การสอนด้วยครู เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน  ( Computer Assisted Instruction : CAI)  นอกจากนั้น คอมพิวเตอร์ยังสามารถช่วยจัดการเรียน  ( Computer Managed Instruction : CMI)  เช่น การเรียนรายบุคคล  ( PSI)  และการทบทวนด้วยเทปเสียง  ( A-T)  ได้ดีมีประสิทธิภาพมากกว่าใช้คนอีกด้วย
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการสอน 1.  ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 2.  ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้หรือทบทวนด้วยตนเอง  3.  ผู้เรียนที่ขาดเรียนสามารถเรียนย้อนหลังได้  4.  ลดภาระงานของครูผู้สอน  5.  แก้ปัญหาขาดแคลนครู 6.  ผู้เรียนสามารถเลือกบทเรียนได้อย่างอิสระ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการสอน 7.  ยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนเนื้อหา และสะดวกในการเรียน 8.  เข้าถึงบทเรียนได้ง่าย 9.  ประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน 10.   สร้างแรงดึงดูดใจในการเรียน 11.  ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างเมืองและชนบท
ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด บทเรียนโปรแกรม 1.  บทเรียนโปรแกรมเหมาะสำหรับเนื้อหาที่เป็นความจริง หรือความรู้พื้นฐานมากกว่าเนื้อหาที่ต้องการความคิดเห็น  2.  มีส่วนทำให้ทักษะการเขียนหนังสือของผู้เรียนน้อยลง  3.  ผู้เรียนขาดการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด การสอนแบบทบทวน ผู้ไม่สามารถเลือกบทเรียนที่ต้องการทบทวนได้เนื่องจาก การเรียนรายบุคคล ผู้เรียนต้องเรียนตามโปรแกรมของบทเรียนที่กำหนด ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง ไม่มีเนื้อหาของบทเรียนประกอบการเรียนการสอน
ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด หน่วยการสอนย่อย 1.   ค่าใช้จ่ายสูง 2.   การมีระบบการทำงานที่ค่อนข้าง  ซับซ้อน 3.  ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาระบบ 4.  ใช้เวลาในการพัฒนาสื่อนาน สถานการณ์จำลอง และเกมส์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1. 2. 3.
 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมของสกินเนอร์ต่อบทเรียนโปรแกรม -  ส่วนสำคัญที่นำมาใช้เป็นหลักของบทเรียนโปรแกรม คือ หลักการเสริมแรง -  การเสิรมแรงในบทเรียนโปรแกรม คือ การเฉลยคำตอบให้ ทราบทันที และพยายามหาวิธีการเพื่อไม่ให้เกิดการตอบสนอง ที่ผิดพลาด โดยการจัดเสนอความรู้ให้ต่อเนื่องทีละขั้นตอน อย่างละเอียด การประยุกต์ใช้ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม ของสกินเนอร์ต่อเทคโนโลยีการสอน
 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่กับ  E-Learning ใช้ในการออกแบบและพัฒนาบทเรียนโดยใช้ทฤษฎีของกาเย่  ( Gagne)  ทฤษฎีการเรียนรู้  8  ขั้น ดังนี้ -  สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียน  -  แจ้งจุดประสงค์ บอกให้ผู้เรียนทราบถึงผลการเรียน  เห็นประโยชน์ในการเรียน ให้แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียน  -  กระตุ้นให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิมที่จำเป็นต่อการเชื่อมโยงไป หาความรู้ใหม่ เสนอบทเรียนใหม่ๆ ด้วยสื่อต่างๆ ที่เหมาะสม  การประยุกต์ใช้ทฤษฏีกลุ่มความรู้ของกาเย่ ต่อเทคโนโลยีการสอน
-  ให้แนวทางการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถทำกิจกรรมด้วยตนเอง  ผู้สอนแนะนำวิธีการทำกิจกรรม แนะนำแหล่งค้นคว้าต่างๆ  -  กระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือทำแบบฝึกปฏิบัติ  -  ให้ข้อมูลย้อนกลับ ผู้เรียนทราบถึงผลการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ  -  การประเมินผลการเรียนตามจุดประสงค์  -  ส่งเสริมความแม่นยำ การถ่ายโอนการเรียนรู้ โดยการสรุป  การย้ำ การทบทวน  การประยุกต์ใช้ทฤษฏีกลุ่มความรู้ของกาเย่ ต่อเทคโนโลยีการสอน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสอนด้วย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass.../ learners.in.th/file/woranuch_pongpet/23_1.doc http://gotoknow.org/blog/tern/200172 http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/df-skinner.html http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/ http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86 http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/ http://www.lamptech.ac.th/webprg/karnson/ http://naturefias.blogspot.com/2008_09_01_archive.html
 

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะSilpakorn University
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล Wiparat Khangate
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 

La actualidad más candente (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะกิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
กิจกรรม ออกแบบและสร้างอุปกรณ์รางรถไฟเหาะ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 

Destacado

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์suraidabungasayu
 
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราRoiyan111
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน7roommate
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองanupong boonruam
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตorawan chaiyakhan
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมSiririn Noiphang
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 

Destacado (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 

Similar a ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar a ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ (20)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้

  • 1.  
