SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
คณะ/ สาขาวิชา คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
HO101 ทักษะการรู้สารสนเทศ (InformationLiteracy Skills)
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3(2-2-5)
3. หลักสูตรและประเภทรายวิชา
หลายหลักสูตรของคณะมนุษยศาสตร์ (ยกเว้นสาขาวิชาการท่องเที่ยว)
เป็นรายวิชาบังคับในกลุ่มวิชาแกนมนุษยศาสตร์
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ หัวหน้าสาขาวิชา
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ อาจารย์ผู้สอน
5. ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2/2556 นักศึกษาชั้นปีที่ 1
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
วันที่จัดทา วันที่ 9 ธันวาคม 2556
วันที่ปรับปรุงรายละเอียดล่าสุด วันที่ 14 ธันวาคม 2556
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจสารสนเทศและเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน
โดยสามารถบูรณาการเข้ากับการพัฒนาทักษะในการเรียนระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศซึ่งประกอบด้วยการรู้ถึงความต้องการสารสนเทศของตนเอง
การรู้แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
การประเมินสารสนเทศ การสังเคราะห์สารสนเทศ
และการใช้สารสนเทศเพื่อตอบสนองความต้องการสารสนเทศได้ การรู้เท่าทันสื่อ
ตลอดจนการนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบการเขียนรายงานทางวิชาการและรูปแบบอื่นๆ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษา
1. รู้และเข้าใจความหมายและความสาคัญสารสนเทศที่มีต่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
2. รู้และตระหนักถึงความจาเป็นของการมีทักษะการรู้สารสนเทศสาหรับการศึกษาระดับปริญญาตรี
3. เข้าใจกระบวนการการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆของกระบวนการ
ดังกล่าวได้
4. มีทักษะการรู้สารสนเทศ และสามารถใช้ทักษะการรู้สารสนเทศในการศึกษาค้นคว้า และการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศ
6. นาเสนอสารสนเทศได้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล
7. บูรณาการความรู้และทักษะทั้งหมดในการเรียนรายวิชาอื่นได้
3
หมวดที่ 3ลักษณะการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ทักษะการเรียนรู้ ความสาคัญ กระบวนการพัฒนาความรู้และทักษะสารสนเทศ ประกอบด้วย
การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ การเลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ การวิเคราะห์
สังเคราะห์และประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง - 1. ฝึกปฏิบัติสืบค้นสารสนเทศจาก
WebOPAC, Online Databases,
Search Engines (Google)
2. ฝึกปฏิบัติเขียนรายงานที่ถูกต้องตาม
แบบแผนสากล
5 ชั่วโมง/สัปดาห์
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
 ผู้สอนจัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มตามความเหมาะสม ประมาณ 2-3
ชั่วโมง/สัปดาห์ที่ห้องพักครู หรือผ่านทาง Facebook ของกลุ่ม ซึ่งมี 4กลุ่ม คือ ILSG1, ILSG2, ILSG3
และ ILSG4
4
หมวดที่ 4การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1. คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง
2. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
3. มีความซื่อสัตย์สุจริต
1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียนโดยการเข้าสอนตรงเวลา
2. ก า ร เ ช็ ค ชื่ อ เ ข้ า ชั้ น เ รี ย น ต า ม ก า ห น ด เ ว ล า ที่ ไ ด้ ต ก ล ง กั บ ผู้ เ รี ย น
และได้กาหนดกติกาการให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน 5 คะแนน ซึ่งนักศึกษาจะได้คะแนนเต็ม เมื่อ 1)
เข้าเรี ยน ตรง เวลา 2) ไม่ขาดเรี ยน 3) ตั้ง ใ จเรี ยน แล ะ มีส่วน ร่วมใ น ชั้ น เรี ยน 4)
แต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย 5) รักษามารยาทสังคม โดยไม่ใช้อุปกรณ์สื่อสารในระหว่างการเรียน
และกรณีมาสายรวม 3 ครั้ง นับเป็ นการขาดเรียน 1 ครั้ง กรณีขาดเรียนมากกว่า 4 ครั้ง
โดยไม่มีเหตุผลอันควร นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบปลายภาคทันที
3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานทั้งที่เป็ นงานเดี่ยวและงานกลุ่ม โดยกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน
หากไม่สามารถส่งงานตามกาหนดเวลาได้นักศึกษาต้องมาพบครูเพื่อแจ้งปัญหาและแก้ไขต่อไป
4. ก า ห น ด ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า แ ต่ง ก า ย ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ร ะ เ บี ย บ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย
หากไม่ปฏิบัติตามผู้สอนจะเตือนและหักคะแนนความประพฤติ (หักที่คะแนนดาว)
5. ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตผ่านการเรียนการสอน การสอบย่อยในระบบ eClassroom
และงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3 วิธีการประเมินผล
1. เช็คชื่อเข้าชั้นเรียนทุกครั้ง และหากขาดเรียนเกิน 4ครั้ง ผู้สอนจะประกาศรายชื่อนักศึกษาที่ไม่มีสิทธิสอบ
ผ่านทาง Facebook ของกลุ่มนั้นๆ และแนะนาให้ไปทาการเพิกถอนรายวิชานี้ในสัปดาห์ที่ 13 หรือหากเกิน
สัปดาห์เพิกถอนก็จะตัดสิทธิการสอบย่อย
5
2. ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กาหนด
3. มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นามาทารายงานได้อย่างถูกต้อง
4. มีความซื่อสัตย์ไม่ลอกการบ้านหรือทุจริตในการสอบ
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1. มีความรู้ในศาสตร์หลักทั้งภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง
2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. มีกระบวนการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2.2 วิธีการสอน
1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้รอบทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. จัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย อาทิ
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอนใน eClassroom
และกรณีไม่เข้าใจให้ซักถามประเด็นปัญหาต่างๆ ในห้องเรียน
