SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 81
Descargar para leer sin conexión
จัดทาโดย
       อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
         มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
                   2555
หนังสือรายปี (Yearbooks)
สมพัตสร (Almanacs)
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
ทาเนียบนาม/นามานุกรม (Directories)
หัวข้อบรรยาย:
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบทันที
  (ความหมาย     การประเมินค่า)

2. หนังสือรายปี (ความหมาย & ประโยชน์ ประเภท ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก)
3. สมพัตสร        (ความหมาย & ประโยชน์     ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก)

4. หนังสือคู่มือ (ความหมาย & ประโยชน์       ชื่อเรื่องทีควรรู้จัก)
                                                        ่

5. ทาเนียบนาม (ความหมาย & ประโยชน์ ประเภท ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก)
6. การใช้ Ready-Reference Resources ในการตอบคาถาม
ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบ
        ทันที (Ready-Reference Resources):
* เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง

* ให้สารสนเทศเป็นข้อเท็จจริงสั้นๆ ในเรื่องต่างๆ
* เพื่อใช้ตอบคาถามได้ทันที      ใช้เวลาค้นไม่นาน
* ตัวอย่างเช่น          ใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีล่าสุด (สมพัตสร)
                        จานวนประชากรโลกปัจจุบัน (สมพัตสร)
                        คู่แฝดที่สูงที่สุดในโลกชื่ออะไร สูงเท่าไร (หนังสือคู่มือ)
                        เบอร์โทรศัพท์ศนย์สารสนเทศสตรี (ทาเนียบนาม)
                                          ู
                                          ฯลฯ
ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบ
         ทันที (Ready-Reference Resources): (ต่อ)
* มีการจัดทาให้สะดวก & ง่าย ต่อการค้นหา
     Reference Books:
             เล่มเดียวจบ
             Index ช่วยค้นอย่างละเอียด (อยู่ต้นเล่ม หรือ ท้ายเล่ม)
     Databases:
             วิธีการสืบค้น: 1) Search 2) Browse ---- Categories, Index
             เทคนิคการสืบค้น: (เช่น case insensitivity, phrase search ฯลฯ)
* ในที่นี้หมายถึง:   หนังสือรายปี (Yearbooks)      สมพัตสร (Almanacs)
                     หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
                     ทาเนียบนาม/นามานุกรม (Directories)
ตัวอย่าง Ready-Reference Resources
ตัวอย่างรายงานประจาปี
ธนาคารกรุงเทพฯ ปี2554
ตัวอย่างสมพัตสร
                         (Almanacs)
http://www.infoplease.com/almanacs.html
ตัวอย่าง
                        สมพัตสร
                       (Almanacs)




http://www.infoplease.com/almanacs.html
ตัวอย่าง
                            สมพัตสร
                           (Almanacs)



http://www.infoplease.com/almanacs.html
ตัวอย่างหนังสือคู่มือ(Handbooks)
http://www.guinnessworldrecords.com/
ตัวอย่างทาเนียบนาม




นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย

    http://gphone.prd.go.th/
http://www.oic.go.th/ginfo/   ตัวอย่างทาเนียบนาม
การประเมินคุณค่า:
เน้น
1.     แหล่งที่มาของข้อมูล ระบุ - -โดยเฉพาะข้อมูลสถิติตัวเลข --- หน่วยงานของรัฐ
                                      + บรรณานุกรม (เพื่อการติดตามตรวจสอบต่อไป)
2.     ค้นสารสนเทศได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว
          (Reference Books: ดรรชนี   Databases: วิธีการสืบค้น & เทคนิคการสืบค้น)

3.     ความทันสมัย ต้องมีนโยบายการ Update ข้อมูล (เพราะเนื้อหาต้องทันสมัยอยู่เสมอ)

4.     มีภาพ ตาราง แผนภูมิ ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น
ความหมาย ของ “หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals)”
* เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง
* มีกาหนดออกเป็นรายปี
* ให้สารสนเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา
   เป็นข้อเท็จจริง สถิติ ข่าวสารความเคลื่อนไหว แนวโน้ม ใน
  สาขาวิชา ประเทศ องค์กร/ หน่วยงาน
* เขียนในรูปพรรณนาความ ให้รายละเอียดพอสังเขป
* บางเรื่องให้ข้อมูลย้อนหลัง
ความหมาย ของ “หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals)” (ต่อ)
เช่น
สาขาวิชา: การแพทย์ – การวิจัยวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันรักษาโรคไข้หวัด2009

ประเทศ: สถิติต่างๆ ของไทย,      ปลากัดรักชาติ (สีธงไตรรงค์ 3 สี)
         สถานการณ์การเลือกตั้งของประเทศสหรัฐอเมริกา
หน่วยงาน: รายงานประจาปีของกระทรวงการคลัง
                                         ฯลฯ
ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks)
1.   หนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Annual/Yearbook)
          จัดทาขึนเพื่อปรับปรุงเนื้อหาบางตอนของสารานุกรมให้มีความทันสมัย
                  ้
2.   รายงานประจาปี (Annual Report)
          จัดทาขึนเพื่อรายงานผลการปฏิบติงาน และรายงานความก้าวหน้าของการ
                    ้                    ั
     ดาเนินงานในรอบปีทผ่านมาของหน่วยงานต่างๆ
                             ี่
3.   หนังสือรายปีสรุปข่าวประจาวัน (News Summary)
           มีลักษณะเป็นจดหมายเหตุบนทึกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ
                                      ั
     สังคม โดยรวบรวมจากข่าวปัจจุบัน รวมเป็นปี มีการจัดทาดรรชนีช่วยค้น
4.   สมุดสถิตรายปี (Statistical Yearbook)
                ิ
          เน้นให้ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสถิติของเรื่องราวต่าง ๆ
5.   หนังสือรายปีเฉพาะด้าน (Subject Record)
          ให้รายละเอียดพอสังเขปและสถิติตัวเลขที่แสดงความก้าวหน้าในเรื่องใดเรื่อง
     หนึ่ง หรือเรื่องของประเทศใดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
ให้บอกว่าหนังสือชื่อเรื่องต่อไปนี้เป็นหนังสือรายปีประเภทใด
                                (ดูที่หน้า 127-135)
   1. Britannica Book of the Year
   2. Americana Annual
  3. Europa World Year Book
  4. Statesman’ s Yearbook
   5. สมุดสถิติรายปีประเทศไทย
 6. สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสาร         & เหตุการณ์
 7. Fact on Files:…
8. รายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ และเอกชน        เช่น
       รายงานประจาปี 2554 บริษทการบินไทย (มหาชน) จากัด
                              ั
       รายงานประจาปี 2554 ธนาคารกรุงเทพ จากัด
ประเภทของหนังสือรายปี




(4)
ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks)                                  (ต่อ)
 จาก IS Wiki CMU
  (http://www.human.cmu.ac.th/home/lib/hmjournal/wiki/index.php)
 หนังสือรายปี หรือ อาจเรียกว่ารายปี จัดทาเพื่อรวบรวมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของปีที่ผ่านมา
  และข้อเท็จจริงในด้านต่างๆ เช่น การเมือง สถิติ ชีวประวัติบุคคล องค์การ สมาคม การกีฬา
  นิยมแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
   1. รายปีสารานุกรม จัดทาเสริมเนื้อหาสารานุกรมให้ทันสมัย โดยประมวลเหตุการณ์สาคัญ
  ในรอบปีที่ผ่านมา รวมทั้ง ชีวประวัติบุคคลสาคัญ ปฏิทินข่าวสาคัญของแต่ละเดือน บทความ
  พิเศษเกี่ยวกับเหตุการณ์สาคัญของปีที่ล่วงมาแล้ว ข้อมูลทางสถิติ มีภาพประกอบ ปัจจุบันจะมี
  ข้อมูลเบ็ดเตล็ดคล้ายกับสมพัตสร มีสารบาญละเอียดช่วยค้นหัวข้อต่างๆ จัดเรียงลาดับอักษร
  ตามหัวเรื่อง และดรรชนีท้ายเล่มเหมือนสารานุกรม บางเล่มมีการแจ้งโยงถึงแหล่งข้อมูลบน
  อินเทอร์เน็ต เช่น
         Encyclopedia Americana จัดทา Americana Annual
         Encyclopedia Britannica จัดทา Britannica Book of the Year
ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks)                                    (ต่อ)