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.  
  • 6. ความหมายเทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงาน ให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของงานให้มีมากยิ่งขึ้น
  • 7. การนำเทคโนโลยีมาใช้กับงานในสาขาใด สาขาหนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีส่วนช่วยสำคัญ  3 ประการ และถือเป็นเกณฑ์ในการพิจารณานำเทคโนโลยีมาใช้ด้วย ( ก่อ สวัสดิพาณิชย์ 2517 : 84) คือ                    1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency)                   2. ประสิทธิผล ( Productivity)                   3. ประหยัด ( Economy)
  • 8. ความหมายสารสนเทศ สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความรอบรู้ของแต่ละคนขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ข้อมูล ความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ข้อมูล มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล ดังนั้นถือได้ว่ายุคนี้เป็นยุคสารสนเทศ
  • 9. ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
  • 10. ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
  • 11. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส 3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน 4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม 5. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม
  • 12.  
  • 13. ความหมายเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง ระบบการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคนิค   วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนอุปกรณ์ เครื่องมือมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ให้สูงขึ้น
  • 14. ประเภทของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.   วัสดุอุปกรณ์   เช่น ชอล์ค ดินสอ กระดาษ ฟิล์ม ภาพยนตร์ วิดิทัศน์ สไลด์ เครื่องฉายข้ามศรีษะ คอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเสียง 2.   นวัตกรรมที่เป็นเครื่องมือ   เช่น ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง 3.   นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ   เช่น การสอนแบบต่างๆ   แบบเรียนสำเร็จรูป   RIT 
  • 15. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1 ) ประโยชน์สำหรับผู้เรียน ผู้เรียนจะได้รับประโยชน์ดังนี้ 1.1 ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเองในการ เรียนรู้อย่างเต็มที่ 1.2 ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจในการเลือกเรียนตามช่องทางที่ เหมาะกับความสามารถของตนเอง 1.3 ทำให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น
  • 16. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.4 ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ 1.5 ลดเวลาในการเรียนรู้และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มาก กว่าเดิมในเวลาเท่ากัน 1.6 ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็นและสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
  • 17. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 2 ) ประโยชน์สำหรับผู้สอน ผู้สอนจะได้รับประโยชน์ดังนี้ 2.1 ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย 2.2 ทำให้ผู้สอนมีเวลามากขึ้น จึงใช้เวลาที่เหลือในการเตรียม การสอนได้เต็มที่ 2.3 ผู้สอนไม่ต้องใช้เวลาสอนทั้งหมดอยู่ในชั้นเรียนเพราะบทบาท ส่วนหนึ่งผู้เรียนทำเอง
  • 18. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการศึกษา 2.4 สามารถเพิ่มเนื้อหาและจุดมุ่งหมายในการสอนมากขึ้น 2.5 ง่ายในการประเมิน เพราะการใช้เทคโนโลยี มุ่งให้ผู้เรียน ประเมินตนเองด้วย
  • 19.