- ดูสื่อการสอนใน eClassroom มาล่วงหน้าเพื่อเตรียมตอบคาถามของผู้สอนในห้องเรียน
- ตอบคาถามผ่าน Facebook ของแต่ละกลุ่ม
- ในห้องเรียนใช้วิธีการถาม-ตอบ กล่าวคือเป็นการใช้คาถามเป็นตัวสร้างความเข้าใจในเนื้อหา เช่น
การสอนเรื่องการสืบค้นสารสนเทศ และอธิบายประเด็นสาคัญเพิ่มเติมในระหว่างการถาม-
ตอบคาถามเหล่านั้น
6
- บรรยายและฝึกปฏิบัติการทารายงานไปตามขั้นตอน
โดยใช้หัวข้อรายงานของนักศึกษาช่วยในกระบวนการเรียนรู้
- ทากิจกรรมกลุ่มในห้องเรียนเพื่อเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากน้อยเพียงใด
3. กาหนดให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่สนใจซึ่งผู้สอนจะแนะนาให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกั
บ ส า ข า วิ ช า ที่ ต น เ อ ง เ รี ย น อ ยู่
ในกระบวนการทารายงานผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและรู้จักสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่า
ง ๆ เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาเสนอในรูปแบบของรายงานที่ถูกต้องตามแบบมาตรฐานสากลได้
2.3. วิธีการประเมินผล
1. แบบทดสอบย่อย และสอบปลายภาค
2. ประเมินจากการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1. สามารถคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาได้เหมาะสมและเป็นระบบ
2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติเพื่อการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหาได้อย่างเหม
าะสม
3.2 วิธีการสอน
1. จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายที่ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผล
พร้อมทั้งฝึกการแก้ปัญหาต่าง ๆได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ
2. เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ eClassroom
3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทารายงานที่กาหนดโดยใช้ทักษะที่ได้เรียนมาและนาเสนอผลงาน
3.3 วิธีการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการตอบข้อซักถามของผู้เรียน
2. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย
3. แบบทดสอบย่อย และสอบปลายภาค
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1. สามารถทางานกลุ่ม รู้บทบาททั้งการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 วิธีการสอน
7
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ฝึกการทางานเดี่ยวและงานกลุ่ม และกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน
2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองในระบบ eClassroom และ/หรือผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ
ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
4.3 วิธีการประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
2. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย
3. การตอบคาถามจากเนื้อหาที่มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
1. สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อเพิ่มพูนความรู้ได้
3. มีทักษะในการนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 วิธีการสอน
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีโอกาสสืบค้นและนาเสนอข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้นาเสนอในรูปแบบการเขียนรายงานทางวิชาการ
5.3 วิธีการประเมินผล
1. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย
2. ประเมินผลงานของผู้เรียนจากการนาเสนอรายงานที่เป็นรูปเล่ม
หมวดที่5แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1 -อธิบายรายวิชาและการประเมินผล
-Tour สานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-สั่งงานหน่วยที่1:
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่1ใน
eClassroom
เพื่อเตรียมตอบคาถามครูในสัป
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
8
ดาห์ที่ 2
2 หน่วยที่1สารสนเทศกับการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษา
1. ความหมายของสารสนเทศ
2.
ความสาคัญของสารสนเทศที่มีต่อการศึก
ษา ในระดับอุดมศึกษา
3.
สารสนเทศที่จาเป็นต่อการเรียนในมหาวิ
ทยาลัย
3.1 วิธีการเรียนใน UTCC
อย่างประสบความสาเร็จ
3.2 การศึกษาระบบหน่วยกิตของ
UTCC
3.3 การใช้สานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
4. การรู้เท่าทันสื่อ
4.1 ความหมายและความสาคัญ
4.2 ทักษะที่จาเป็น
สาหรับการรู้เท่าทันสื่อ
4.3 การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ
4.4 แนวทางการรับมือสื่อ
3 -ถาม-ตอบในห้องเรียน:
สารสนเทศกับการศึกษาในระดับ
อุดมศึกษา
-กิจกรรมกลุ่มในห้องเรียน:
เรียนในมหาวิทยาลัยอย่างไรจึงจะ
ประสบความสาเร็จ
-สั่งงานหน่วยที่2:
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่2ใน
eClassroom
เพื่อเตรียมตอบคาถามครูในสัป
ดาห์ที่ 3
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
3 หน่วยที่2การรู้สารสนเทศกับการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
1. ความหมายของการรู้สารสนเทศ
2.
ความสาคัญของการมีทักษะการรู้สารสนเ
ทศ
3. องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ
4. กระบวนการการรู้สารสนเทศ หรือ
กระบวนการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเท
ศ
5. ผู้รู้สารสนเทศ
3 -ถาม-ตอบผ่านFacebook:
การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดั
บอุดมศึกษา
-ถาม-ตอบในห้องเรียน:
การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดั
บอุดมศึกษา
-สั่งงานหน่วยที่3:
อ่านเอกสารคาสอนหน่วยที่ 3
ในeClassroom
เพื่อเตรียมทากิจกรรมกลุ่มในสั
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
9
ปดาห์ที่ 4
4 หน่วยที่3การวิเคราะห์ความต้องการ
สารสนเทศ
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-กิจกรรมกลุ่มในห้องเรียน:
กิจกรรมโครงงานกลุ่มชิ้นที่ 1
แบบวิเคราะห์ความต้องการ
สารสนเทศ (ฝึกทาโครงเรื่อง)
-สั่งงานหน่วยที่4:
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่4 ใน
eClassroom
เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา
ห์ที่4
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