2. สมพัตสร (Almanac) จัดทาให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์สาคัญ และลาดับ
  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี รวมทั้งให้ข้อเท็จจริงในด้านต่างๆที่บุคคลทั่วไปควรทราบ เช่น
  การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา กีฬา และข้อเท็จจริงเบ็ดเตล็ด เช่น ภาษา ธงชาติ ตาราง
  น้าหนัก บุคคลสาคัญ วันสาคัญ อัตราไปรษณียกร และเน้นนาเสนอข้อมูลเป็นสถิติ ลักษณะ
  พิเศษ คือ มีข้อมูลย้อนหลังเปรียบเทียบ ข้อเท็จจริงอาจจะซ้้ากันทุกปี แต่จะมีการเพิ่มเติม
  ข้อมูลที่ทันสมัยทุกปี เช่น สยามออลมาแนค Information Please Almanac

3. รายปีสรุปย่อ จัดทาสรุปเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา จากหนังสือพิมพ์
  วารสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ เช่น สยามจดหมายเหตุ Facts on File: World News…
ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks)                                (ต่อ)

 รายปี และสมพัตสรเฉพาะ เช่น
  - McGraw-Hill Yearbook of Science and Technology
  - Old Farmer’s Almanac
  - The World Book Health and Medical Annual

 สมุดสถิติรายปี. กรุงเทพ: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2459- .
  (ออนไลน์: http://portal.nso.go.th/otherWS-world-context-
  root/index.jsp)
  ให้ข้อเท็จจริงของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจทุกด้าน นาเสนอในรูปตารางสถิติ มีแผนภูมิ
  ประกอบ และแจ้งแหล่งที่มาของสถิติ และมีการจัดทา
หนังสือรายปีที่ควรรู้จัก:
ประเด็นที่ต้องรู้ :

                ชื่อเรื่องสาคัญๆ จัดอยู่ในประเภทใด และ
                มีขอบเขตเนื้อหาอะไร
ชื่อเรื่องที่ 1, 2 คือ Britannica Book of the Year และ
                       Americana Annual

* เป็นหนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Annuals)
* Goal เพื่อปรับปรุงเนื้อหาสารานุกรมชุดแม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
* เนื้อหา: 1. บทความใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น & อยู่ในความสนใจ เช่น Hybrid Learning,
                    Global Warming ฯลฯ
           2. ลาดับเหตุการณ์ต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา
           3. ข้อมูลสถิติของประเทศต่าง ๆ เช่น สถิติการเงิน ฯลฯ
           4. รายงานข่าวพิเศษ (บทความพิเศษ) เช่น การเลือกตั้งประธานาธิบดีของ
                    สหรัฐฯ
           5. ไม่มีข้อมูลเชิงทาเนียบนาม.
* จัดเรียงเนื้อหา: ตามลาดับอักษรของเรื่อง มีดรรชนีช่วยค้นเรื่อง
ชื่อเรื่องที่ 3, 4 คือ Europa Yearbook และ Stateman’ s Yearbook
 เป็นหนังสือรายปีทนาเสนอข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวด้านต่างๆ ของประเทศ
                   ี่
  ต่างๆ ทั่วโลก + องค์กรระหว่างประเทศ
 จัดเรียงเนื้อหา = เรียงองค์กรระหว่างประเทศ ---> ชื่อของประเทศต่างๆ
                   (โดยจัดเรียงตามลาดับอักษร)
 เนื้อหาที่พบในแต่ละประเทศ: ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประวัติศาสตร์ รัฐบาล
  การป้องกันประเทศ เศรษฐกิจ สวัสดิการสังคม การศึกษา สถิติต่างๆ (เกษตร
  อุตสาหกรรม การเงิน) ที่อยู่ของหน่วยงานสาคัญๆ ในสังคม ฯลฯ
 เช่น อิรักเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยในปี 2547
          สถิติการส่งออกข้าวของประเทศมาเลเซีย ไทย เวียดนาม
 จัดอยู่ในกลุ่ม “หนังสือรายปีเฉพาะด้าน (Subject Record)”
ชื่อเรื่องที่ 5 คือ สมุดสถิติรายปีประเทศไทย

* เป็นหนังสือรายปี รวบรวมตัวเลขสถิติจากเอกสารทางราชการ & รัฐวิสาหกิจ
* รวมสถิติทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย
* Ex. ประชากร & แรงงาน อุตสาหกรรมการส่งออก การค้ากับต่างประเทศ
      การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงิน & การธนาคาร รายได้ประชาชาติ ฯลฯ
* ให้สาระย่อๆ ก่อนนาเสนอข้อมูลที่เป็นตารางสถิติเปรียบเทียบ & ให้ข้อมูลย้อนหลัง
* มีภาคภาษาอังกฤษ & ภาษาไทยในชื่อเรื่องเดียวกัน
* อาจจัดอยู่ในกลุ่ม “สมุดสถิติรายปี (Statistical Yearbook)”
* ตัวอย่างคาถาม: สถิติแรงงานไทยที่ไปทางานในต่างประเทศ
                    สถิติการทาแท้งของคนไทย             ฯลฯ
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/download/files/ict_household54_pocketbook.pdf
                                                                               จัดทาโดย
                                                                               สานักงาน
                                                                                  สถิติ
                                                                               แห่งชาติ
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/socioImpt54(6).pdf
                                                     จัดทาโดย
                                               สานักงานสถิติแห่งชาติ
http://portal.nso.go.th/otherWS-world-context-root/index.jsp
จัดทาโดย สานักงานสถิติแห่งชาติ
ชื่อเรื่องที่ 6 และ 7 คือ สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสาร & เหตุการณ์,
                           Fact on Files...
 เป็น สรุปข่าว/ เหตุการณ์สาคัญ (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การต่างประเทศ)