  • 20. พื้นฐานของเทคโนโลยีการสอนในปัจจุบัน ปัจจุบันเทคโนโลยีการสอนมีหลายรูปแบบ และต่างก็มีรากฐานมาจากทฤษฎีเก่าแก่ ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีของโสเครติส เปสตาลอซซี่ และแฮร์บาร์ดก็ตาม ต่างก็ถูกนำมาดัดแปลงและประยุกต์กับวิธีสอนร่วมสมัย เทคโนโลยีการสอนหลายต่อหลายวิธี ก็ดัดแปลงทฤษฎีต่างๆ เข้าด้วยกัน และเกิดเป็น แบบแผนของตัวเอง
  • 21. ความหมายของทฤษฎี Smith และ Ragan (1999) กล่าวว่า ทฤษฎี คือ กลุ่มคำหรือประโยคที่สามารถใช้ อธิบาย คาดเดา หรือ กำหนดขอบข่ายของเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้โดย ISD (Instructional System Design ) มาจากทฤษฎีที่เป็นคำกล่าวและทฤษฎีที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยทฤษฎีที่เป็นคำกล่าวจะอธิบายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งหลาย ๆ ทฤษฎีการเรียนรู้ ได้อธิบายถึงความสัมพันธ์กันของการเรียนรู้ ส่วนทฤษฎีที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นตัวชี้นำแนวทางการปฏิบัติที่จะนำไปสู่ผลสรุป
  • 22. ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่าง ๆ หรืออุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้
  • 23. องค์ประกอบของการเรียนรู้ 1 . สิ่งเร้า  ( Stimulus)   เป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยา โต้ตอบออกมาและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมว่า จะแสดงออกมาในลักษณะใด   2 . แรงขับ  ( Drive)  มี 2 ประเภทคือ แรงขับปฐมภูมิ  ( Primary Drive)  เช่น ความหิว ความกระหาย และแรงขับทุติยภูมิ ( Secondary Drive )  เป็นเรื่องของความต้องการทางจิตและทางสังคม เช่น ความวิตกกังวล ความต้องการความรัก ความปลอดภัย เป็นต้น
  • 24. องค์ประกอบของการเรียนรู้ 3 . การตอบสนอง ( Response)  เป็นพฤติกรรมต่างๆ ที่บุคคลแสดงออกมาเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ หรือสถานการณ์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่รอบตัวเรานั่นเอง   4 . แรงเสริม ( Reinforcement)   สิ่งที่มาเพิ่มกำลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เช่น รางวัล  การตำหนิ  การลงโทษ การชมเชย เงิน ของขวัญ  เป็นต้น
  • 25. การแบ่งกลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ การแบ่งประเภททฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา แบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. กลุ่มพฤติกรรม ( Behaviorism) 2. กลุ่มความรู้ ( Cognitive)
  • 26. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข / ทฤษฎีการเสริมแรง ( S-R Theory หรือ Operant Conditioning) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์ ( Skinner) กล่าวว่า “ปฏิกริยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทำให้เกิดการตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง” ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม : ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
  • 27. ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม : ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ การนำทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะใช้ในการออกแบบการเรียน การสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ 1. การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน ( Step by Step) 2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน ( Interaction) 3. การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที ( Feedback) 4. การได้รับการเสริมแรง ( Reinforcement)
  • 28. ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม : ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  การนำหลักการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ไปใช้ใน การเรียนการสอน แนวคิดที่สำคัญประการหนึ่งที่ได้จากทฤษฎีของสกินเนอร์ คือ การตั้งจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม คือจะต้องตั้งจุดมุ่งหมายในรูปของพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ถ้าต้องการฝึกให้ผู้เรียนเป็นบุคคลประเภทสร้างสรรค์ก็จะต้องระบุให้ชัดเจนว่า บุคคลประเภทดังกล่าวสามารถทำอะไรได้บ้าง