5 หน่วยที่4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและ
ทรัพยากรสารสนเทศ
1. แหล่งสารสนเทศ(Information
Sources)
1.1 ความหมาย
1.2 ประเภท
2. ทรัพยากรสารสนเทศ (Information
Resources)
2.1 ความหมาย
2.2 ประเภท
2.3
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง
(ReferenceResources) และการเลือกใช้
3.
การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศและทรัพยา
กรสารสนเทศ
3 -ถาม-ตอบในห้องเรียน:
การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรั
พยากรสารสนเทศ
-ถาม-ตอบผ่านFacebook:
การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรั
พยากรสารสนเทศ
-สั่งงานหน่วยที่5:
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5 ใน
eClassroom
เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา
ห์ที่6
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

6 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ
1. ความหมาย “
การสืบค้นสารสนเทศ
”
2. ช่องทางการสืบค้น
3. การกาหนดคาสาคัญเพื่อการสืบค้น
4. วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น
5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ถาม-ตอบในห้องเรียน:
การค้นหาสารสนเทศ (1 -5.1)
-สั่งงานหน่วยที่5(ต่อ):
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5ใน
eClassroom
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

10
5.1 WebOPAC
ของสานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา
ห์ที่7
7 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ)
5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ (ต่อ)
5.2 Google
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ถาม-ตอบในห้องเรียน:
การสืบค้นสารสนเทศจาก
WWW โดยใช้Google
-สั่งงานหน่วยที่5(ต่อ):
อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5ใน
eClassroom
เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา
ห์ที่9
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

8 ไม่มีสอบกลางภาค
9 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ)
5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ (ต่อ)
5.3 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online
Databases)ที่ห้องสมุดบอกรับ
5.3.1 GrolierOnline
(EncyclopediaAmericana)
5.3.2 WileyOnline Library
5.3.3 NEWSCenter
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ถาม-ตอบในห้องเรียน:
การสืบค้นสารสนเทศจาก
Online Databases
-
ส่งโครงเรื่อง+บัตรบรรณานุกร
มในสัปดาห์ถัดไป
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

10 หน่วยที่6การประเมินคุณค่าสารสนเทศ 3 พูดคุยเกณฑ์การประเมินค่าสาร
สนเทศ
โดยเฉพาะสารสนเทศเว็บ
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

11 หน่วยที่7
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ฝึกปฏิบัติ:
การจดบันทึกข้อมูล
-ส่งการจดบันทึกข้อมูลนอก
ห้องเรียน
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

12 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง
การนาเสนอสารสนเทศ
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ฝึกปฏิบัติ:
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

11
-การเรียบเรียงเนื้อหาและการเขียน
รายการอ้างถึง การเรียบเรียงเนื้อหาและการเขีย
นรายการอ้างถึง
-
ส่งเนื้อหา+รายการอ้างอิงนอกห้
องเรียน
13 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง
การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ)
- การเขียนบรรณานุกรม
3 -บรรยาย (PowerPoint)
-ฝึกปฏิบัติ:
เขียนบรรณานุกรม
-
ส่งการพิมพ์บรรณานุกรมนอก
ห้องเรียน
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

14 สอบย่อย 3 สอบย่อย  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

15 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง
การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ)
-การเข้าเล่มรายงาน
- การนาเสนอด้วยการพูด (+เทคนิคการ
นาเสนอสารสนเทศ)
3 -ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
-ตรวจงาน
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

16 สรุปทบทวนเนื้อหาและชี้แจงแนวการออก
ข้อสอบ
3 -ตรวจงาน
-ส่งรายงานภายในสัปดาห์แรก
ของการสอบปลายภาค
 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