 กาหนดออกเป็นรายสัปดาห์ --> รวมเล่มเป็นรายปี ใส่แฟ้มปกแข็ง ทา Index ค้น

 การนาเสนอเนื้อหา = เขียนสรุปสั้นๆ ไม่มีพรรณนาความ ไม่มีการวิจารณ์
 เนื้อหา:
  สยามจดหมายเหตุ: ข่าวสาคัญในประเทศ/ ต่างประเทศ                  ข่าวเศรษฐกิจในประเทศ/
                                  ต่างประเทศ เน้นที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย
  Fact on Files…         เน้นข่าวการเมือง สังคม วัฒนธรรม กีฬา ที่เกิดขึ้นทั่วโลก
 จัดอยู่ในกลุ่ม “หนังสือรายปีสรุปข่าวปัจจุบัน (News Summary)” ทาหน้าที่เป็นจดหมาย
         เหตุ บันทึกเหตุการณ์สาคัญด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
http://siamarchives.com
ชื่อเรื่อง รายงานประจาปี 2554 ของ บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด
           รายงานประจาปี 2554 (ของธนาคารกรุงเทพ จากัด)
* เป็นหนังสือรายปีที่รายงานการดาเนินงาน / สรุปผลงานที่สาคัญ & กิจกรรมต่างๆ ใน
      รอบปีที่ผ่านมาของหน่วยงานนั้นๆ
* จัดอยู่ในกลุ่ม “รายงานประจาปี”
* เนื้อหา = ที่ตั้ง (สานักงานใหญ่ & สาขา) โครงสร้างการบริหารงาน
            คณะกรรมการบริหาร งบประมาณ ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน กิจกรรม
            โครงการ / แผนงานในอนาคต           สถิติต่างๆ ที่แสดงผลประกอบการ ฯลฯ
ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน
การบินไทย = ภาวะอุตสาหกรรมการบินและการแข่งขัน ปัจจัยความเสี่ยง ข้อมูลการเงิน
ธนาคารกรุงเทพฯ = สรุปภาวะเศรษฐกิจไทยในรอบปีที่ผ่านมา ทุนประกอบการ
                           เงินฝาก & สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินลงทุน ...
ความหมาย ของ “สมพัตสร (Almanacs)”
 * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง

 * มีกาหนดออกเป็นรายปี

 * ให้ข้อเท็จจริง (เบ็ดเตล็ดหลายๆ ด้าน) อย่างสั้นๆ + ตัวเลข สถิติต่างๆ
          ในรอบปีที่ผ่านมา & ข้อเท็จจริง + สถิติย้อนหลังหลายๆ ปี
        (ข้อเท็จจริงบางเรื่องอาจซ้า ๆ กันทุกปี แต่จะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นใน
        แต่ละปี) เช่น รายชื่อพร้อมปีค.ศ.ที่ดารงตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ
* ตัวอย่างเช่น
         ลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนของปีหนึ่ง
         ข้อมูลดาราศาสตร์
         วันสาคัญๆ
         ความเคลื่อนไหวในวงการต่างๆ เช่น
           Export-Import การปฏิรูปการศึกษา SME รางวัลต่างๆ ข่าวคนดัง ฯลฯ
         ที่อยู่ขององค์กรต่างๆ (ข้อมูลเชิงทาเนียบนาม)
          สถิติทั่วไป เช่น ประชากรโลก           ผู้นับถือศาสนาต่างๆ
                               การค้าระหว่างประเทศ               ฯลฯ
http://www.infoplease.com/news/year-in-review/2011/world-news.html
ตัวอย่าง
                            สมพัตสร
                           (Almanacs)



http://www.infoplease.com/almanacs.html
* ตัวอย่างคาถามที่ใช้สมพัตสรตอบ:

     - สถิตการส่งออกอัญมณีของประเทศต่างๆ
           ิ
     - จานวนประชากรโลกใหม่ล่าสุดที่มี
     - ใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีปัจจุบน
                                               ั

                                  ฯลฯ
สรุป ความเหมือน & ความแตกต่างของ Yearbooks กับ Almanacs
ความเหมือน: มุ่งเสนอสารสนเทศใหม่ๆ ในรอบปีที่ผ่านมา (บุคคล เหตุการณ์
                 ความก้าวหน้าของวิทยาการ & เรื่องต่างๆ ในสังคม)

ความแตกต่าง:

หนังสือรายปี มุ่งเน้นสารสนเทศเฉพาะปีที่ผ่านมา
สมพัตสร        ให้สารสนเทศปีที่ผ่านมา + สารสนเทศย้อนหลังหลาย ๆ ปี
หนังสือรายปี มุ่งเน้นความรู้สาขาใดหนึ่ง/ประเทศ หรือองค์กรใดหนึ่ง & ให้ข้อมูล
               เชิงพรรณนา
สมพัตสร        ให้ข้อเท็จจริงสั้นๆ & สถิติมากมายหลายด้าน ---> เชิงเบ็ดเตล็ด
สมพัตสรที่ควรรู้จัก:

ประเด็นที่ควรรู้:     ขอบเขตเนื้อหาของแต่ละชื่อเรื่อง

คาสั่ง: ให้สรุปเนื้อหาของสมพัตสร ชื่อเรื่องที่ 1 และ 2 ว่าเหมือนกันอย่างไร?
เนื้อหาของ World Almanac … และ Information Please Almanac เหมือนกัน
ดังนี้
* รวมสารสนเทศเบ็ดเตล็ดทั่วๆ ไปหลายด้าน ที่เป็นเรืองในสังคม
                                                 ่
* เสนอรูปตารางสถิติ + ข้อมูลย้อนหลัง + ข้อมูลเชิงทาเนียบนาม + ลาดับเหตุการณ์
* ไม่ได้เรียงเรื่องตามลาดับอักษร ใช้ Index ช่วยค้น
* เช่น         เนย 1 ช้อนโต๊ะ มีปริมาณแคลอรี เท่าไร
               ชื่อผู้ประดิษฐ์เครื่องฟังหัวใจ
               จานวนประชากรโลกที่นับถือศาสนาพุทธ (ขอข้อมูลปีล่าสุด)
               ชื่อภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลออสการ์ปีล่าสุด
               ชื่อ & ผลงานผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปีล่าสุด ฯลฯ
http://www.worldalmanac.com/world-almanac.aspx
http://www.worldalmanac.com/
http://www.worldalmanac.com/wa-bco-internet-ref.aspx
การใช้หนังสือรายปี และสมพัตสรช่วยในการตอบคาถาม:
 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ หนังสือรายปี หรือสมพัตสรประเภทใด ----->
        ชื่อเรื่องใดตอบ
 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ

 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ
                                   ้

 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้

                             **************
สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากหนังสือรายปี และสมพัตสรใน
        ห้องสมุดเพื่อตอบคาถามที่ผู้ใช้ต้องการ
1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการสรุปผลการดาเนินงานในปีที่ผ่านมาขององค์การ
   สะพานปลา ต้องใช้ รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลาช่วยในการตอบ
2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลา
   เนื่องจากเป็นรายงานประจาปี จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น
                         องค์กรสะพานปลา - - วารสาร
3. เมื่อพบ รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลา ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหา
   หนังสือที่ชั้นหนังสือ
4. ส่งมอบหนังสือให้แก่ผู้ใช้.
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
ความหมาย:
* เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง

* รวบรวมสารสนเทศ & ความรู้เบ็ดเตล็ดในด้านใดด้านหนึ่ง / สาขาใดสาขาหนึ่ง
          เช่น รวมสิ่งแรกครั้งแรกที่เกิดขึ้นในประเทศไทย  สิ่งแรกในเมืองไทย
                 รวมอะไรที่เป็นที่สุด ๆ ของโลก +สถิติเชิงพิสดาร  Guinness World Record