  • 29. ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม : ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  ประโยชน์ที่ได้รับจากทฤษฎี 1. ใช้ในการปลูกฝังพฤติกรรม ( Shaping Behavior) คือ เราสามารถควบคุมการตอบสนองได้ด้วยวิธีการเสริมแรง กล่าวคือ เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนอง ที่ต้องการ เพื่อให้กลายเป็นนิสัยติดตัวต่อไป อาจนำไปใช้ ในการปลูกฝังบุคลิกภาพของบุคคลให้มีพฤติกรรมตาม แบบที่ต้องการได้
  • 30. ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรม : ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์  ประโยชน์ที่ได้รับจากทฤษฎี 2 .  ใช้วางเงื่อนไขเพื่อปรับปรุงพฤติกรรม การเสริมแรงมีส่วนช่วยให้คนเรามีพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้ และขณะเดียวกันการไม่ให้การเสริมแรงก็จะช่วยให้ลดพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้เช่นเดียวกัน 3 .  ใช้ในการสร้างบทเรียนสำเร็จรูป ( Programed Learning) หรือบทเรียนโปรแกรมและเครื่องสอน ( Teaching Machine)       
  • 31. ทฤษฏีกลุ่มความรู้ : ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ แบบการเรียนรู้ของกาเย่ กาเย่ ( Gagne) ได้เสนอหลักที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า ไม่มีทฤษฎีหนึ่งหรือทฤษฎีใดสามารถอธิบายการเรียนรู้ของบุคคลได้สมบูรณ์ ดังนั้น กาเย่ จึงได้นำทฤษฎีการเรียนรู้แบบสิ่งเร้าและการตอบสนอง ( S-R Theory) กับทฤษฎีความรู้ ( Cognitive Field Theory) มาผสมผสานกันในลักษณะของการจัดลำดับการเรียนรู้ ดังนี้     
  • 32. ทฤษฏีกลุ่มความรู้ : ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ 1. การเรียนรู้แบบสัญญาณ ( Signal Learning) 2. การเรียนรู้แบบการตอบสนอง ( S-R Learning) 3. การเรียนรู้แบบลูกโซ่ ( Chaining Learning) 4. การเรียนรู้แบบภาษาสัมพันธ์ ( Verbol Association Learning) 5. การเรียนรู้แบบการจำแนก ( Discrimination Learning) 6. การเรียนรู้มโนทัศน์ ( Concept Learning) 7. การเรียนรู้กฏ ( Principle Learning) 8. การเรียนรู้แบบปัญหา ( Problem Solving)     
  • 33. ( ศาสตราจารย์ซีมัวร์ เพเพิร์ต : Seymour Papert) ซึ่งขยายความหมายของทฤษฎี ว่า การศึกษา หมายถึง การนำเอาความรู้ที่เด็กมีอยู่ภายในตนเองออกมาแสดงให้ปรากฏ ดังนั้นการศึกษาต้องเน้นให้เด็กสร้างความรู้ขึ้นมาเอง ถ้าเด็กมี อะไร อยู่ข้างในเป็นฐานแล้ว จากสัมพันธภาพกับสิ่งต่างๆ เด็กต้องสร้างสิ่งอื่นๆ ขึ้นมาใหม่ อันเป็นบันไดขั้นถัดไปจากการแสวงหาความรู้เบื้องต้น   โดยมีสิ่งแวดล้อมที่ช่วยสร้างบรรยากาศในการสร้างความรู้ของเด็กในความคิดของ Papert ก็คือ ทฤษฏี Constructionism : ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
  • 34. ทฤษฏี Constructionism : ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 1. บรรยากาศและเงื่อนไขที่เปิดโอกาสให้เด็กสร้างสรรค์สิ่งที่เขาสนใจได้อย่างแท้จริง 2. สภาพแวดล้อมสังคมที่มีความหลากหลายเอื้อให้เด็กได้ร่วมมือร่วมคิดกับคนอื่นๆ 3. สภาพการเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติเป็นกันเองอันเอื้อให้ผู้เรียนจมดิ่งสู่การสร้างสรรค์ความรู้โดยไม่ต้องพะวงต่อปัญหาอื่นๆ
  • 35.
  • 36. หมายถึง กระบวนการบูรณาการบุคลคล วิธีการ แนวคิด เครื่องมือ และสิ่งต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา การดำเนินการ การประเมิน และการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ เทคโนโลยีทางการสอน (Instruction Technology )
  • 37. ที่มา : http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclassuploads/libs/html/39985/unit07_005.htm
  • 38.