17 สอบปลายภาค
2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้
12
กิจกรรมที่
ผลการ
เรียนรู้
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนของการ
ประเมินผล
1
สอบย่อย
(หน่วยที่ 1, 2และ 4)
14 20%
2 สอบปลายภาค 17 30%
3
การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึ
กษา
5%
4
การแสดงความคิดเห็นและก
ารตอบคาถามในชั้นเรียน
(ให้เป็นดาว)
2, 3, 5, 6, 7, 9, 10%
5 คะแนนกิจกรรม 2, 4 10%
6
รายงาน
(ส่งงานตามขั้นตอนที่กาหน
ด)
11, 12, 13, 15,
17
25%
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล. (2555). การรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
Popof BloG. (2550). การรู้สารสนเทศ (Information literacy). สืบค้นเมื่อ12มิถุนายน 2556, จาก
http://popofblog.blogspot.com/
รติรัตน์ มหาทรัพย์.(ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเรียบเรียงสารสนเทศและการนาเสนอด้วยการพูด. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
(เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การนาเสนอด้วยการพูด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
(เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การสืบค้นสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
(เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
13
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 7การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 8การเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
เอกสารประกอบการสอน วิชา 412102 การรู้สารสนเทศ (Information literacy) (พิมพ์ครั้งที่4). (2551). ขอนแก่น:
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
AmericanLibraryAssociation. (1996-2013). Information literacycompetencystandardsfor highereducation.
RetrievedJune 12, 2013, from http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/standards/informationliteracycompetency.cfm
CharteredInstitute of LibraryandInformation Professionals. (2013). Information literacy. Retrieved June 12, 2013, from
http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/learning/information-literacy/pages/definition.aspx
IL websiteadministrator. (2013). Information literacywebsite. RetrievedJune 12, 2013, from
http://www.informationliteracy.org.uk/
University ofIdaho. (2013). Information literacy. RetrievedJune12, 2013, from http://www.webs.uidaho.edu/info_literacy/
University ofWyoming Libraries. (2012). Tutorialfor info power. RetrievedJune12, 2013, from http://tip.uwyo.edu
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
บทเรียน eClassroom วิชา HO101 InformationLiteracy Skills (HO1012/2556)
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ภาษาไทย
จินดารัตน์ เบอรพันธุ์ ).
4422
.( การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารนิเทศ .
กรุงเทพฯ :ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. (2547). การค้นคว้าและการเขียนรายงาน )
พิมพ์ครั้งที่ 6(.
กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงกมล อุ่นจิตติ. )2545). รายงานการวิจัยเรื่องการประเมินการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา.
น้าทิพย์ วิภาวิน ) .
4422
.( ทักษะการใช้ห้องสมุดยุคใหม่ .กรุงเทพฯ:เอสอาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ .
มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ .
)
4422
.( สารนิเทศและการศึกษาค้นคว้า.ชลบุรี: ผู้แต่ง.
มาลี จุฑา ).
4422
.( การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ .
กรุงเทพฯ :อักษรพิพัฒน์.
รติรัตน์ มหาทรัพย์ ).
ม
.
ป
.
ป
.(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องทักษะการรู้สารสนเทศ.กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย ) .
เอกสารอัดสาเนา
(
.
รติรัตน์ มหาทรัพย์ ).
ม
.
ป
.
ป
.(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องสารสนเทศกับการเรียนรู้.กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัย
14
หอการค้าไทย ) .
เอกสารอัดสาเนา
.(
รติรัตน์ มหาทรัพย์ ).
ม
.
ป
.
ป
.(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องแหล่งสารสนเทศและการเลือกใช้. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ) .
เอกสารอัดสาเนา
.(
สมบัติ จาปาเงิน ).
4422
.( เรียนให้เก่งคู่มือแนะนาหลักการเรียนให้ดี สอบให้เด่น.กรุงเทพฯ:ข้าวฟ่าง.
สมาน ลอยฟ้ า ).
4422
.( การรู้สารสนเทศ: ทักษะที่จาเป็นสาหรับสังคมสารสนเทศ .วารสารมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ ม .
ขอนแก่น , 91
)
1
( : 1-6.
สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์ ) .
4422
.( แบบจาลองการรู้สารสนเทศ .บรรณศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ,12(2):57-68.
อรุณี มนตรีกุล ณ อยุธยาและคณะ )
4422
( .การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด .
กรุงเทพฯ
: แม็ค.
เอกสารประกอบการสอนวิชา 294914
การรู้สารสนเทศ
.
)
4441
.(
ขอนแก่น :ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภาษาอังกฤษ
AmericanLibraryAssociation. (2000). Information literacycompetencystandardsfor highereducation. RetrievedOctober1,
2012, from http://www.ala.org/acrl/sites/ala.org.acrl/files/content/standards/standards.pdf
Armstrong, A., &Georgas, H. (2006). Usinginteractive technology to teachinformation literacyconceptsto undergraduate
students. ReferenceServicesReview,34(4), 491–497.
Associationof College andResearchLibraries.(1996-2013). Introduction toinformation literacy. RetrievedJune16, 2013, from
http://www.ala.org/acrl/issues/infolit/overview/intro
Belkin, N.J., & Vickery, A. (1985). Interaction ininformation systems:Areviewof researchfromdocumentretrievalto
knowledge-basedsystems.Boston Spa,UK:British Library.
Bundy, A. (2004). Australian and NewZealandinformation literacyframework:Principles, standards, andpractice (2nded.).
Adelaide:AustralianandNew ZealandInstitute for Information Literacy.
Campbell, S. (2008). Defining information literacyin the 21st century. InJ. Lau(Ed.), Information literacy:International
perspectives)pp.17-26(. Munich:K.G. Saur, IFLA.
Case,D.O. (2007). Looking for information: Asurveyofresearchoninformation seeking,needs,and behavior. London: Academic
Press.
Eisenberg,M. (2012). Information alchemy:Transforming dataandinformation into knowledge andwisdom. RetrievedJune 16,
2013, from http://big6.com/pages/posts/information-alchemy-32.php
Flanagin, A. J., & Metzger,M. J. (2007). The role ofsite features, userattributes, andinformation verification behaviors on the
perceivedcredibility ofweb-basedinformation. NewMedia &Society, 2, 319−342.
15
Gauder,H., &Jenkins, F. (2012). Engaging undergraduatesin discipline-basedresearch.ReferenceServicesReview,40(2),277-
294.
Green,R. (2010). Information illiteracy: Examining our assumptions. Journalof AcademicLibrarianship, 36(4), 313-319.
Gross, M., & Latham, D. (2007). Attaining information literacy:Aninvestigation ofthe relationship betweenskill level, self-
estimates ofskill, andlibrary anxiety. Library &Information ScienceResearch,29(3), 332–353.
Horton, F. W., Jr. (2008). Understanding information literacy:A primer. In UNESCO Information for all programme, Information
Society Division. Paris:UNESCO.
Li, W. (2011). Aninformation literacyintegration model andits application in highereducation. ReferenceServicesReview,39(4),
703 –720.
Losee,R.M. (1998). A discipline independent: Definition ofinformation. Journal ofthe AmericanSocietyof Information Science,
48(3), 254– 269.
Lowe,M. (2012). Information literacy2011: A selectionof 2011's literature on IL.Codex, 1(4), 46-74.
O’Brian, T.,& Russel, P. (2012). TheIrish ‘Working group oninformation literacy’ –Edging towards anational policy. The
International Information & Library Review,44, 1-7.
Secker,J., Bden, D., & Price,G. (2007). The information literacy cookbook:Ingredients, recipesandtips for success. Oxford:
Chandos.
Witek, D., & Grettano, T. (2012). Information literacyon Facebook:Ananalysis. ReferenceServicesReview,40(2),242-257.
หมวดที่7การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
16
1. การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน นอกห้องเรียน หรือผ่าน Facebook
2. การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
3. การส่งงานแต่ละชิ้นของรายงานกลุ่ม ซึ่งมีบางงานทาเดี่ยว
4. แบบประเมินผู้สอน
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
1. การทาแบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
2. พิจารณาจากผลการสอบของผู้เรียน การนาเสนอรายงาน
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน
3. การปรับปรุงการสอน
1. การปรับกระบวนการเรียนการสอนให้เหมาะสม
2. การปรับปรุงบทเรียนใน eClassroom แบบฝึกหัด กิจกรรม และรายงานเมื่อสิ้นภาคการศึกษาจากการ
ประเมินรายวิชา
3. การพัฒนาเนื้อหาให้เน้นไปในเรื่องกระบวนการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การให้คณะกรรมการฝ่ายวิชาการของสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาพิจารณาข้อสอบ วิธีการให้คะแนน และผลการ
สอบ
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
การปรับปรุงบทเรียน กิจกรรม การทารายงานและข้อสอบทุกภาคการศึกษาตามผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา
เพื่อพิจารณาการให้คะแนนและประเมินข้อสอบและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยคณะกรร

More Related Content

More from Srion Janeprapapong

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (20)