* ใช้ตอบคาถามทันที

* ให้วิธีการทาสิ่งนั้น / ให้คาแนะนาทางปฏิบัติ ---> นาไปใช้ประโยชน์ได้
          เช่น -วิธีการจัดนิทรรศการเคลื่อนที่        -คู่มือการแกะสลักผลไม้
                  -วิธีการเขียนการอ้างถึงและบรรณานุกรม
หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals)
ความหมาย: (ต่อ)
 * ลักษณะเนื้อหา มีความหลากหลาย
    - รวมความรู้เบ็ดเตล็ดเฉพาะด้าน เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์์
            เช่น      Guinness World Records    สิ่งแรกในเมืองไทย ฯลฯ
    - ให้ความรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ เป็นกฎหลักสาคัญ ---> ใช้ได้เลย
            เช่น MLA Handbook for Writers of Research Papers
                    ICTs for Education: A Reference Handbook        ฯลฯ
    - ให้คาแนะนาในทางปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นคาอธิบายขันตอนการทางาน
                                                                ้
            เช่น คู่มือการสะสมแสตมป์             คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ
                                        ฯลฯ
http://www.guinnessworldrecords.com/default.aspx
http://www.guinnessworldrecords.com/default.aspx
ตัวอย่างคาถามที่ค้นได้
ใน Famous First Facts
http://www.bartleby.com/100/
ตัวอย่างอัญพจน์เกี่ยวกับ
   ความดี คุณธรรม
       (goodness)
ตัวอย่างอัญพจน์เกี่ยวกับ
 สงครามและสันติภาพ
    (war and peace)
http://www.quotationspage.com/quotes/Aristotle/

                         ตัวอย่าง Quotation
                          ที่รวบรวม ข้อคิด
                         คาคมจาก Aristotle
https://owl.english.purdue.edu/owl/resource/560/10/
                           ตัวอย่างหนังสือคู่มือ
                            ที่แนะนาการเขียน
                            บรรณานุกรมตาม
                              แบบ APA Style
ประโยชน์ ของ หนังสือคู่มือ:
1. ค้นหาสารสนเทศเฉพาะเรื่องได้สะดวก & รวดเร็ว
      เช่น รถคันยาวที่สุดในโลกยี่ห้ออะไร ฯลฯ
2. ให้ความรู้ที่เป็นหลักสาคัญในวิชาเฉพาะ & นาไปใช้ได้เลย
      เช่น วิธีการเขียนบรรณานุกรมตามแบบ APA Style
               ต้องการสุนทรพจน์ของ George Washington ที่พูดถึงเรื่อง
                        “สงครามและสันติภาพ”        ฯลฯ
3. เป็นคู่มือการปฏิบัติงานด้านใดด้านหนึ่ง
      เช่น คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ ฯลฯ
หนังสือคู่มือที่ควรรู้จัก:

ประเด็นที่ต้องรู้

     ขอบเขตของชื่อเรื่องที่สาคัญ +ลักษณะเด่น
การใช้หนังสือคู่มือช่วยในการตอบคาถาม:
 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ หนังสือคู่มือ ชื่อเรื่องใดตอบ
 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ

 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ
                                   ้

 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้

                             **************
สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากหนังสือคู่มือที่อยู่ในห้องสมุด
1.   พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการรู้ว่าใครเป็นผู้นาการเต้นสิงโตในวันตรุษจีนเข้ามา
     ครั้งแรกในประเทศไทย ต้องใช้ สิ่งแรกในเมืองไทย ซึ่งเป็นหนังสือคู่มือช่วยใน
     การตอบ
2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา สิ่งแรกในเมืองไทย จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น
                                    ความรู้ทั่วไป
                                ไทย - - ประวัตศาสตร์
                                               ิ
3. เมื่อพบ สิ่งแรกในเมืองไทย ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ชั้นหนังสือ

4.   ค้นหาคาตอบให้แก่ผู้ใช้.
ทาเนียบนาม / นามานุกรม (Directories)
ความหมาย:
* เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง
* ให้รายชื่อ + ที่อยู่ + รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 1. บุคคล = ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่งงาน (+ คุณวุฒิ ประสบการณ์)
                   ที่อยู่ + เบอร์โทรศัพท์ + E-mail Address ---> ทาเนียบนามบุคคล
 2. หน่วยงาน/ องค์กร = ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง + เบอร์โทรศัพท์ + เบอร์โทรสาร +
                   E-mail Address + รายละเอียดอื่นๆ (ชื่อผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการ
                   บริหาร หน้าที่ & วัตถุประสงค์การดาเนินงาน ประเภทกิจการ
                   ประเภทสินค้า & บริการ ฯลฯ) ---> ทาเนียบนามสถาบัน
* จัดเรียงเนื้อหา:    1) ตามลาดับอักษร         2) ตามหัวข้อวิชา
ประโยชน์:

1. ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร E-mail Address ที่จะติดต่อกับบุคคล หรือ หน่วยงาน
2. สารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน          เช่น
        ทาเนียบนามคอมพิวเตอร์ = ประเภทสินค้า บริการ
        ทาเนียบนามพิพิธภัณฑ์ = ประวัติ เวลาเปิดทาการ ค่าธรรมเนียมเข้าชม
                                  สิ่งที่รวบรวมไว้
3. ชื่อเต็มของบุคคล หน่วยงาน
4. ตรวจสอบข้อมูลปัจจุบนของบุคคล โดยเฉพาะตาแหน่งงานปัจจุบน
                         ั                                 ั

สรุป เป็นทรัพยากรสารสนเทศ ทีช่วยในการติดต่อสื่อสารด้านต่างๆ กับ บุคคล &
                             ่
              หน่วยงานต่างๆ.
ตัวอย่างทาเนียบนาม

http://phonebook.tot.co.th/pb2011/index.php
นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย

    http://gphone.prd.go.th/
http://gphone.prd.go.th/
https://directory.ku.ac.th/ver2/index.php
http://www.oic.go.th/ginfo/
ประเภท:
1.   Local Directories ทาเนียบนามท้องถิ่น
2.   Governmental Directories ทาเนียบนามของรัฐ
3.   Institutional Directories ทาเนียบนามสถาบัน
4.   Professional Association Directories ทาเนียบนามสมาคมวิชาชีพ
5.   Trade & Business Directories ทาเนียบนามธุรกิจและการค้า
ประเภท:
1. Local Directories ทาเนียบนามท้องถิ่น
       ชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ในท้องถินนั้นๆ + Address
                                      ่
       เช่น สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์: เขตนครหลวง

2. Governmental Directories ทาเนียบนามของรัฐ
       * ชื่อหน่วยงานรัฐ + องค์กรระหว่างประเทศ     + Address    ฯลฯ
               เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย
       * ชื่อบุคคล เช่น       ทาเนียบผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทย
       * จัดทาโดย         - หน่วยงานของรัฐ เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย
                          - เอกชน เช่น World Wide Government Directory
3. Institutional Directories ทาเนียบนามสถาบัน
       ชื่อสถาบันต่าง ๆ (เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ห้องสมุด ฯลฯ) ไม่จากัดท้องถิ่น
       เช่น Directory of Libraries and Library Training

4. Professional Association Directories ทาเนียบนามสมาคมวิชาชีพ
       ชื่อองค์กร + ชื่อสมาชิกของสมาคมวิชาชีพนั้นๆ + Address         ฯลฯ
       เช่น Encyclopedia of Associations

5. Trade & Business Directories ทาเนียบนามธุรกิจและการค้า
       ชื่อองค์กรธุรกิจ + Address ฯลฯ
       เช่น Thailand Showcase
ทาเนียบนามที่ควรรู้จัก:

ประเด็นที่ต้องรู:
                ้
       - ทาเนียบนามชื่อเรื่องนั้นเป็นทาเนียบนามประเภทใด
       - ทาเนียบนามชื่อเรื่องนั้นมีขอบเขตเนื้อหาอย่างไร
การใช้ทาเนียบนามช่วยในการตอบคาถาม:
 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ ทาเนียบนาม ชื่อเรื่องใดตอบ
 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ

 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ
                                   ้