  • 39. 1. บทเรียนโปรแกรม ( Programmed Lesson)  ความหมายของบทเรียนโปรแกรม บทเรียนโปรแกรม ( Programmed Lesson) หมายถึง การจัดระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนื้อหา ซึ่งจัดไว้เป็นขั้นตอนเล็ก ๆ ผู้เรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการดูจากผลสะท้อนกลับอยู่เสมอ และบางครั้งก็อาจจะได้รับความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่นักเรียนยังมีความรู้ไม่ดีพอ ผู้เรียนจะเลือกเรียนได้ตาม ความสนใจ และก้าวไปตามความสามารถของแต่ละคน
  • 40. 1. บทเรียนโปรแกรม ( Programmed Lesson)  ลักษณะของบทเรียนโปรแกรม ลักษณะบทเรียนโปรแกรม จะเป็นลักษณะของเอกสาร สื่อประสมและสิ่งพิมพ์
  • 41. 1. บทเรียนโปรแกรม ( Programmed Lesson)  ลักษณะของบทเรียนโปรแกรม หลักการทำบทเรียนโปรแกรม มีดังนี้ 1. การกำหนดวัตถุประสงค์สามารถกำหนดได้ชัดเจน 2. เนื้อหาแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆ หรือกรอบ ( Frame) 3. จัดเรียงเนื้อหาจากง่ายไปหายาก 4. มีการให้ข้อมูลย้อนกลับทันที เช่น แบบเฉลย เป็นต้น 5. มีการวัดผลที่แน่นอน คือ แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
  • 42. 2. บทเรียนโปรแกรม ( Programmed Tutoring)  ความหมายการสอนแบบทบทวน การสอนแบบทบทวน ( Programmed Tutoring) หมายถึง วิธีการสอนตัวต่อตัวที่ผู้ให้การทบทวนเป็นผู้ตัดสินใจกำหนดโปรแกรมล่วงหน้า โดยการใช้สื่อที่อยู่ในรูปของสิ่งพิมพ์ ผู้ทบทวนจะมีคู่มือพร้อมคำเฉลย ส่วนผู้เรียนจะมีแบบฝึกหัดแต่จะไม่มีคำเฉลย ผู้ทบทวนจะเลือกขั้นตอนการทบทวน โดยพิจารณาจากการตอบสนองแต่ละครั้งของผู้เรียน
  • 43. 3. การเรียนรายบุคคล   การเรียนรายบุคคล เป็นเทคโนโลยีการสอนชนิดหนึ่ง ที่ นำเอาทฤษฎีการเสริมแรงมาใช้โดยผู้เรียนเรียนด้วยตนเองจากสื่อการเรียนต่างๆ เช่น หนังสือแบบเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ฟิล์มลูป ฟิล์มสตริปและบทเรียนโปรแกรม เป็นต้น สื่อการเรียนแบบนี้จะจัดไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนไปเป็นขั้นตอน และต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถเรียนได้ดี ก่อนที่จะย้ายไปเรียนขั้นตอนต่อไปโดยมีการทดสอบไปเรื่อยๆ มีผู้ช่วยสอนหรือผู้เรียนที่เก่งช่วยแนะนำและจัดการเรื่องการทดสอบ หลังการทดสอบ ผู้ช่วยสอนหรือผู้เรียนเก่งจะช่วยทบทวนอีกครั้ง
  • 44. 3. การเรียนรายบุคคล ถ้าผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จะต้องทดสอบด้วยข้อสอบใหม่เรื่อยๆ นักเรียนสามารถทดสอบใหม่ได้ถึง 4 ครั้ง การเรียนลักษณะนี้ ส่วนใหญ่จะเรียนเป็นรายบุคคลโดยครูเป็นผู้วางแผน จัดการและมีผู้ช่วยหรือนักเรียนที่เก่งเป็นผู้คอยแนะนำ หลักการของการเรียนรายบุคคล ประกอบด้วย            4. 1) เสนอเนื้อหาข้อมูลที่เหมาะสมกับผู้เรียน            4. 2) ผู้เรียนตอบสนองต่อเนื้อหาข้อมูลนั้น ๆ            4. 3) ได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันทีทันใด
  • 45. 4. ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง ระบบการทบทวนด้วยเทปเสียง ( Audio-Tutorial Systems) เป็นการให้ความรู้หลากหลายแก่ผู้เรียน โดยผ่านทางสื่อเทปเสียง ไม่ใช้วิธีการบรรยายเนื้อหาแต่เป็นการทบทวนพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน โดยยึดหลักการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และมีครูผู้สอนในชั้นเรียนคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำอย่างใกล้ชิด ผู้เรียนจะเรียนได้ช้าหรือเร็วตามความสามารถของตนเองในการเรียนด้วยวิธีการนี้ อาจใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ประกอบการเรียนได้ เช่น เครื่องมือการทดลองวิทยาศาสตร์ ฟิล์มสตริป สี กระดาษ เป็นต้น
  • 46. 4. ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง การเรียนวิธีนี้มี 2 ขั้นตอน คือ         1. ขั้นการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่โดยไม่มีรูปแบบที่แน่นอน        2. ขั้นการเรียนเป็นรายบุคคล อาจเป็นกลุ่มเล็ก 6-10 คน ก็ได้ ภายหลังจากที่มีการพบกันในกลุ่มใหญ่แล้ว จุดมุ่งหมายของขั้นนี้ เพื่อการสำรวจดูว่าผู้เรียนแต่ละคนได้เข้าใจหลักการทฤษฎีต่างๆ มากน้อยเพียงใด
  • 47. 5. หน่วยการสอนย่อย หน่วยการสอนย่อย ( Modules) อาจเรียกชื่อได้หลายอย่าง เช่น ชุดการเรียนด้วยตนเองชุดกิจกรรม หน่วยการสอนย่อยโดยปกติออกแบบไว้สำหรับการเรียนด้วยตนเอง แต่ก็มีบ้างที่ใช้ในการเรียนแบบกลุ่ม เช่น เกม สถานการณ์จำลอง หรือประสบการณ์ภาคสนาม เทคโนโลยีที่นำหน่วยการสอนย่อยไปใช้คือ การเรียนด้วยตนเอง ( PSI) และการทบทวนด้วยเทปเสียง ( A-T) อย่างไรก็ตามหน่วยการสอนย่อยนี้มิใช่เทคโนโลยีการสอนโดยตัวของมันเองแต่จะเป็นส่วนที่ประกอบอยู่กับเทคโนโลยีชนิดต่าง ๆ
  • 48. 6. สถานการณ์จำลอง และเกมส์ สถานการณ์จำลอง ( Simulation) หมายถึง การย่อส่วนของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ส่วนเกมส์ ( Games) หมายถึง กิจกรรมที่มีการแข่งขันอันมีกฎเกณฑ์ที่อยู่บนพื้นฐานของจุดมุ่งหมายเฉพาะ คำทั้งสองอาจแยกหรือรวมกันก็ได้
  • 49. 7. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน          คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีลักษณะเช่นเดียวกับหน่วยการเรียนย่อย คือตัวมันเองไม่ใช่เทคโนโลยีการสอน แต่เป็นเพียงเครื่องมือที่สามารถเสนอการสอนแบบโปรแกรม หรือโปรแกรมการติว สถานการณ์จำลองและเกมและรูปแบบการเรียนอื่นๆ ที่ไม่ใช่การสอนด้วยครู เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Instruction : CAI) นอกจากนั้น คอมพิวเตอร์ยังสามารถช่วยจัดการเรียน ( Computer Managed Instruction : CMI) เช่น การเรียนรายบุคคล ( PSI) และการทบทวนด้วยเทปเสียง ( A-T) ได้ดีมีประสิทธิภาพมากกว่าใช้คนอีกด้วย
  • 50. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการสอน 1. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้หรือทบทวนด้วยตนเอง 3. ผู้เรียนที่ขาดเรียนสามารถเรียนย้อนหลังได้ 4. ลดภาระงานของครูผู้สอน 5. แก้ปัญหาขาดแคลนครู 6. ผู้เรียนสามารถเลือกบทเรียนได้อย่างอิสระ
  • 51. ประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการสอน 7. ยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนเนื้อหา และสะดวกในการเรียน 8. เข้าถึงบทเรียนได้ง่าย 9. ประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน 10. สร้างแรงดึงดูดใจในการเรียน 11. ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างเมืองและชนบท