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 

ประมวลรายวิชา HO101 ทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.3)

  • 1. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะ/ สาขาวิชา คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา HO101 ทักษะการรู้สารสนเทศ (InformationLiteracy Skills) 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทรายวิชา หลายหลักสูตรของคณะมนุษยศาสตร์ (ยกเว้นสาขาวิชาการท่องเที่ยว) เป็นรายวิชาบังคับในกลุ่มวิชาแกนมนุษยศาสตร์ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ หัวหน้าสาขาวิชา อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ อาจารย์ผู้สอน 5. ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2/2556 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่จัดทา วันที่ 9 ธันวาคม 2556 วันที่ปรับปรุงรายละเอียดล่าสุด วันที่ 14 ธันวาคม 2556
  • 2. 2 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจสารสนเทศและเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยสามารถบูรณาการเข้ากับการพัฒนาทักษะในการเรียนระดับอุดมศึกษา การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศซึ่งประกอบด้วยการรู้ถึงความต้องการสารสนเทศของตนเอง การรู้แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ การประเมินสารสนเทศ การสังเคราะห์สารสนเทศ และการใช้สารสนเทศเพื่อตอบสนองความต้องการสารสนเทศได้ การรู้เท่าทันสื่อ ตลอดจนการนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบการเขียนรายงานทางวิชาการและรูปแบบอื่นๆ 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษา 1. รู้และเข้าใจความหมายและความสาคัญสารสนเทศที่มีต่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา 2. รู้และตระหนักถึงความจาเป็นของการมีทักษะการรู้สารสนเทศสาหรับการศึกษาระดับปริญญาตรี 3. เข้าใจกระบวนการการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆของกระบวนการ ดังกล่าวได้ 4. มีทักษะการรู้สารสนเทศ และสามารถใช้ทักษะการรู้สารสนเทศในการศึกษาค้นคว้า และการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศ 6. นาเสนอสารสนเทศได้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล 7. บูรณาการความรู้และทักษะทั้งหมดในการเรียนรายวิชาอื่นได้
  • 3. 3 หมวดที่ 3ลักษณะการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ทักษะการเรียนรู้ ความสาคัญ กระบวนการพัฒนาความรู้และทักษะสารสนเทศ ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ การเลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 45 ชั่วโมง - 1. ฝึกปฏิบัติสืบค้นสารสนเทศจาก WebOPAC, Online Databases, Search Engines (Google) 2. ฝึกปฏิบัติเขียนรายงานที่ถูกต้องตาม แบบแผนสากล 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล  ผู้สอนจัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มตามความเหมาะสม ประมาณ 2-3 ชั่วโมง/สัปดาห์ที่ห้องพักครู หรือผ่านทาง Facebook ของกลุ่ม ซึ่งมี 4กลุ่ม คือ ILSG1, ILSG2, ILSG3 และ ILSG4
  • 4. 4 หมวดที่ 4การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1. คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1. มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง 2. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร 3. มีความซื่อสัตย์สุจริต 1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียนโดยการเข้าสอนตรงเวลา 2. ก า ร เ ช็ ค ชื่ อ เ ข้ า ชั้ น เ รี ย น ต า ม ก า ห น ด เ ว ล า ที่ ไ ด้ ต ก ล ง กั บ ผู้ เ รี ย น และได้กาหนดกติกาการให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน 5 คะแนน ซึ่งนักศึกษาจะได้คะแนนเต็ม เมื่อ 1) เข้าเรี ยน ตรง เวลา 2) ไม่ขาดเรี ยน 3) ตั้ง ใ จเรี ยน แล ะ มีส่วน ร่วมใ น ชั้ น เรี ยน 4) แต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย 5) รักษามารยาทสังคม โดยไม่ใช้อุปกรณ์สื่อสารในระหว่างการเรียน และกรณีมาสายรวม 3 ครั้ง นับเป็ นการขาดเรียน 1 ครั้ง กรณีขาดเรียนมากกว่า 4 ครั้ง โดยไม่มีเหตุผลอันควร นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบปลายภาคทันที 3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานทั้งที่เป็ นงานเดี่ยวและงานกลุ่ม โดยกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน หากไม่สามารถส่งงานตามกาหนดเวลาได้นักศึกษาต้องมาพบครูเพื่อแจ้งปัญหาและแก้ไขต่อไป 4. ก า ห น ด ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า แ ต่ง ก า ย ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ร ะ เ บี ย บ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย หากไม่ปฏิบัติตามผู้สอนจะเตือนและหักคะแนนความประพฤติ (หักที่คะแนนดาว) 5. ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตผ่านการเรียนการสอน การสอบย่อยในระบบ eClassroom และงานที่ได้รับมอบหมาย 1.3 วิธีการประเมินผล 1. เช็คชื่อเข้าชั้นเรียนทุกครั้ง และหากขาดเรียนเกิน 4ครั้ง ผู้สอนจะประกาศรายชื่อนักศึกษาที่ไม่มีสิทธิสอบ ผ่านทาง Facebook ของกลุ่มนั้นๆ และแนะนาให้ไปทาการเพิกถอนรายวิชานี้ในสัปดาห์ที่ 13 หรือหากเกิน สัปดาห์เพิกถอนก็จะตัดสิทธิการสอบย่อย
  • 5. 5 2. ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กาหนด 3. มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่นามาทารายงานได้อย่างถูกต้อง 4. มีความซื่อสัตย์ไม่ลอกการบ้านหรือทุจริตในการสอบ 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 1. มีความรู้ในศาสตร์หลักทั้งภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีกระบวนการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2.2 วิธีการสอน 1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้รอบทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. จัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย อาทิ - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอนใน eClassroom และกรณีไม่เข้าใจให้ซักถามประเด็นปัญหาต่างๆ ในห้องเรียน - ดูสื่อการสอนใน eClassroom มาล่วงหน้าเพื่อเตรียมตอบคาถามของผู้สอนในห้องเรียน - ตอบคาถามผ่าน Facebook ของแต่ละกลุ่ม - ในห้องเรียนใช้วิธีการถาม-ตอบ กล่าวคือเป็นการใช้คาถามเป็นตัวสร้างความเข้าใจในเนื้อหา เช่น การสอนเรื่องการสืบค้นสารสนเทศ และอธิบายประเด็นสาคัญเพิ่มเติมในระหว่างการถาม- ตอบคาถามเหล่านั้น