 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้

                             **************
สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากทาเนียบนามในห้องสมุด
1.   พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการรู้ชื่ออธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ พร้อม
     หมายเลขโทรศัพท์ ต้องใช้ นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย ซึ่งเป็นทาเนียบนาม
     ช่วยในการตอบ
2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น
                                  ทาเนียบนาม
                           ส่วนราชการ - - ทาเนียบนาม
3. เมื่อพบ นามสงเคราะห์ส่วนราชไทย ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ห้อง
   อ้างอิง
4.   ค้นหาคาตอบให้แก่ผู้ใช้.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59Supaporn Khiewwan
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบluufee
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
Related literature
Related literatureRelated literature
Related literatureiamthesisTH
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือwat_pun
 

La actualidad más candente (20)

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Printed Meterial
Printed MeterialPrinted Meterial
Printed Meterial
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Related literature
Related literatureRelated literature
Related literature
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 

Similar a ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)

การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยDuangdenSandee
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometricsการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ BibliometricsBoonlert Aroonpiboon
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Completeคู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source CompleteAkarimA SoommarT
 
Acs journals 2014
Acs journals 2014Acs journals 2014
Acs journals 2014maethaya
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfssuser3892ca
 

Similar a ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources) (20)

การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometricsการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics
การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
Lesson4 refer22
Lesson4 refer22Lesson4 refer22
Lesson4 refer22
 
Bibliometrics
BibliometricsBibliometrics
Bibliometrics
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Stat
StatStat
Stat
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
Vancouver2011
Vancouver2011Vancouver2011
Vancouver2011
 
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Completeคู่มือการใช้ฐานข้อมูล  Business Source Complete
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล Business Source Complete
 
Acs journals 2014
Acs journals 2014Acs journals 2014
Acs journals 2014
 
Digital Archives Management
Digital Archives ManagementDigital Archives Management
Digital Archives Management
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 

Más de Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 

Más de Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 

ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)