  • 52. ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด บทเรียนโปรแกรม 1. บทเรียนโปรแกรมเหมาะสำหรับเนื้อหาที่เป็นความจริง หรือความรู้พื้นฐานมากกว่าเนื้อหาที่ต้องการความคิดเห็น 2. มีส่วนทำให้ทักษะการเขียนหนังสือของผู้เรียนน้อยลง 3. ผู้เรียนขาดการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
  • 53. ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด การสอนแบบทบทวน ผู้ไม่สามารถเลือกบทเรียนที่ต้องการทบทวนได้เนื่องจาก การเรียนรายบุคคล ผู้เรียนต้องเรียนตามโปรแกรมของบทเรียนที่กำหนด ระบบการสอนทบทวนด้วยเทปเสียง ไม่มีเนื้อหาของบทเรียนประกอบการเรียนการสอน
  • 54. ประเภทเทคโนโลยีการสอน ข้อจำกัด หน่วยการสอนย่อย 1. ค่าใช้จ่ายสูง 2. การมีระบบการทำงานที่ค่อนข้าง ซับซ้อน 3. ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาระบบ 4. ใช้เวลาในการพัฒนาสื่อนาน สถานการณ์จำลอง และเกมส์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • 55.
  • 56.  การประยุกต์ใช้ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมของสกินเนอร์ต่อบทเรียนโปรแกรม - ส่วนสำคัญที่นำมาใช้เป็นหลักของบทเรียนโปรแกรม คือ หลักการเสริมแรง - การเสิรมแรงในบทเรียนโปรแกรม คือ การเฉลยคำตอบให้ ทราบทันที และพยายามหาวิธีการเพื่อไม่ให้เกิดการตอบสนอง ที่ผิดพลาด โดยการจัดเสนอความรู้ให้ต่อเนื่องทีละขั้นตอน อย่างละเอียด การประยุกต์ใช้ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม ของสกินเนอร์ต่อเทคโนโลยีการสอน
  • 57.  การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่กับ E-Learning ใช้ในการออกแบบและพัฒนาบทเรียนโดยใช้ทฤษฎีของกาเย่ ( Gagne) ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ดังนี้ - สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียน - แจ้งจุดประสงค์ บอกให้ผู้เรียนทราบถึงผลการเรียน เห็นประโยชน์ในการเรียน ให้แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียน - กระตุ้นให้ผู้เรียนทบทวนความรู้เดิมที่จำเป็นต่อการเชื่อมโยงไป หาความรู้ใหม่ เสนอบทเรียนใหม่ๆ ด้วยสื่อต่างๆ ที่เหมาะสม การประยุกต์ใช้ทฤษฏีกลุ่มความรู้ของกาเย่ ต่อเทคโนโลยีการสอน
  • 58. - ให้แนวทางการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถทำกิจกรรมด้วยตนเอง ผู้สอนแนะนำวิธีการทำกิจกรรม แนะนำแหล่งค้นคว้าต่างๆ - กระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือทำแบบฝึกปฏิบัติ - ให้ข้อมูลย้อนกลับ ผู้เรียนทราบถึงผลการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ - การประเมินผลการเรียนตามจุดประสงค์ - ส่งเสริมความแม่นยำ การถ่ายโอนการเรียนรู้ โดยการสรุป การย้ำ การทบทวน การประยุกต์ใช้ทฤษฏีกลุ่มความรู้ของกาเย่ ต่อเทคโนโลยีการสอน
  • 59.
  • 60. cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass.../ learners.in.th/file/woranuch_pongpet/23_1.doc http://gotoknow.org/blog/tern/200172 http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/df-skinner.html http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/ http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86 http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/ http://www.lamptech.ac.th/webprg/karnson/ http://naturefias.blogspot.com/2008_09_01_archive.html
  • 61.