  • 6. 6 - บรรยายและฝึกปฏิบัติการทารายงานไปตามขั้นตอน โดยใช้หัวข้อรายงานของนักศึกษาช่วยในกระบวนการเรียนรู้ - ทากิจกรรมกลุ่มในห้องเรียนเพื่อเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากน้อยเพียงใด 3. กาหนดให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่สนใจซึ่งผู้สอนจะแนะนาให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกั บ ส า ข า วิ ช า ที่ ต น เ อ ง เ รี ย น อ ยู่ ในกระบวนการทารายงานผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและรู้จักสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่า ง ๆ เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาเสนอในรูปแบบของรายงานที่ถูกต้องตามแบบมาตรฐานสากลได้ 2.3. วิธีการประเมินผล 1. แบบทดสอบย่อย และสอบปลายภาค 2. ประเมินจากการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 1. สามารถคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาได้เหมาะสมและเป็นระบบ 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติเพื่อการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหาได้อย่างเหม าะสม 3.2 วิธีการสอน 1. จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายที่ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผล พร้อมทั้งฝึกการแก้ปัญหาต่าง ๆได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ 2. เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ eClassroom 3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทารายงานที่กาหนดโดยใช้ทักษะที่ได้เรียนมาและนาเสนอผลงาน 3.3 วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการตอบข้อซักถามของผู้เรียน 2. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย 3. แบบทดสอบย่อย และสอบปลายภาค 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1. สามารถทางานกลุ่ม รู้บทบาททั้งการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.2 วิธีการสอน
  • 7. 7 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ฝึกการทางานเดี่ยวและงานกลุ่ม และกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน 2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองในระบบ eClassroom และ/หรือผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต 4.3 วิธีการประเมิน 1. สังเกตพฤติกรรมการทางานทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม 2. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย 3. การตอบคาถามจากเนื้อหาที่มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1. สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 2. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อเพิ่มพูนความรู้ได้ 3. มีทักษะในการนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.2 วิธีการสอน 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีโอกาสสืบค้นและนาเสนอข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้นาเสนอในรูปแบบการเขียนรายงานทางวิชาการ 5.3 วิธีการประเมินผล 1. ประเมินการนาเสนองานที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย 2. ประเมินผลงานของผู้เรียนจากการนาเสนอรายงานที่เป็นรูปเล่ม หมวดที่5แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 -อธิบายรายวิชาและการประเมินผล -Tour สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 3 -บรรยาย (PowerPoint) -สั่งงานหน่วยที่1: อ่านเนื้อหาของหน่วยที่1ใน eClassroom เพื่อเตรียมตอบคาถามครูในสัป อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
  • 8. 8 ดาห์ที่ 2 2 หน่วยที่1สารสนเทศกับการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา 1. ความหมายของสารสนเทศ 2. ความสาคัญของสารสนเทศที่มีต่อการศึก ษา ในระดับอุดมศึกษา 3. สารสนเทศที่จาเป็นต่อการเรียนในมหาวิ ทยาลัย 3.1 วิธีการเรียนใน UTCC อย่างประสบความสาเร็จ 3.2 การศึกษาระบบหน่วยกิตของ UTCC 3.3 การใช้สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 4. การรู้เท่าทันสื่อ 4.1 ความหมายและความสาคัญ 4.2 ทักษะที่จาเป็น สาหรับการรู้เท่าทันสื่อ 4.3 การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ 4.4 แนวทางการรับมือสื่อ 3 -ถาม-ตอบในห้องเรียน: สารสนเทศกับการศึกษาในระดับ อุดมศึกษา -กิจกรรมกลุ่มในห้องเรียน: เรียนในมหาวิทยาลัยอย่างไรจึงจะ ประสบความสาเร็จ -สั่งงานหน่วยที่2: อ่านเนื้อหาของหน่วยที่2ใน eClassroom เพื่อเตรียมตอบคาถามครูในสัป ดาห์ที่ 3 อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ 3 หน่วยที่2การรู้สารสนเทศกับการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 1. ความหมายของการรู้สารสนเทศ 2. ความสาคัญของการมีทักษะการรู้สารสนเ ทศ 3. องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ 4. กระบวนการการรู้สารสนเทศ หรือ กระบวนการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเท ศ 5. ผู้รู้สารสนเทศ 3 -ถาม-ตอบผ่านFacebook: การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดั บอุดมศึกษา -ถาม-ตอบในห้องเรียน: การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดั บอุดมศึกษา -สั่งงานหน่วยที่3: อ่านเอกสารคาสอนหน่วยที่ 3 ในeClassroom เพื่อเตรียมทากิจกรรมกลุ่มในสั อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
  • 9. 9 ปดาห์ที่ 4 4 หน่วยที่3การวิเคราะห์ความต้องการ สารสนเทศ 3 -บรรยาย (PowerPoint) -กิจกรรมกลุ่มในห้องเรียน: กิจกรรมโครงงานกลุ่มชิ้นที่ 1 แบบวิเคราะห์ความต้องการ สารสนเทศ (ฝึกทาโครงเรื่อง) -สั่งงานหน่วยที่4: อ่านเนื้อหาของหน่วยที่4 ใน eClassroom เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา ห์ที่4  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  5 หน่วยที่4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและ ทรัพยากรสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศ(Information Sources) 1.1 ความหมาย 1.2 ประเภท 2. ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) 2.1 ความหมาย 2.2 ประเภท 2.3 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (ReferenceResources) และการเลือกใช้ 3. การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศและทรัพยา กรสารสนเทศ 3 -ถาม-ตอบในห้องเรียน: การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรั พยากรสารสนเทศ -ถาม-ตอบผ่านFacebook: การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรั พยากรสารสนเทศ -สั่งงานหน่วยที่5: อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5 ใน eClassroom เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา ห์ที่6  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  6 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ 1. ความหมาย “ การสืบค้นสารสนเทศ ” 2. ช่องทางการสืบค้น 3. การกาหนดคาสาคัญเพื่อการสืบค้น 4. วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ถาม-ตอบในห้องเรียน: การค้นหาสารสนเทศ (1 -5.1) -สั่งงานหน่วยที่5(ต่อ): อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5ใน eClassroom  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ 