  • 1. จัดทาโดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2555
  • 2. หนังสือรายปี (Yearbooks) สมพัตสร (Almanacs) หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals) ทาเนียบนาม/นามานุกรม (Directories)
  • 3. หัวข้อบรรยาย: 1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบทันที (ความหมาย การประเมินค่า) 2. หนังสือรายปี (ความหมาย & ประโยชน์ ประเภท ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก) 3. สมพัตสร (ความหมาย & ประโยชน์ ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก) 4. หนังสือคู่มือ (ความหมาย & ประโยชน์ ชื่อเรื่องทีควรรู้จัก) ่ 5. ทาเนียบนาม (ความหมาย & ประโยชน์ ประเภท ชื่อเรื่องที่ควรรู้จัก) 6. การใช้ Ready-Reference Resources ในการตอบคาถาม
  • 4. ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบ ทันที (Ready-Reference Resources): * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง * ให้สารสนเทศเป็นข้อเท็จจริงสั้นๆ ในเรื่องต่างๆ * เพื่อใช้ตอบคาถามได้ทันที ใช้เวลาค้นไม่นาน * ตัวอย่างเช่น ใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีล่าสุด (สมพัตสร) จานวนประชากรโลกปัจจุบัน (สมพัตสร) คู่แฝดที่สูงที่สุดในโลกชื่ออะไร สูงเท่าไร (หนังสือคู่มือ) เบอร์โทรศัพท์ศนย์สารสนเทศสตรี (ทาเนียบนาม) ู ฯลฯ
  • 5. ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คาตอบ ทันที (Ready-Reference Resources): (ต่อ) * มีการจัดทาให้สะดวก & ง่าย ต่อการค้นหา Reference Books: เล่มเดียวจบ Index ช่วยค้นอย่างละเอียด (อยู่ต้นเล่ม หรือ ท้ายเล่ม) Databases: วิธีการสืบค้น: 1) Search 2) Browse ---- Categories, Index เทคนิคการสืบค้น: (เช่น case insensitivity, phrase search ฯลฯ) * ในที่นี้หมายถึง: หนังสือรายปี (Yearbooks) สมพัตสร (Almanacs) หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals) ทาเนียบนาม/นามานุกรม (Directories)
  • 8.
  • 9.
  • 10. ตัวอย่างสมพัตสร (Almanacs) http://www.infoplease.com/almanacs.html
  • 11. ตัวอย่าง สมพัตสร (Almanacs) http://www.infoplease.com/almanacs.html
  • 12. ตัวอย่าง สมพัตสร (Almanacs) http://www.infoplease.com/almanacs.html
  • 15. http://www.oic.go.th/ginfo/ ตัวอย่างทาเนียบนาม
  • 16. การประเมินคุณค่า: เน้น 1. แหล่งที่มาของข้อมูล ระบุ - -โดยเฉพาะข้อมูลสถิติตัวเลข --- หน่วยงานของรัฐ + บรรณานุกรม (เพื่อการติดตามตรวจสอบต่อไป) 2. ค้นสารสนเทศได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว (Reference Books: ดรรชนี Databases: วิธีการสืบค้น & เทคนิคการสืบค้น) 3. ความทันสมัย ต้องมีนโยบายการ Update ข้อมูล (เพราะเนื้อหาต้องทันสมัยอยู่เสมอ) 4. มีภาพ ตาราง แผนภูมิ ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น
  • 17. ความหมาย ของ “หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals)” * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง * มีกาหนดออกเป็นรายปี * ให้สารสนเทศใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา เป็นข้อเท็จจริง สถิติ ข่าวสารความเคลื่อนไหว แนวโน้ม ใน สาขาวิชา ประเทศ องค์กร/ หน่วยงาน * เขียนในรูปพรรณนาความ ให้รายละเอียดพอสังเขป * บางเรื่องให้ข้อมูลย้อนหลัง
  • 18. ความหมาย ของ “หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals)” (ต่อ) เช่น สาขาวิชา: การแพทย์ – การวิจัยวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันรักษาโรคไข้หวัด2009 ประเทศ: สถิติต่างๆ ของไทย, ปลากัดรักชาติ (สีธงไตรรงค์ 3 สี) สถานการณ์การเลือกตั้งของประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงาน: รายงานประจาปีของกระทรวงการคลัง ฯลฯ
  • 19. ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks) 1. หนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Annual/Yearbook) จัดทาขึนเพื่อปรับปรุงเนื้อหาบางตอนของสารานุกรมให้มีความทันสมัย ้ 2. รายงานประจาปี (Annual Report) จัดทาขึนเพื่อรายงานผลการปฏิบติงาน และรายงานความก้าวหน้าของการ ้ ั ดาเนินงานในรอบปีทผ่านมาของหน่วยงานต่างๆ ี่ 3. หนังสือรายปีสรุปข่าวประจาวัน (News Summary) มีลักษณะเป็นจดหมายเหตุบนทึกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ ั สังคม โดยรวบรวมจากข่าวปัจจุบัน รวมเป็นปี มีการจัดทาดรรชนีช่วยค้น 4. สมุดสถิตรายปี (Statistical Yearbook) ิ เน้นให้ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสถิติของเรื่องราวต่าง ๆ 5. หนังสือรายปีเฉพาะด้าน (Subject Record) ให้รายละเอียดพอสังเขปและสถิติตัวเลขที่แสดงความก้าวหน้าในเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง หรือเรื่องของประเทศใดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
  • 20. ให้บอกว่าหนังสือชื่อเรื่องต่อไปนี้เป็นหนังสือรายปีประเภทใด (ดูที่หน้า 127-135) 1. Britannica Book of the Year 2. Americana Annual 3. Europa World Year Book 4. Statesman’ s Yearbook 5. สมุดสถิติรายปีประเทศไทย 6. สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสาร & เหตุการณ์ 7. Fact on Files:… 8. รายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ และเอกชน เช่น รายงานประจาปี 2554 บริษทการบินไทย (มหาชน) จากัด ั รายงานประจาปี 2554 ธนาคารกรุงเทพ จากัด
  • 21.
  • 23. ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks) (ต่อ)  จาก IS Wiki CMU (http://www.human.cmu.ac.th/home/lib/hmjournal/wiki/index.php)  หนังสือรายปี หรือ อาจเรียกว่ารายปี จัดทาเพื่อรวบรวมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของปีที่ผ่านมา และข้อเท็จจริงในด้านต่างๆ เช่น การเมือง สถิติ ชีวประวัติบุคคล องค์การ สมาคม การกีฬา นิยมแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. รายปีสารานุกรม จัดทาเสริมเนื้อหาสารานุกรมให้ทันสมัย โดยประมวลเหตุการณ์สาคัญ ในรอบปีที่ผ่านมา รวมทั้ง ชีวประวัติบุคคลสาคัญ ปฏิทินข่าวสาคัญของแต่ละเดือน บทความ พิเศษเกี่ยวกับเหตุการณ์สาคัญของปีที่ล่วงมาแล้ว ข้อมูลทางสถิติ มีภาพประกอบ ปัจจุบันจะมี ข้อมูลเบ็ดเตล็ดคล้ายกับสมพัตสร มีสารบาญละเอียดช่วยค้นหัวข้อต่างๆ จัดเรียงลาดับอักษร ตามหัวเรื่อง และดรรชนีท้ายเล่มเหมือนสารานุกรม บางเล่มมีการแจ้งโยงถึงแหล่งข้อมูลบน อินเทอร์เน็ต เช่น Encyclopedia Americana จัดทา Americana Annual Encyclopedia Britannica จัดทา Britannica Book of the Year
  • 24. ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks) (ต่อ) 2. สมพัตสร (Almanac) จัดทาให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์สาคัญ และลาดับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี รวมทั้งให้ข้อเท็จจริงในด้านต่างๆที่บุคคลทั่วไปควรทราบ เช่น การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา กีฬา และข้อเท็จจริงเบ็ดเตล็ด เช่น ภาษา ธงชาติ ตาราง น้าหนัก บุคคลสาคัญ วันสาคัญ อัตราไปรษณียกร และเน้นนาเสนอข้อมูลเป็นสถิติ ลักษณะ พิเศษ คือ มีข้อมูลย้อนหลังเปรียบเทียบ ข้อเท็จจริงอาจจะซ้้ากันทุกปี แต่จะมีการเพิ่มเติม ข้อมูลที่ทันสมัยทุกปี เช่น สยามออลมาแนค Information Please Almanac 3. รายปีสรุปย่อ จัดทาสรุปเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา จากหนังสือพิมพ์ วารสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ เช่น สยามจดหมายเหตุ Facts on File: World News…
  • 25. ประเภทหนังสือรายปี (Yearbooks) (ต่อ)  รายปี และสมพัตสรเฉพาะ เช่น - McGraw-Hill Yearbook of Science and Technology - Old Farmer’s Almanac - The World Book Health and Medical Annual  สมุดสถิติรายปี. กรุงเทพ: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2459- . (ออนไลน์: http://portal.nso.go.th/otherWS-world-context- root/index.jsp) ให้ข้อเท็จจริงของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจทุกด้าน นาเสนอในรูปตารางสถิติ มีแผนภูมิ ประกอบ และแจ้งแหล่งที่มาของสถิติ และมีการจัดทา
  • 26. หนังสือรายปีที่ควรรู้จัก: ประเด็นที่ต้องรู้ : ชื่อเรื่องสาคัญๆ จัดอยู่ในประเภทใด และ มีขอบเขตเนื้อหาอะไร
  • 27. ชื่อเรื่องที่ 1, 2 คือ Britannica Book of the Year และ Americana Annual * เป็นหนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Annuals) * Goal เพื่อปรับปรุงเนื้อหาสารานุกรมชุดแม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ * เนื้อหา: 1. บทความใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น & อยู่ในความสนใจ เช่น Hybrid Learning, Global Warming ฯลฯ 2. ลาดับเหตุการณ์ต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา 3. ข้อมูลสถิติของประเทศต่าง ๆ เช่น สถิติการเงิน ฯลฯ 4. รายงานข่าวพิเศษ (บทความพิเศษ) เช่น การเลือกตั้งประธานาธิบดีของ สหรัฐฯ 5. ไม่มีข้อมูลเชิงทาเนียบนาม. * จัดเรียงเนื้อหา: ตามลาดับอักษรของเรื่อง มีดรรชนีช่วยค้นเรื่อง
  • 28. ชื่อเรื่องที่ 3, 4 คือ Europa Yearbook และ Stateman’ s Yearbook  เป็นหนังสือรายปีทนาเสนอข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวด้านต่างๆ ของประเทศ ี่ ต่างๆ ทั่วโลก + องค์กรระหว่างประเทศ  จัดเรียงเนื้อหา = เรียงองค์กรระหว่างประเทศ ---> ชื่อของประเทศต่างๆ (โดยจัดเรียงตามลาดับอักษร)  เนื้อหาที่พบในแต่ละประเทศ: ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประวัติศาสตร์ รัฐบาล การป้องกันประเทศ เศรษฐกิจ สวัสดิการสังคม การศึกษา สถิติต่างๆ (เกษตร อุตสาหกรรม การเงิน) ที่อยู่ของหน่วยงานสาคัญๆ ในสังคม ฯลฯ  เช่น อิรักเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยในปี 2547 สถิติการส่งออกข้าวของประเทศมาเลเซีย ไทย เวียดนาม  จัดอยู่ในกลุ่ม “หนังสือรายปีเฉพาะด้าน (Subject Record)”
  • 29. ชื่อเรื่องที่ 5 คือ สมุดสถิติรายปีประเทศไทย * เป็นหนังสือรายปี รวบรวมตัวเลขสถิติจากเอกสารทางราชการ & รัฐวิสาหกิจ * รวมสถิติทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย * Ex. ประชากร & แรงงาน อุตสาหกรรมการส่งออก การค้ากับต่างประเทศ การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงิน & การธนาคาร รายได้ประชาชาติ ฯลฯ * ให้สาระย่อๆ ก่อนนาเสนอข้อมูลที่เป็นตารางสถิติเปรียบเทียบ & ให้ข้อมูลย้อนหลัง * มีภาคภาษาอังกฤษ & ภาษาไทยในชื่อเรื่องเดียวกัน * อาจจัดอยู่ในกลุ่ม “สมุดสถิติรายปี (Statistical Yearbook)” * ตัวอย่างคาถาม: สถิติแรงงานไทยที่ไปทางานในต่างประเทศ สถิติการทาแท้งของคนไทย ฯลฯ
  • 30. http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/download/files/ict_household54_pocketbook.pdf จัดทาโดย สานักงาน สถิติ แห่งชาติ
  • 31. http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/socioImpt54(6).pdf จัดทาโดย สานักงานสถิติแห่งชาติ
  • 33. ชื่อเรื่องที่ 6 และ 7 คือ สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสาร & เหตุการณ์, Fact on Files...  เป็น สรุปข่าว/ เหตุการณ์สาคัญ (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การต่างประเทศ)  กาหนดออกเป็นรายสัปดาห์ --> รวมเล่มเป็นรายปี ใส่แฟ้มปกแข็ง ทา Index ค้น  การนาเสนอเนื้อหา = เขียนสรุปสั้นๆ ไม่มีพรรณนาความ ไม่มีการวิจารณ์  เนื้อหา: สยามจดหมายเหตุ: ข่าวสาคัญในประเทศ/ ต่างประเทศ ข่าวเศรษฐกิจในประเทศ/ ต่างประเทศ เน้นที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย Fact on Files… เน้นข่าวการเมือง สังคม วัฒนธรรม กีฬา ที่เกิดขึ้นทั่วโลก  จัดอยู่ในกลุ่ม “หนังสือรายปีสรุปข่าวปัจจุบัน (News Summary)” ทาหน้าที่เป็นจดหมาย เหตุ บันทึกเหตุการณ์สาคัญด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
  • 35. ชื่อเรื่อง รายงานประจาปี 2554 ของ บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด รายงานประจาปี 2554 (ของธนาคารกรุงเทพ จากัด) * เป็นหนังสือรายปีที่รายงานการดาเนินงาน / สรุปผลงานที่สาคัญ & กิจกรรมต่างๆ ใน รอบปีที่ผ่านมาของหน่วยงานนั้นๆ * จัดอยู่ในกลุ่ม “รายงานประจาปี” * เนื้อหา = ที่ตั้ง (สานักงานใหญ่ & สาขา) โครงสร้างการบริหารงาน คณะกรรมการบริหาร งบประมาณ ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน กิจกรรม โครงการ / แผนงานในอนาคต สถิติต่างๆ ที่แสดงผลประกอบการ ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงาน การบินไทย = ภาวะอุตสาหกรรมการบินและการแข่งขัน ปัจจัยความเสี่ยง ข้อมูลการเงิน ธนาคารกรุงเทพฯ = สรุปภาวะเศรษฐกิจไทยในรอบปีที่ผ่านมา ทุนประกอบการ เงินฝาก & สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินลงทุน ...
  • 36. ความหมาย ของ “สมพัตสร (Almanacs)” * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง * มีกาหนดออกเป็นรายปี * ให้ข้อเท็จจริง (เบ็ดเตล็ดหลายๆ ด้าน) อย่างสั้นๆ + ตัวเลข สถิติต่างๆ ในรอบปีที่ผ่านมา & ข้อเท็จจริง + สถิติย้อนหลังหลายๆ ปี (ข้อเท็จจริงบางเรื่องอาจซ้า ๆ กันทุกปี แต่จะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นใน แต่ละปี) เช่น รายชื่อพร้อมปีค.ศ.ที่ดารงตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ
  • 37.
  • 38. * ตัวอย่างเช่น ลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนของปีหนึ่ง ข้อมูลดาราศาสตร์ วันสาคัญๆ ความเคลื่อนไหวในวงการต่างๆ เช่น Export-Import การปฏิรูปการศึกษา SME รางวัลต่างๆ ข่าวคนดัง ฯลฯ ที่อยู่ขององค์กรต่างๆ (ข้อมูลเชิงทาเนียบนาม) สถิติทั่วไป เช่น ประชากรโลก ผู้นับถือศาสนาต่างๆ การค้าระหว่างประเทศ ฯลฯ
  • 40.
  • 41. ตัวอย่าง สมพัตสร (Almanacs) http://www.infoplease.com/almanacs.html
  • 42. * ตัวอย่างคาถามที่ใช้สมพัตสรตอบ: - สถิตการส่งออกอัญมณีของประเทศต่างๆ ิ - จานวนประชากรโลกใหม่ล่าสุดที่มี - ใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีปัจจุบน ั ฯลฯ
  • 43. สรุป ความเหมือน & ความแตกต่างของ Yearbooks กับ Almanacs ความเหมือน: มุ่งเสนอสารสนเทศใหม่ๆ ในรอบปีที่ผ่านมา (บุคคล เหตุการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการ & เรื่องต่างๆ ในสังคม) ความแตกต่าง: หนังสือรายปี มุ่งเน้นสารสนเทศเฉพาะปีที่ผ่านมา สมพัตสร ให้สารสนเทศปีที่ผ่านมา + สารสนเทศย้อนหลังหลาย ๆ ปี หนังสือรายปี มุ่งเน้นความรู้สาขาใดหนึ่ง/ประเทศ หรือองค์กรใดหนึ่ง & ให้ข้อมูล เชิงพรรณนา สมพัตสร ให้ข้อเท็จจริงสั้นๆ & สถิติมากมายหลายด้าน ---> เชิงเบ็ดเตล็ด
  • 44. สมพัตสรที่ควรรู้จัก: ประเด็นที่ควรรู้: ขอบเขตเนื้อหาของแต่ละชื่อเรื่อง คาสั่ง: ให้สรุปเนื้อหาของสมพัตสร ชื่อเรื่องที่ 1 และ 2 ว่าเหมือนกันอย่างไร?
  • 45. เนื้อหาของ World Almanac … และ Information Please Almanac เหมือนกัน ดังนี้ * รวมสารสนเทศเบ็ดเตล็ดทั่วๆ ไปหลายด้าน ที่เป็นเรืองในสังคม ่ * เสนอรูปตารางสถิติ + ข้อมูลย้อนหลัง + ข้อมูลเชิงทาเนียบนาม + ลาดับเหตุการณ์ * ไม่ได้เรียงเรื่องตามลาดับอักษร ใช้ Index ช่วยค้น * เช่น เนย 1 ช้อนโต๊ะ มีปริมาณแคลอรี เท่าไร ชื่อผู้ประดิษฐ์เครื่องฟังหัวใจ จานวนประชากรโลกที่นับถือศาสนาพุทธ (ขอข้อมูลปีล่าสุด) ชื่อภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลออสการ์ปีล่าสุด ชื่อ & ผลงานผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปีล่าสุด ฯลฯ
  • 49. การใช้หนังสือรายปี และสมพัตสรช่วยในการตอบคาถาม: 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ หนังสือรายปี หรือสมพัตสรประเภทใด -----> ชื่อเรื่องใดตอบ 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ ้ 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้ **************
  • 50. สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากหนังสือรายปี และสมพัตสรใน ห้องสมุดเพื่อตอบคาถามที่ผู้ใช้ต้องการ 1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการสรุปผลการดาเนินงานในปีที่ผ่านมาขององค์การ สะพานปลา ต้องใช้ รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลาช่วยในการตอบ 2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลา เนื่องจากเป็นรายงานประจาปี จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น องค์กรสะพานปลา - - วารสาร 3. เมื่อพบ รายงานประจาปีขององค์การสะพานปลา ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหา หนังสือที่ชั้นหนังสือ 4. ส่งมอบหนังสือให้แก่ผู้ใช้.
  • 51. หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals) ความหมาย: * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง * รวบรวมสารสนเทศ & ความรู้เบ็ดเตล็ดในด้านใดด้านหนึ่ง / สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น รวมสิ่งแรกครั้งแรกที่เกิดขึ้นในประเทศไทย  สิ่งแรกในเมืองไทย รวมอะไรที่เป็นที่สุด ๆ ของโลก +สถิติเชิงพิสดาร  Guinness World Record * ใช้ตอบคาถามทันที * ให้วิธีการทาสิ่งนั้น / ให้คาแนะนาทางปฏิบัติ ---> นาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น -วิธีการจัดนิทรรศการเคลื่อนที่ -คู่มือการแกะสลักผลไม้ -วิธีการเขียนการอ้างถึงและบรรณานุกรม
  • 52. หนังสือคู่มือ (Handbooks, Manuals) ความหมาย: (ต่อ) * ลักษณะเนื้อหา มีความหลากหลาย - รวมความรู้เบ็ดเตล็ดเฉพาะด้าน เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์์ เช่น Guinness World Records สิ่งแรกในเมืองไทย ฯลฯ - ให้ความรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ เป็นกฎหลักสาคัญ ---> ใช้ได้เลย เช่น MLA Handbook for Writers of Research Papers ICTs for Education: A Reference Handbook ฯลฯ - ให้คาแนะนาในทางปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นคาอธิบายขันตอนการทางาน ้ เช่น คู่มือการสะสมแสตมป์ คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ ฯลฯ
  • 55.
  • 58. ตัวอย่างอัญพจน์เกี่ยวกับ ความดี คุณธรรม (goodness)
  • 60. http://www.quotationspage.com/quotes/Aristotle/ ตัวอย่าง Quotation ที่รวบรวม ข้อคิด คาคมจาก Aristotle
  • 61. https://owl.english.purdue.edu/owl/resource/560/10/ ตัวอย่างหนังสือคู่มือ ที่แนะนาการเขียน บรรณานุกรมตาม แบบ APA Style
  • 62. ประโยชน์ ของ หนังสือคู่มือ: 1. ค้นหาสารสนเทศเฉพาะเรื่องได้สะดวก & รวดเร็ว เช่น รถคันยาวที่สุดในโลกยี่ห้ออะไร ฯลฯ 2. ให้ความรู้ที่เป็นหลักสาคัญในวิชาเฉพาะ & นาไปใช้ได้เลย เช่น วิธีการเขียนบรรณานุกรมตามแบบ APA Style ต้องการสุนทรพจน์ของ George Washington ที่พูดถึงเรื่อง “สงครามและสันติภาพ” ฯลฯ 3. เป็นคู่มือการปฏิบัติงานด้านใดด้านหนึ่ง เช่น คู่มือตกแต่งป้ายนิเทศด้วยกระดาษ ฯลฯ
  • 63. หนังสือคู่มือที่ควรรู้จัก: ประเด็นที่ต้องรู้ ขอบเขตของชื่อเรื่องที่สาคัญ +ลักษณะเด่น
  • 64. การใช้หนังสือคู่มือช่วยในการตอบคาถาม: 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ หนังสือคู่มือ ชื่อเรื่องใดตอบ 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ ้ 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้ **************
  • 65. สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากหนังสือคู่มือที่อยู่ในห้องสมุด 1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการรู้ว่าใครเป็นผู้นาการเต้นสิงโตในวันตรุษจีนเข้ามา ครั้งแรกในประเทศไทย ต้องใช้ สิ่งแรกในเมืองไทย ซึ่งเป็นหนังสือคู่มือช่วยใน การตอบ 2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา สิ่งแรกในเมืองไทย จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น ความรู้ทั่วไป ไทย - - ประวัตศาสตร์ ิ 3. เมื่อพบ สิ่งแรกในเมืองไทย ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ชั้นหนังสือ 4. ค้นหาคาตอบให้แก่ผู้ใช้.
  • 66. ทาเนียบนาม / นามานุกรม (Directories) ความหมาย: * เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงประเภทหนึ่ง * ให้รายชื่อ + ที่อยู่ + รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. บุคคล = ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่งงาน (+ คุณวุฒิ ประสบการณ์) ที่อยู่ + เบอร์โทรศัพท์ + E-mail Address ---> ทาเนียบนามบุคคล 2. หน่วยงาน/ องค์กร = ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง + เบอร์โทรศัพท์ + เบอร์โทรสาร + E-mail Address + รายละเอียดอื่นๆ (ชื่อผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการ บริหาร หน้าที่ & วัตถุประสงค์การดาเนินงาน ประเภทกิจการ ประเภทสินค้า & บริการ ฯลฯ) ---> ทาเนียบนามสถาบัน * จัดเรียงเนื้อหา: 1) ตามลาดับอักษร 2) ตามหัวข้อวิชา
  • 67. ประโยชน์: 1. ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร E-mail Address ที่จะติดต่อกับบุคคล หรือ หน่วยงาน 2. สารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน เช่น ทาเนียบนามคอมพิวเตอร์ = ประเภทสินค้า บริการ ทาเนียบนามพิพิธภัณฑ์ = ประวัติ เวลาเปิดทาการ ค่าธรรมเนียมเข้าชม สิ่งที่รวบรวมไว้ 3. ชื่อเต็มของบุคคล หน่วยงาน 4. ตรวจสอบข้อมูลปัจจุบนของบุคคล โดยเฉพาะตาแหน่งงานปัจจุบน ั ั สรุป เป็นทรัพยากรสารสนเทศ ทีช่วยในการติดต่อสื่อสารด้านต่างๆ กับ บุคคล & ่ หน่วยงานต่างๆ.
  • 69.
  • 73.
  • 75.
  • 76. ประเภท: 1. Local Directories ทาเนียบนามท้องถิ่น 2. Governmental Directories ทาเนียบนามของรัฐ 3. Institutional Directories ทาเนียบนามสถาบัน 4. Professional Association Directories ทาเนียบนามสมาคมวิชาชีพ 5. Trade & Business Directories ทาเนียบนามธุรกิจและการค้า
  • 77. ประเภท: 1. Local Directories ทาเนียบนามท้องถิ่น ชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ในท้องถินนั้นๆ + Address ่ เช่น สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์: เขตนครหลวง 2. Governmental Directories ทาเนียบนามของรัฐ * ชื่อหน่วยงานรัฐ + องค์กรระหว่างประเทศ + Address ฯลฯ เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย * ชื่อบุคคล เช่น ทาเนียบผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทย * จัดทาโดย - หน่วยงานของรัฐ เช่น นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย - เอกชน เช่น World Wide Government Directory
  • 78. 3. Institutional Directories ทาเนียบนามสถาบัน ชื่อสถาบันต่าง ๆ (เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ห้องสมุด ฯลฯ) ไม่จากัดท้องถิ่น เช่น Directory of Libraries and Library Training 4. Professional Association Directories ทาเนียบนามสมาคมวิชาชีพ ชื่อองค์กร + ชื่อสมาชิกของสมาคมวิชาชีพนั้นๆ + Address ฯลฯ เช่น Encyclopedia of Associations 5. Trade & Business Directories ทาเนียบนามธุรกิจและการค้า ชื่อองค์กรธุรกิจ + Address ฯลฯ เช่น Thailand Showcase
  • 79. ทาเนียบนามที่ควรรู้จัก: ประเด็นที่ต้องรู: ้ - ทาเนียบนามชื่อเรื่องนั้นเป็นทาเนียบนามประเภทใด - ทาเนียบนามชื่อเรื่องนั้นมีขอบเขตเนื้อหาอย่างไร
  • 80. การใช้ทาเนียบนามช่วยในการตอบคาถาม: 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้ ทาเนียบนาม ชื่อเรื่องใดตอบ 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือคาสาคัญ เพื่อค้นหาชื่อเรื่องต้องการ 3. จดเลขเรียกหนังสือชื่อเรื่องที่ตองการ แล้วค้นหาตัวเล่มที่ชั้นหนังสือ ้ 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้ **************
  • 81. สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากทาเนียบนามในห้องสมุด 1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการรู้ชื่ออธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ พร้อม หมายเลขโทรศัพท์ ต้องใช้ นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย ซึ่งเป็นทาเนียบนาม ช่วยในการตอบ 2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา นามสงเคราะห์ส่วนราชการไทย จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น ทาเนียบนาม ส่วนราชการ - - ทาเนียบนาม 3. เมื่อพบ นามสงเคราะห์ส่วนราชไทย ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ห้อง อ้างอิง 4. ค้นหาคาตอบให้แก่ผู้ใช้.