  • 10. 10 5.1 WebOPAC ของสานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา ห์ที่7 7 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ) 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ (ต่อ) 5.2 Google 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ถาม-ตอบในห้องเรียน: การสืบค้นสารสนเทศจาก WWW โดยใช้Google -สั่งงานหน่วยที่5(ต่อ): อ่านเนื้อหาของหน่วยที่5ใน eClassroom เพื่อเตรียมตอบคาถามในสัปดา ห์ที่9  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  8 ไม่มีสอบกลางภาค 9 หน่วยที่5การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ) 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเทศ (ต่อ) 5.3 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases)ที่ห้องสมุดบอกรับ 5.3.1 GrolierOnline (EncyclopediaAmericana) 5.3.2 WileyOnline Library 5.3.3 NEWSCenter 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ถาม-ตอบในห้องเรียน: การสืบค้นสารสนเทศจาก Online Databases - ส่งโครงเรื่อง+บัตรบรรณานุกร มในสัปดาห์ถัดไป  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  10 หน่วยที่6การประเมินคุณค่าสารสนเทศ 3 พูดคุยเกณฑ์การประเมินค่าสาร สนเทศ โดยเฉพาะสารสนเทศเว็บ  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  11 หน่วยที่7 การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ฝึกปฏิบัติ: การจดบันทึกข้อมูล -ส่งการจดบันทึกข้อมูลนอก ห้องเรียน  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  12 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง การนาเสนอสารสนเทศ 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ฝึกปฏิบัติ:  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ 
  • 11. 11 -การเรียบเรียงเนื้อหาและการเขียน รายการอ้างถึง การเรียบเรียงเนื้อหาและการเขีย นรายการอ้างถึง - ส่งเนื้อหา+รายการอ้างอิงนอกห้ องเรียน 13 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ) - การเขียนบรรณานุกรม 3 -บรรยาย (PowerPoint) -ฝึกปฏิบัติ: เขียนบรรณานุกรม - ส่งการพิมพ์บรรณานุกรมนอก ห้องเรียน  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  14 สอบย่อย 3 สอบย่อย  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  15 หน่วยที่8 การเรียบเรียงและการอ้างอิง การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ) -การเข้าเล่มรายงาน - การนาเสนอด้วยการพูด (+เทคนิคการ นาเสนอสารสนเทศ) 3 -ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง -ตรวจงาน  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  16 สรุปทบทวนเนื้อหาและชี้แจงแนวการออก ข้อสอบ 3 -ตรวจงาน -ส่งรายงานภายในสัปดาห์แรก ของการสอบปลายภาค  อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์  17 สอบปลายภาค 2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้
  • 12. 12 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของการ ประเมินผล 1 สอบย่อย (หน่วยที่ 1, 2และ 4) 14 20% 2 สอบปลายภาค 17 30% 3 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึ กษา 5% 4 การแสดงความคิดเห็นและก ารตอบคาถามในชั้นเรียน (ให้เป็นดาว) 2, 3, 5, 6, 7, 9, 10% 5 คะแนนกิจกรรม 2, 4 10% 6 รายงาน (ส่งงานตามขั้นตอนที่กาหน ด) 11, 12, 13, 15, 17 25% หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล. (2555). การรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). Popof BloG. (2550). การรู้สารสนเทศ (Information literacy). สืบค้นเมื่อ12มิถุนายน 2556, จาก http://popofblog.blogspot.com/ รติรัตน์ มหาทรัพย์.(ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเรียบเรียงสารสนเทศและการนาเสนอด้วยการพูด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเขียนรายงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การนาเสนอด้วยการพูด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การสืบค้นสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2556). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
  • 13. 13 ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 7การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 8การเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ศรีอร เจนประภาพงศ์.(2557). เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา). เอกสารประกอบการสอน วิชา 412102 การรู้สารสนเทศ (Information literacy) (พิมพ์ครั้งที่4). (2551). ขอนแก่น: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. AmericanLibraryAssociation. (1996-2013). Information literacycompetencystandardsfor highereducation. RetrievedJune 12, 2013, from http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/standards/informationliteracycompetency.cfm CharteredInstitute of LibraryandInformation Professionals. (2013). Information literacy. Retrieved June 12, 2013, from http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/learning/information-literacy/pages/definition.aspx IL websiteadministrator. (2013). Information literacywebsite. RetrievedJune 12, 2013, from http://www.informationliteracy.org.uk/ University ofIdaho. (2013). Information literacy. RetrievedJune12, 2013, from http://www.webs.uidaho.edu/info_literacy/ University ofWyoming Libraries. (2012). Tutorialfor info power. RetrievedJune12, 2013, from http://tip.uwyo.edu 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ บทเรียน eClassroom วิชา HO101 InformationLiteracy Skills (HO1012/2556) 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา ภาษาไทย จินดารัตน์ เบอรพันธุ์ ). 4422 .( การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารนิเทศ . กรุงเทพฯ :ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. (2547). การค้นคว้าและการเขียนรายงาน ) พิมพ์ครั้งที่ 6(. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดวงกมล อุ่นจิตติ. )2545). รายงานการวิจัยเรื่องการประเมินการรู้สารสนเทศของนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา. น้าทิพย์ วิภาวิน ) . 4422 .( ทักษะการใช้ห้องสมุดยุคใหม่ .กรุงเทพฯ:เอสอาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ . มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ . ) 4422 .( สารนิเทศและการศึกษาค้นคว้า.ชลบุรี: ผู้แต่ง. มาลี จุฑา ). 4422 .( การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ . กรุงเทพฯ :อักษรพิพัฒน์. รติรัตน์ มหาทรัพย์ ). ม . ป . ป .(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องทักษะการรู้สารสนเทศ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย ) . เอกสารอัดสาเนา ( . รติรัตน์ มหาทรัพย์ ). ม . ป . ป .(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องสารสนเทศกับการเรียนรู้.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
  • 14. 14 หอการค้าไทย ) . เอกสารอัดสาเนา .( รติรัตน์ มหาทรัพย์ ). ม . ป . ป .(. เอกสารประกอบการสอนเรื่องแหล่งสารสนเทศและการเลือกใช้. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ) . เอกสารอัดสาเนา .( สมบัติ จาปาเงิน ). 4422 .( เรียนให้เก่งคู่มือแนะนาหลักการเรียนให้ดี สอบให้เด่น.กรุงเทพฯ:ข้าวฟ่าง. สมาน ลอยฟ้ า ). 4422 .( การรู้สารสนเทศ: ทักษะที่จาเป็นสาหรับสังคมสารสนเทศ .วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ม . ขอนแก่น , 91 ) 1 ( : 1-6. สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์ ) . 4422 .( แบบจาลองการรู้สารสนเทศ .บรรณศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ,12(2):57-68. อรุณี มนตรีกุล ณ อยุธยาและคณะ ) 4422 ( .การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด . กรุงเทพฯ : แม็ค. เอกสารประกอบการสอนวิชา 294914 การรู้สารสนเทศ . ) 4441 .( ขอนแก่น :ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาษาอังกฤษ AmericanLibraryAssociation. (2000). Information literacycompetencystandardsfor highereducation. RetrievedOctober1, 2012, from http://www.ala.org/acrl/sites/ala.org.acrl/files/content/standards/standards.pdf Armstrong, A., &Georgas, H. (2006). Usinginteractive technology to teachinformation literacyconceptsto undergraduate students. ReferenceServicesReview,34(4), 491–497. Associationof College andResearchLibraries.(1996-2013). Introduction toinformation literacy. RetrievedJune16, 2013, from http://www.ala.org/acrl/issues/infolit/overview/intro Belkin, N.J., & Vickery, A. (1985). Interaction ininformation systems:Areviewof researchfromdocumentretrievalto knowledge-basedsystems.Boston Spa,UK:British Library. Bundy, A. (2004). Australian and NewZealandinformation literacyframework:Principles, standards, andpractice (2nded.). Adelaide:AustralianandNew ZealandInstitute for Information Literacy. Campbell, S. (2008). Defining information literacyin the 21st century. InJ. Lau(Ed.), Information literacy:International perspectives)pp.17-26(. Munich:K.G. Saur, IFLA. Case,D.O. (2007). Looking for information: Asurveyofresearchoninformation seeking,needs,and behavior. London: Academic Press. Eisenberg,M. (2012). Information alchemy:Transforming dataandinformation into knowledge andwisdom. RetrievedJune 16, 2013, from http://big6.com/pages/posts/information-alchemy-32.php Flanagin, A. J., & Metzger,M. J. (2007). The role ofsite features, userattributes, andinformation verification behaviors on the perceivedcredibility ofweb-basedinformation. NewMedia &Society, 2, 319−342.
  • 15. 15 Gauder,H., &Jenkins, F. (2012). Engaging undergraduatesin discipline-basedresearch.ReferenceServicesReview,40(2),277- 294. Green,R. (2010). Information illiteracy: Examining our assumptions. Journalof AcademicLibrarianship, 36(4), 313-319. Gross, M., & Latham, D. (2007). Attaining information literacy:Aninvestigation ofthe relationship betweenskill level, self- estimates ofskill, andlibrary anxiety. Library &Information ScienceResearch,29(3), 332–353. Horton, F. W., Jr. (2008). Understanding information literacy:A primer. In UNESCO Information for all programme, Information Society Division. Paris:UNESCO. Li, W. (2011). Aninformation literacyintegration model andits application in highereducation. ReferenceServicesReview,39(4), 703 –720. Losee,R.M. (1998). A discipline independent: Definition ofinformation. Journal ofthe AmericanSocietyof Information Science, 48(3), 254– 269. Lowe,M. (2012). Information literacy2011: A selectionof 2011's literature on IL.Codex, 1(4), 46-74. O’Brian, T.,& Russel, P. (2012). TheIrish ‘Working group oninformation literacy’ –Edging towards anational policy. The International Information & Library Review,44, 1-7. Secker,J., Bden, D., & Price,G. (2007). The information literacy cookbook:Ingredients, recipesandtips for success. Oxford: Chandos. Witek, D., & Grettano, T. (2012). Information literacyon Facebook:Ananalysis. ReferenceServicesReview,40(2),242-257. หมวดที่7การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
  • 16. 16 1. การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน นอกห้องเรียน หรือผ่าน Facebook 2. การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน 3. การส่งงานแต่ละชิ้นของรายงานกลุ่ม ซึ่งมีบางงานทาเดี่ยว 4. แบบประเมินผู้สอน 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน 1. การทาแบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย 2. พิจารณาจากผลการสอบของผู้เรียน การนาเสนอรายงาน 3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. การปรับปรุงการสอน 1. การปรับกระบวนการเรียนการสอนให้เหมาะสม 2. การปรับปรุงบทเรียนใน eClassroom แบบฝึกหัด กิจกรรม และรายงานเมื่อสิ้นภาคการศึกษาจากการ ประเมินรายวิชา 3. การพัฒนาเนื้อหาให้เน้นไปในเรื่องกระบวนการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา การให้คณะกรรมการฝ่ายวิชาการของสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาพิจารณาข้อสอบ วิธีการให้คะแนน และผลการ สอบ 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา การปรับปรุงบทเรียน กิจกรรม การทารายงานและข้อสอบทุกภาคการศึกษาตามผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา เพื่อพิจารณาการให้คะแนนและประเมินข้อสอบและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยคณะกรร