SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
พุทธฤทธิ์ชินบัญชรและคำสอนสมเด็จโต
บรรณาธิการ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : จิระพัฒน์ ยังโป้ย 
ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา รูปเล่ม/จัดอาร์ต : จิระพัฒน์ ยังโป้ย


สุภาพ หอมจิตร (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.)
รวบรวมเรียบเรียง
หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาทุกขอ
สามารถนำมาประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน
เพื่อพัฒนาตนใหเปนคนสมบูรณ์แบบได นั่นคือ
การเขาถึงเหตุผลโดยใชปญญา
ความเพียรพยายาม ทำใหสำเร็จอย่างจริงจัง
พึ่งตนเองไดโดยไม่ตองรองขอจากคนอื่น
สังคมมนุษยยุคปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก
จนเกินกวาที่จะปรับตัวทัน ทั้งนี้เกิดจากตัวเราเอง สังคม และ
สิ่งแวดลอมที่สูญเสียความสมดุลในการอยูรวมกัน ชองวางทาง
สังคมเกิดขึ้นมากมาย รวมทั้งปญหาตางๆ ในหลายดาน เชน
อาชญากรรม ยาเสพติด โรคระบาด สิ่งแวดลอมเปนพิษ การมี
ความคิดเห็นไมตรงกัน กอใหเกิดการแบงฝกแบงฝายรบราฆาฟนกัน
ไมมีที่สิ้นสุด โรคภัยไขเจ็บและมหันตภัยตางๆ คราชีวิตผูคน
ไมหยุดไมหยอน
สภาวการณเชนนี้หากปลอยไวก็จักเปนอันตรายและกอให
เกิดความเสียหายทั้งแกตนเองและประเทศชาติโดยรวม แตก็ถือ
วาเปนโชคดีของประเทศไทยที่มีพระพุทธศาสนาเปนหลักยึดเหนี่ยว
จิตใจ
ดังนั้น ควรที่จะชวยกันสรางธรรมะนิวเคลียร์ (DNC) ดวยการ
มอบหนังสือธรรมะเปนธรรมทาน อันเปนการสรางปญญานำพาชีวิต
ใหงอกงามและรุงเรือง และเปนจุดเริ่มตนในการพัฒนาตนตามหลัก
ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา นำพาตนใหพนจากความทุกข์ พบ
สันติสุขไดในปจจุบันชาตินี้
ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢
สังคมมนุษยยุคปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก
ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢
¤Ó¹Ó
การสวดมนต์ เปนอุบายวิธีฝกจิตใหสงบเยือกเย็น คราวใดที่มี
ปญหาหรืออุปสรรคถาโถมเขามาในชีวิต ก็จะไดตั้งรับอยางมีสติ เพราะ
พระพุทธมนต์ทุกบทนั้นเปนพุทธพจน์ของพระพุทธเจา จึงมีความขลัง
และศักดิ์สิทธิ์อยูในตัว ขอเพียงแตผูสวดสวดภาวนาดวยใจที่ศรัทธา
เลื่อมใสในพลังแหงพระพุทธคุณ
หนังสือ พุทธฤทธิ์ชินบัญชร และคำสอนสมเด็จโต เลมนี้
ประกอบดวยบทสวดพระคาถาชินบัญชร และคำสอนทานเจาประคุณ
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เกี่ยวกับวิธีการสวดมนต์ใหมี
พลานุภาพ เปนการสรางบุญบารมีดวยตัวเอง ซึ่งบุญบารมีในที่นี้ก็คือ
ความดี นั่นเอง เพราะความดีที่เราทำนั้นจะเปนเกราะกันภัยไดดีที่สุด
ขอใหพลังแหงการสวดมนต์ตามหนังสือพุทธฤทธิ์ชินบัญชรและ
คำสอนสมเด็จโตเลมนี้ นำพาใหทานมีสุขภาพกายแข็งแรง และสุขภาพใจ
เขมแข็งตลอดไป
ขอบารมีธรรมสมเด็จโตจงคุมครองใหทุกท่านมีแต่ความสุข
(น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.)
รวบรวมและเสริมสารธรรมในนามคณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง
โปรดใชเล่มนี้ใหคุมสุดคุม & อ่านแลว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจะ
อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน
จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาใหทุกครอบครัวมีความสุข
โปรดใชเล่มนี้ใหคุมสุดคุม & อ่านแลว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจะ
อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน
จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน
ÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
“หมั่นสรางบารมีไว...แลวฟาดินจะช่วย”
“ลูกเอย... ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีจากหลวงพ่อองค์ใด
เจาจะตองมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน
เมื่อบารมีของเจาไม่พอ จึงค่อยขอยืมบารมีของคนอื่นมาช่วย
มิฉะนั้นเจาจะเอาตัวไม่รอด
เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่เที่ยวไปขอยืมเขามาจนลนตัว
เมื่อทำบุญกุศลไดบารมีมา
ก็ตองเอาไปผ่อนใชหนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัว
แลวเจาจะไม่มีอะไรไวในภพหนา
หมั่นสรางบารมีไวแลวฟาดินจะช่วยเจาเอง
จงจำไวนะ... เมื่อยังไม่ถึงเวลา เทพเจาองค์ใดจะคิดช่วยเจาไม่ได
ครั้นถึงเวลาทั่วฟาจบดินก็ตานเจาไม่อยู่ จงอย่าไปเร่งเทวดาฟาดิน
เมื่อบุญเราไม่เคยสรางไวเลย จะมีใครที่ไหนมาช่วยเจา...”เมื่อบุญเราไม่เคยสรางไวเลย จะมีใครที่ไหนมาช่วยเจา...”
คำวา บารมี มีคำแปลหลายนัย เปนตนวา ปฏิปทาเครื่องใหถึงฝง,
ปฏิปทาเปนเครื่องใหถึงที่สุด, ขอปฏิบัติที่เปนเหตุใหถึงความประเสริฐ, ขอปฏิบัติ
เปนไปเพื่อประโยชน์สุขอันยิ่งใหญ หมายถึงคุณความดีที่ไดบำเพ็ญมาอยางยิ่งยวด
ในอดีต ใชเรียกความดีในอดีตของพระพุทธเจาครั้งเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว์
ซึ่งทรงบำเพ็ญมาอยางยิ่งยวดติดตอกันมาหลายรอยหลายพันชาติ บารมีที่
พระพุทธเจาทรงบำเพ็ญนั้นมี ๑๐ อยาง เรียกวา ทศบารมี คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ
ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา
ÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
“หมั่นสรางบารมีไว...แลวฟาดินจะช่วย”
“ลูกเอย... ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีจากหลวงพ่อองค์ใด
เจาจะตองมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน
เมื่อบารมีของเจาไม่พอ จึงค่อยขอยืมบารมีของคนอื่นมาช่วย
มิฉะนั้นเจาจะเอาตัวไม่รอด
เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่เที่ยวไปขอยืมเขามาจนลนตัว
เมื่อทำบุญกุศลไดบารมีมา
ก็ตองเอาไปผ่อนใชหนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัว
ÍÒ¹Ôʧʏ¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µñ
ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒÏ (âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ)
การสวดมนต์ดวยความตั้งใจจนจิตเปนสมาธิ แลวใชสติพิจารณา
จนเกิดปญญาและความรูความเขาใจ ประโยชน์สูงสุดของการสวดมนต์
นั่นคือจะทำใหท่านบรรลุผลจนสำเร็จเปนพระอรหันต์
ที่อาตมากลาวเชนนี้ มีหลักฐานปรากฏในพระธรรมคำสอน
ที่กลาวไววา โอกาสที่จะบรรลุธรรมเปนพระอรหันต์ มี ๕ โอกาสดวยกัน คือ
๑. เมื่อฟงธรรม
๒. เมื่อแสดงธรรม
๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นก็คือการสวดมนต์
๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
๕. เมื่อเจริญวิปสสนาญาณ
๑
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เทศน์ที่บานของเจาพระยาสรรเพชรภักดี
มหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) (คัดจากหนังสือ
อมตธรรมสมเด็จโต : บานธรรมะโต)
คนสวนมากที่เขาใจวาการสวดมนต์
มีประโยชน์นอย และเสียเวลามากหรือฟงไมรู
เรื่อง ความจริงแลวการสวดมนต์มีประโยชน์
มากมาย เพราะการสวดมนต์เปนการกลาวถึง
คุณความดีของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาวา
พระองค์มีคุณวิเศษเชนไร พระธรรมคำสอนของ
พระองค์มีคุณอยางไร และพระสงฆ์อรหันตอริยเจา
มีคุณเชนไร
๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นก็คือการสวดมนต์
๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
ÊÇ´Á¹µ ¤×Í¡ÒÃࢌÒཇҾÃоط¸à¨ŒÒ
การสวดมนต์ทั้งในตอนเชาและตอนเย็น เปนประเพณีที่ปฏิบัติ
มาตั้งแตสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธเจาทรงประกาศพระพุทธศาสนา
บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายตางพากันมาเขาเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบง
เวลาเขาเฝ้าเปน ๒ เวลา นั่นคือ
ตอนเชา เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม
ตอนเย็น เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม
การฟงธรรมเปนการชำระลางจิตใจที่เศราหมองใหหมดไป เพื่อ
สำเร็จสูมรรค ผล พระนิพพาน
การสวดมนต์นับเปนการดีพรอม ซึ่งประกอบไปดวยองค์ทั้ง ๓
นั่นคือ กาย มีอาการสงบเรียบรอยและสำรวม วาจา เปนการกล่าว
ถอยคำสรรเสริญถึงพระคุณอันประเสริฐ ใจ มีความเคารพนบนอบ
ต่อคุณพระรัตนตรัย ในพระคุณทั้ง ๓ พรอมทั้งเปนการขอขมาในความ
ผิดพลาดหากมี และสักการะเทิดทูนสิ่งที่สูงยิ่ง ซึ่งเราเรียกไดวาเปนการ
สรางกุศลซึ่งเปนมงคลอันสูงสุดทีเดียว
การสวดมนต์
คือการทำจิตใหมีที่พึ่ง
เบิกบาน สงบ ผ่องใส
»ÃÐ⪹¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µ
อาตมภาพขอรับรองแกทานทั้งหลายวา ถาหากบุคคลใด
ไดสวดมนต์เชาและเย็นไมขาดแลว บุคคลนั้นยอมเขาสูแดนพระอรหันต์
แนนอน การสวดมนต์นี้ควรสวดใหมีเสียงดังพอสมควร ยอมกอใหเกิด
ประโยชน์แกจิตตน และประโยชน์แกจิตอื่น
ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตตน คือเสียงในการสวดมนต์จะกลบ
เสียงภายนอกไมใหเขามารบกวนจิต ก็จะทำใหเกิดความสงบอยูกับ
บทสวดมนต์นั้นๆ ทำใหเกิดสมาธิและปญญาเขามาในจิตใจของผูสวด
ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตอื่น คือผูใดไดยินเสียงสวดจะพลอยให
เกิดความรู เกิดปญญา มีจิตสงบลึกซึ้งตามไปดวย ผูสวดก็เกิดกุศล
โดยการใหทานทางเสียง เหลาพรหมเทพที่ชอบฟงเสียงการสวดมนต์
มีอยูจำนวนมาก ก็จะมาชุมนุมกันฟง
เมื่อมีเหลาพรหมเทพเขามาลอมรอบตัวของผูสวดอยูเชนนั้น
ภัยอันตรายตางๆ ก็ไมสามารถกล้ำกรายผูสวดมนต์ได ตลอดจน
อาณาเขตและบริเวณบานของผูที่สวดมนต์ ยอมมีเกราะแหงพรหมเทพ
และเทวดาทั้งหลายคุมครองภัยอันตรายไดอยางดีเยี่ยม
...การสวดมนต์ เปนการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ
และพระสังฆคุณ เมื่อจิตมีที่พึ่งคือคุณพระรัตนตรัย ความกลัวก็ดี
ความสะดุงกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกลาก็ดี ภัยอันตรายใดๆ
ก็ดี จะไม่มีแก่ผูสวดมนต์นั่นแล...ก็ดี จะไม่มีแก่ผูสวดมนต์นั่นแล...
จิตมีที่พึ่งจึงไม่กลัวภัย ตั้งใจทำตามคำสวดจึงรวยทรัพย์
ปญญาฉลาดดี มีเงินทองเหลือกินเหลือใช
ไดเพื่อนๆ มากมาย ความเลวรายจางหายไป และไม่เขามาง่ายหรือมาก
»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ
¾ÃФҶҪԹºÑÞªÃ
พระคาถาชินบัญชรนี้กลาวกันวา ทานเจาประคุณสมเด็จ
พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สุดยอดพระมหาเถราจารย์ ๕ แผนดิน
แหงกรุงรัตนโกสินทร์ คนพบจากคัมภีร์ใบลานที่ตกทอดมาจากประเทศ
ศรีลังกา ตนฉบับเดิมจารึกเปนภาษาสิงหล ทานเจาประคุณสมเด็จฯ
พิจารณาเห็นวาเปนคาถาที่มีความศักดิ์สิทธิ์ และทรงพลานุภาพมาก
สุดที่จะพรรณนาได จึงนำมาดัดแปลงแกไขเพิ่มเติมเนื้อหาใหสมบูรณ์
ถูกตองตามฉันทลักษณ์ภาษาบาลี และมีความหมายที่ทำใหเกิดสิริมงคล
แกผูสวดภาวนาทุกประการ
คำวา ชินบัญชร แปลวา กรง หรือเกราะปองกันภัยของ
พระพุทธเจา มาจากคำวา ชิน หมายถึง พระชินสีห์ คือพระพุทธเจา
บัญชร แปลวา กรง หรือเกราะ เนื้อหาในบทสวดชินบัญชรนั้น เปนการ
อัญเชิญพระพุทธเจา ๒๘ พระองค์ เริ่มตั้งแตพระพุทธเจาพระนามวา
ตัณหังกร เปนตน มาสถิตอยูในทุกอณูของรางกาย
เพื่อเปนการเสริมพลังพุทธคุณใหยิ่งใหญ กอเกิดคุณานุภาพแกผู
สวดภาวนา จึงอัญเชิญพระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจา ๘๐ องค์
ซึ่งเปนผูมีบารมีธรรมยิ่งใหญ ตลอดทั้งอาราธนาพระสูตรอันศักดิ์สิทธิ์
ที่มีอานุภาพในดานตางๆ มาสถิตทุกสวนของรางกาย รวมกันสอดคลอง
เปนกำแพงแกวคุมกัน ตั้งแตกระหมอมจอมขวัญลงมา หอมลอมรอบตัว
ของผูสวดภาวนาพระคาถา จนกระทั่งหาชองโหวใหอันตรายสอดแทรก
มิได
»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ
¾ÃФҶҪԹºÑުþÃФҶҪԹºÑÞªÃ
พระคาถาชินบัญชรนี้กลาวกันวา ทานเจาประคุณสมเด็จ
พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สุดยอดพระมหาเถราจารย์ ๕ แผนดิน
แหงกรุงรัตนโกสินทร์ คนพบจากคัมภีร์ใบลานที่ตกทอดมาจากประเทศ
การสวดมนต์หรือบริกรรมมนต์คาถานั้น มีจุดมุงหมายที่สำคัญ
ขอหนึ่ง ก็คือเพื่อใหเกิดบุญกุศล มีความสุขสงบแหงจิตใจ และดวย
อานุภาพแหงการสวดมนต์นั้น จะทำใหจิตเบิกบาน อารมณ์แจมใส
กอใหเกิดอานุภาพในการปกป้องคุมครองชีวิตใหแคลวคลาดปลอดภัย
จากอันตรายทุกอยาง
ผูใดไดสวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรนี้เปนประจำทุกวัน จะทำ
ใหเกิดสิริมงคลสมบูรณ์พูนผล ศัตรูหมูพาลไมกลากล้ำกราย ไปที่ไหน
ก็เกิดเมตตามหานิยม เกิดลาภผลพูนทวีขึ้น ขจัดภัยจากภูตผีปศาจ
ตลอดจนคุณไสยตางๆ ทำน้ำมนต์รดแกวิกลจริต แกสรรพโรคภัยหายสิ้น
เปนสิริมงคลแกชีวิต มีคุณานุภาพตามแตจะปรารถนา ดังคำโบราณวา
“ฝอยท่วมหลังชาง” จะเดินทางไปที่ไหนๆ สวด ๑๐ จบแลวอธิษฐาน
จะสำเร็จดังเจตนาแล
การไหวพระสวดมนต์ คือการอัดฉีดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ
พระสังฆคุณ เขาสูจิตใจเพื่อหลอเลี้ยงและเสริมสรางจิตใจใหเกิดคุณธรรม เปนการ
ปดโอกาสความชั่วรายตางๆ มิใหออกมาอาละวาด กอใหเกิดผลดีอื่นๆ อีกนานัปการ
การสวดพระคาถาชินบัญชร เปนการนอมนำเอาพลังแหงพระพุทธคุณ
พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ มาเสริมสรางขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิต
ดวยความสำนึกและตระหนักรูในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา นำมาปฏิบัติเปน
หลักชัยของชีวิต เปนการเสริมเพิ่มพลังใจใหมีชีวิตชีวา ไมหวาดหวั่นพรั่นพรึงตออุปสรรค
ปญหาตางๆ เกิดความเปนสิริมงคล ปราศจากทุกข์ โศก โรคภัย สติปญญาผองใส
การไหวพระสวดมนต์ คือการอัดฉีดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ
พระสังฆคุณ เขาสูจิตใจเพื่อหลอเลี้ยงและเสริมสรางจิตใจใหเกิดคุณธรรม เปนการ
ฝกใจใฝทำดี
ดวยการสวดมนต์
จะมีสติปญญา
แกปญหาได
ทุกอย่าง
10 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´
¾ÃФҶҪԹºÑÞªÃ
การสวดมนต์จะสำเร็จประโยชน์แกผูสวดภาวนาอยางแทจริง
นั้น ตองเตรียมความพรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ คือ อาบน้ำชำระ
รางกายใหสะอาด แตงกายใหเรียบรอยเหมาะสมที่จะทำความดี และ
ที่สำคัญคือมีความตั้งใจจริงในการสวดมนต์ เพื่อใหเกิดความสงบ
แกจิตใจพรอมที่จะเผชิญกับสถานการณ์ตางๆ อีกสิ่งหนึ่งที่จะตอง
จัดเตรียม คือพานดอกไมหรือพวงมาลัยบูชาพระ แตถาไมสามารถ
หาไดก็ไมเปนไร
เมื่อตระเตรียมเรียบรอยแลว นำพานดอกไมหรือพวงมาลัย
ขึ้นบูชาพระรัตนตรัย แลวกราบลง ๓ ครั้ง ตั้งจิตระลึกถึงพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ และดวงวิญญาณของทานเจาประคุณสมเด็จ
พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ครั้นจิตสงบนิ่งพรอมที่จะสวดแลว
ใหเริ่มสวดมนต์ไปตั้งแต บทกราบพระรัตนตรัย ไปตามลำดับจนจบ
ขอสำคัญขณะสวดมนต์ใหเปลงเสียงดังพอประมาณ ออกเสียง
ชัดเจน มีสติจดจออยูกับบทสวด แลวสวดภาวนาชาๆ ไมตองรีบสวด
ใหจบ ขณะสวดก็นึกภาพตามบทสวดไปดวย เชน บทสวดกลาวถึง
พระพุทธเจา ๒๘ พระองค์มาสถิตอยูที่กลางกระหมอมของตน
ใหระลึกนึกถึงพระพุทธเจาทั้งหมดมาสถิตที่กลางกระหมอม จะทำใหมี
สติปญญาและพลังแหงความคิดเจิดจาสวางไสว รุงเรืองดวยรัศมีแหง
พระพุทธคุณ เมื่อทำไดดังนี้ก็จะเกิดผลดีแกตัวเองเปนที่สุด
¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´
การสวดมนต์จะสำเร็จประโยชน์แกผูสวดภาวนาอยางแทจริง
11Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์
สิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ;
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา,
ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ)
การไหวพระเปนประเพณีที่มีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล มีเรื่องเลาวา
เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาประทับ ณ ถ้ำอินทสาลคูหา ทาวโกสีห์พรอมกับเทพบริวาร
มาเขาเฝ้าถามปญหาจนหมดความสงสัย เกิดปติปราโมทย์ความเลื่อมใสในพระพุทธ-
องค์ทรงลูบแผนดิน ๓ ครั้งพรอมกับเปลงคำวา นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา-
สมฺพุทฺธสฺส โดยมิไดกลาวถึงพระสงฆ์ ตอมารัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชนิพนธ์บทกราบ
พระรัตนตรัยขึ้นใหม โดยเพิ่มบทธรรมคุณ และสังฆคุณเขามาเพื่อใหสมบูรณ์แบบครบ
ทั้ง ๓ รัตนะ
ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ)
เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาประทับ ณ ถ้ำอินทสาลคูหา ทาวโกสีห์พรอมกับเทพบริวาร
ñ. º·¡ÃÒº¾ÃÐÃѵ¹µÃÑÂ
12 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ส๎วากขาโต๑
ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว ;
ธัมมัง นะมัสสามิ.
ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว ;
สังฆัง นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระสงฆ์. (กราบ)
๑
อานวา สะหวาก-ขา-โต
กิจสำคัญอันหนึ่งที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติจะละเลยมิได คือการสวดมนต์
ไหวพระประจำวัน การสวดมนต์นั้นอยาเขาใจวาเปนการสวดออนวอนเหมือนศาสนาอื่น
แตเปนอุบายทำจิตของเราใหสงบ เยือกเย็น มั่นคง และเปลื้องทุกข์ออกจากใจ
ทั้งยังเปนวิธีการหนึ่งที่ทำใหเราเขาถึงพระรัตนตรัยไดพรอมกัน ๓ ทาง คือ
๑) ทางกาย ดวยการกราบไหวบูชาสักการะ ๒) ทางวาจา ดวยการสวดสรรเสริญเจริญ
พระพุทธคุณ ๓) ทางใจ ดวยการนอมเอาคุณพระรัตนตรัยมาเปนสรณะไวในใจ
กราบพระพุทธ
ตองรูพระธรรม
ฟงคำพระสงฆ์
ชีวิตมั่นคง
ปลอดภัย
13Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
บทนี้เปนบทกลาวแสดงความนอบนอมบูชาพระคุณของพระพุทธเจา
เหมือนบทไหวครู คำวา นะโม มาจากศัพท์วา นม แปลวา ความนอบนอม
มีเรื่องเลาวา เทวดา ๕ องค์ไดเขาเฝ้าพระพุทธเจาแลวเกิดความเลื่อมใส จึงเปลงวาจา
คนละวรรค ดังนี้ สาตาคีรายักษ์กลาวคำวา นโม (ความนอบนอม), อสุรินทราหูกลาว
คำวา ตสฺส (นั้น), ทาวมหาราชกลาวคำวา ภควโต (พระผูมีพระภาคเจา), ทาวสักกะ
กลาวคำวา อรหโต (เปนพระอรหันต์), ทาวมหาพรหมกลาวคำวา สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส
(พระสัมมาสัมพุทธเจา) แปลความวา ขอนอบนอมแดสมเด็จพระทรงพระภาค
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ดังนั้น เมื่อกลาวบทนี้จึงเปนการพรรณนาคุณ
ของพระพุทธเจาครบทั้ง ๓ ขอ คือ ๑) พระปญญาคุณ ทรงตรัสรูชอบดวยพระองค์เอง
๒) พระวิสุทธิคุณ ทรงเปนผูบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ๓) พระกรุณาคุณ
ทรงพระกรุณาสงสารสัตวโลกใหรูแจงเห็นจริง และไดนอมระลึกนึกถึงคุณงามความดี
ของพระองค์ แลวเกิดความเอิบอิ่มใจ นอมใจฝกใฝในการทำความดีตลอดไป
บทนี้เปนบทกลาวแสดงความนอบนอมบูชาพระคุณของ
เหมือนบทไหวครู คำวา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต,
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น, ซึ่งเปนผูไกล
จากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง.
ò. º·¹Íº¹ŒÍÁ¾Ãоط¸à¨ŒÒ
(สวด ๓ จบ)
14 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ó. º·äµÃÊó¤Á¹ñ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง
แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง
แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง.
๑
อานวา ไตร-สะ-ระ-นะ-คม แปลวา การถึงพระรัตนตรัยวาเปนที่พึ่งที่ระลึก,
ไตร = สาม, สรณะ = ที่พึ่งที่ระลึก หมายถึง การยึดเอาพระรัตนตรัยวาเปนสรณะ
ที่พึ่งที่ระลึก คือ พระพุทธเจาชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะกำจัดภัยของสัตว์ทั้งหลาย
ดวยการใหถึงสิ่งที่เปนประโยชน์ (ความดี) และนำออกจากสิ่งที่ไมเปนประโยชน์
(ความชั่ว) พระธรรมชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะชวยรักษาคุมครองผูปฏิบัติมิใหตกไปในที่
ชั่ว นำใหพนจากสังสารวัฏ (การเวียนวายตายเกิด) และพระสงฆ์ชื่อวาเปนที่พึ่ง
เพราะเปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบแลวนำมาแนะนำสอนใหผูอื่นรูตามไปดวย
ó. º·äµÃÊó¤Á¹ó. º·äµÃÊó¤Á¹
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
15Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³ñ
อิติป โส ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น ;
อะระหัง,1
เปนผูไกลจากกิเลส ;
สัมมาสัมพุทโธ,2
เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ;
วิชชาจะระณะสัมปนโน,3
เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ๒
;
สุคะโต,4
เปนผูไปแลวดวยดี ;
โลกะวิทู,5
เปนผูรูโลกอยางแจมแจง ;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,6
เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา ;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,7
เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ;
พุทโธ,8
เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม๓
;
ภะคะวาติ.9
เปนผูมีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์.
๑
บทนี้เปนบทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ ๙ ประการ เรียกวา นวหรคุณ (ดูตามเลขอารบิค)
๒
วิชชา แปลวา ความรูแจง มี ๓ คือ ความรูแจงที่ทำใหระลึกชาติได, ความรูแจงที่ทำให
รูการเกิดและตายของสัตว์โลกวาเปนไปตามกรรม, ความรูแจงที่ทำใหพระองค์
สิ้นจากอาสวกิเลส จรณะ แปลวา ความประพฤติ หมายถึงขอปฏิบัติที่นำไปสูการบรรลุ
วิชาความรูแจงนั้น
๓
ผูรู หมายถึง ทรงเปนผูรูแจงในธรรมอันเปนเครื่องตรัสรู คืออริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย
นิโรธ มรรค) ผูตื่น หมายถึง ทรงเปนผูตื่นจากความหลับดวยอำนาจของกิเลส,
ผูเบิกบาน หมายถึง ทรงเปนผูมีความสุขความเบิกบาน ความอิ่มใจในภาวะที่พน
จากกิเลสนั้น
ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³
16 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³ñ
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,1
พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว ;
สันทิฏฐิโก,2
เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง ;
อะกาลิโก,3
เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลไดไมจำกัดกาล ;
เอหิปสสิโก,4
เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวาทานจงมาดูเถิด๒
;
โอปะนะยิโก,5
เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว๓
;
ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ.๔,6
เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน.
คำสั่งสอนของพระพุทธเจายอใหเหลืออยางเดียวคือ “ความไม่ประมาท”
หรือ “สติ” สติ คือความระลึกได ความนึกได ความไมเผลอ ไมหลงลืม แบงเปน
๒ อยาง คือ นึกไดก่อนทำ ก่อนพูด ก่อนคิดในกิจการต่างๆ หากคนมีสตินึกได
อยางนี้ ยอมทำงานไมผิดพลาด ไมขาดตกบกพรอง ทำงานไดเรียบรอย นึกได
ภายหลัง คือนึกถึงงานที่ทำคำที่พูดไวแลวได ไมลืมเลือน ระลึกอยูเสมอเพื่อหาขอ
บกพรอง เพื่อหาทางแกไข หรือเพื่อดำรงความดีไว ใชคูกับ สัมปชัญญะ ความรูตัว
คือรูตัวเองอยูเสมอขณะที่ทำ ขณะที่พูด ขณะที่เปนอะไรอยู รูตัวไดอยางนี้ยอมทำ
ใหไมลืมตัว ไมหลงงมงาย รูจักหนาที่ รูจักรับผิดชอบ ทำงานดวยความมีเหตุผล
ไมทำตามอารมณ์ ทำงานไดรวดเร็ว คลองตัวและไมผิดพลาด
๑
บทนี้เปนบทสวดสรรเสริญธรรมคุณ ๖ ประการ (ดูตามเลขอารบิค)
๒
หมายถึง เปนคำสอนที่เปนความจริง พรอมใหเขามาพิสูจน์และปฏิบัติดวยตนเองกอนจึงเชื่อ
๓
หมายถึง พระธรรมที่เปนสัจธรรมและความดีนั้น ควรเขาไปศึกษาและนอมนำมาปฏิบัติ
๔
อานวา วิน-ยู-ฮี-ติ แปลวา ผูรู
หรือ “สติ
õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
17Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ñ
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,1
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว๒
;
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,2
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติตรงแลว๓
;
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,3
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม
เปนเครื่องออกจากทุกข์แลว๔
;
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,4
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว ;
๑
บทนี้ เปนบทสวดสรรเสริญคุณของพระสงฆ์ ๙ ประการ (ดูตามเลขอารบิค) พระสงฆ์
เปรียบเหมือนดอกไมที่มาจากที่ตางๆ เมื่อเราบูชาพระดวยดอกไมก็เทากับวาเราบูชา
พระสงฆ์
๒
หมายถึง ปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรค (๔) ผล (๔) และพระนิพพาน
๓
หมายถึง ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยที่พระพุทธเจาบัญญัติไว และไมปฏิบัติเพื่อหวังลาภ
สักการะ
๔
หมายถึง ปฏิบัติเพื่อใหรูแจงเห็นจริงในสัจธรรมทั้งปวงที่ทำใหหมดจากทุกข์
ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ñ
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,1
สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,2
พระสงฆ์คือ
สาวกของพระพุทธเจา
ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
สืบทอดพระพุทธศาสนา
ใหอยู่คู่กับคนไทยตลอดกาล
18 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้คือ :-
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแหงบุรุษ ๔ คู๑
นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ;
อาหุเนยโย,5
เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา ;
ปาหุเนยโย,6
เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ ;
ทักขิเณยโย,7
เปนผูควรรับทักษิณาทาน๒
;
อัญชะลิกะระณีโย,8
เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี๓
;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.9
เปนเนื้อนาบุญของโลก๔
ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.
๑
คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ คือ คูที่ ๑ เรียกวา พระโสดาบัน แปลวา ผูถึงกระแสแหงพระ
นิพพาน มี ๓ ประเภท คือ ผูเกิดอีกชาติเดียว, ผูเกิดอีกเพียง ๒-๓ ชาติ, และผูเกิด
อีกไมเกิน ๗ ชาติ ก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๒ เรียกวา พระสกทาคามี แปลวา
ผูกลับมาสูโลกนี้อีกครั้งเดียว คือเกิดอีกชาติเดียวก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๓
เรียกวา พระอนาคามี แปลวา ผูไมมาสูโลกนี้อีก คือ ผูเปนพระอนาคามีหลังจาก
ตายไปแลวจะไปเกิดในพรหมโลกและบรรลุเปนพระอรหันต์ในที่นั้น คูที่ ๔ เรียกวา
พระอรหันต์ (อานวา อะระหัน) แปลวา ผูหางไกลจากกิเลส. (ถาอานวา ออระหัน
แปลวา ความเปนพระอรหันต)
๒
แปลวา การใหของทำบุญ หมายถึง เปนผูสมควรรับของที่เขานำมาถวาย
๓
แปลวา การประนมมือ หมายถึง เปนผูสมควรรับการยกมือขึ้นกราบไหวจากผูอื่น
๔
เนื้อนาบุญของโลก หมายถึง เปนแหลงเพาะปลูกและเผยแพรบุญคือความดี
ที่ยอดเยี่ยมของโลก
19Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒǹÒ
อุกาสะ อุกาสะ ขาพเจาจะเจริญสวดมนต์ภาวนาธรรมบูชาคุณ
พระรัตนตรัย เพื่อสรางสมทศบารมีธรรมในจิต มีทาน ศีล เนกขัมมะ
ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา เจริญอิทธิบาททั้ง ๔
ดวยความพอใจในความเพียร ใหความสนใจและความใครครวญ
พิจารณา ใหสังหารนิวรณ์ทั้ง ๕ อันมีกามฉันทะ ความพยาบาท ความงวง
ขณะปฏิบัติ ความคิดฟุ้งซาน ความลังเลสงสัย ใหมันมลายหายออกไป
มีวิตก วิจารณ์ ปติ สิริรวมสุขเอกัคตาเขามาแทนที่ ใหถึงฌานสมาบัติ
จนเดินทางเขาสูมรรคาพระอริยบุคคล ลางธุลีกิเลสใหสูญ ตัดมูลอาสวะ
ใหสิ้น หางไกลสังโยชน์ทั้งปวง ลวงถึงพระนิพพานที่ยิ่งใหญ
ขาพเจาขออาราธนาบารมีพระพุทธเจา พระธรรมเจา และพระ
อริยสงฆ์ทุกพระองค์ มีสมเด็จโตแหงวัดระฆังเปนที่สุด จงมาเปนที่พึ่ง
แกขาพระพุทธเจา ทำลายทุกข์กายทุกข์ใจใหเหือดหาย ทำลายมาร
ตัณหาใหพินาศ ขอใหพนเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยและ
อันตรายภัยพิบัติทั้งปวง ขอใหขาพเจามีอายุยืนยาว มีโชคลาภ มีความ
สุขสิริสวัสดิ์ เจริญตอไปทั้งในปจจุบัน กาลอนาคต และภพหนา
ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เทอญ ฯ
บทนี้เปนการตั้งจิตอธิษฐานในการเริ่มตนทำความดีคือการสวดมนต์
เพื่อใหจิตนิ่ง การสวดมนต์ที่จะสำเร็จประโยชน์นั้น ตองมีความพรอมดวยกาย
วาจา ใจ กลาวคือ กายตองสำรวมเรียบรอยสงบ วาจา ขณะสวดก็สวดใหถูกตอง
ทั้งอักขระและทำนอง ใหมีเสียงดังพอประมาณ และใจตองจดจออยูกับบทสวดนั้น
อยาคลอนแคลน เมื่อทำไดเชนนี้ชื่อวาเปนการดีพรอม คุณความดีตางๆ ก็จะ
เกิดมีขึ้นอยางแนนอน
บทนี้เปนการตั้งจิตอธิษฐานในการเริ่มตนทำความดีคือการสวดมนต์
เพื่อใหจิตนิ่ง การสวดมนต์ที่จะสำเร็จประโยชน์นั้น ตองมีความพรอมดวยกาย
÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒǹÒ÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒǹÒ
20 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ø. ¾ÃФҶҪԹºÑÞªÃ
ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒÏ (âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ)
คำอธิษฐานกอนสวดภาวนา
ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง
อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปยะตัง สุตะวา.
คำแปล : ผูปรารถนาบุตร พึงไดบุตร ผูปรารถนาทรัพย์ พึงได
ทรัพย์ บัณฑิตไดฟงมาวา ความเปนที่รักที่ชอบใจของเหลาเทวดาและ
มนุษย์มีอยูในกาย (เรา) เพราะเรารูไดดวยกาย.
สวดมนต์ตองอธิษฐาน ใหทานตองตั้งใจ คำวา “อธิษฐาน” หมายถึง
การตั้งใจมุงผลอยางใดอยางหนึ่ง การตั้งจิตรองขอสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ
การนึกปรารถนาสิ่งที่ตองการจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชน ตั้งจิตอธิษฐานขอพรจากพระ
นึกอธิษฐานในใจขอใหเดินทางแคลวคลาด เปนตน การใหทานก็เชนกันตองตั้งใจให
ดวยความจริงใจ ไมใชใหอยางเสียไมได
การสวดพระคาถาชินบัญชรนั้น ก็เพื่อตองการความศักดิ์สิทธิ์เขมขลังมาเปน
พลังใหใจคิดดีคิดชอบ ความจริงนั้นสิ่งศักดิ์ตางๆ ไมจำเปนที่จะตองอยูนอกตัวเรา
เสมอไป พระพุทธเจาตรัสวา ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน เราสามารถเสกมนต์ใสใจ
ดวยตัวเอง ดวยความตระหนักรูและนอมนำคุณของพระรัตนตรัยเขามาไวในตน แลว
ทำตนใหเปนสิ่งรองรับพระคุณดังกลาว หรือทำตัวใหเปนเหมือนแทนบูชา ดังคำ
กลาวในคาถานำของพระคาถาชินบัญชรที่วา อัตถิ กาเย กายะญายะ.. ซึ่งแปลวา
มีอยูในกาย รูไดดวยกาย นี้เปนเครื่องแสดงใหเห็นวาความศักดิ์สิทธิ์หรือพลานุภาพ
อันยิ่งใหญของพระรัตนตรัยนั้น เราสามารถเสกสรางใหเกิดขึ้นไดจริงๆ
การตั้งใจมุงผลอยางใดอยางหนึ่ง การตั้งจิตรองขอสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ
21Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
บทนี้เปนมนต์คาถาที่แตงขึ้นมาเพื่อใชสวดภาวนาใหจิตสงบนิ่งกอนที่จะสวด
พระคาถาชินบัญชร เพราะตามธรรมชาตินั้นจิตของคนเรามักจะดิ้นรนกวัดแกวงเหมือน
ลิงที่วิ่งซุกซนไปโนนมานี่ตลอดเวลา หากเรายังไมมีความพรอมในจิตใจ การสวด
ภาวนาพระคาถาชินบัญชรก็ไมสำเร็จผลได ถึงจะสำเร็จแตก็ยังไมเต็มเม็ดเต็มหนวย
เพื่อใหการดำเนินชีวิตในแตละวันราบรื่น ไรอุปสรรคขวากหนาม เบื้องตนตองมีจิตใจ
ที่มั่นคงไมหวั่นไหว การที่จะมีใจมั่นคงนั้นตองสรางศรัทธาคือความเชื่อมั่นขึ้นในใจ
ใหไดกอน ดังพุทธภาษิตวา ศรัทธาที่ตั้งมั่น ย่อมสำเร็จประโยชน์ และศรัทธาที่จะสำเร็จ
ประโยชน์อยางแทจริงนั้นตองเปนศรัทธาที่ประกอบดวยปญญา
กอนที่จะออกจากบานไปเผชิญกับสิ่งตางๆ ภายนอก หากมีเวลาวางควร
เสียสละเวลาสักนิด เพื่อทำจิตใจใหมั่นคงเปนสมาธิ เสริมสรางพลังใจใหแข็งแกรงดวยการ
สวดมนต์ อานิสงส์จากการสวดมนต์จะทำใหสมองปลอดโปรงโลงใจ พรอมที่จะเผชิญ
กับสิ่งตางๆ อยางมีสติ
อิติป โส ภะคะวา ยะมะราชาโน
ทาวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง
อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ.
พระคาถาชินบัญชร เพราะตามธรรมชาตินั้นจิตของคนเรามักจะดิ้นรนกวัดแกวงเหมือน
ÀÒǹÒÁ¹µ¤Ò¶ÒÇ‹Ò
อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ.
22 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ปญหาอุปสรรคตางๆ ที่ถาโถมเขามาหาเรานั้น ถามองกันใหดีๆ ก็คือมารราย
ที่จะเขามาบั่นทอนกำลังใจทำใหเราทอแท เพื่อไมใหเราทำความดีสำเร็จ แมพระพุทธเจา
กอนที่จะตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ถูกพญามารและเสนามารเขามา
ขัดขวางเพื่อมิใหตรัสรู แตพระพุทธองค์ก็ทรงชนะดวยการระลึกถึงบารมี ๑๐
ประการ ทำใหนางวสุนธราแมพระธรณีมาเปนพยาน จนพญามารและเสนาตอง
พายแพกลับไป
คำวา มาร ในทางพุทธศาสนาแปลวา ผูทำใหตาย, ผูฆา หมายถึงผูขัดขวาง
มิใหมีโอกาสทำความดีไดโดยสะดวก หรือผูขจัดคุณงามความดีในบุคคลออกไป
มี ๕ อยาง ไดแก ๑) ขันธมาร มารคือรางกาย ๒) กิเลสมาร มารคือกิเลส
๓) อภิสังขารมาร มารคืออกุศลกรรม ๔) เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร ๕) มัจจุมาร
มารคือความตาย
๑
บางฉบับเปน ชะยาสะนากะตา แปลไดความเหมือนกัน
๒
หมายถึง ที่ประทับใตตนพระศรีมหาโพธิ์ในวันตรัสรูของพระพุทธเจา
๓
อานวา อะ-มะ-ตะ-รด หมายถึง รสแหงธรรมที่เปนอมตะคืออริยสัจ ๔
(ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)
๑. ชะยาสะนาคะตา๑
พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปวิงสุ นะราสะภา.
ปญหาอุปสรรคตางๆ ที่ถาโถมเขามาหาเรานั้น ถามองกันใหดีๆ ก็คือมารราย
ที่จะเขามาบั่นทอนกำลังใจทำใหเราทอแท เพื่อไมใหเราทำความดีสำเร็จ แมพระพุทธเจา
คำแปล : พระพุทธเจาผูองอาจ
ในหมูชนประทับนั่ง ณ ชัยอาสน์-
บัลลังก์๒
ทรงชนะพญามาร ผูพรั่ง
พรอมดวยเสนามารแลว เสวย
อมตรส๓
คืออริยสัจ ๔ ประการ
อันทำใหผูรูแจงขามพนจากทุกข์
ทั้งปวงได.
23Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ
กลางกระหมอมเปนศูนย์กลางแหงชีวิต เปนสวนที่เปนสุดยอดของรางกาย
ถือเปนอวัยวะที่สูงที่สุด อีกนัยหนึ่งจึงเปนที่ตั้งของเป้าหมายสูงสุดแหงชีวิตดวย
คนเราตองมีเป้าหมายและตองไปถึงเป้าหมายที่ตั้งไวใหได ในทางพระพุทธศาสนาสอน
ไววา คนที่จะทำอะไรสำเร็จนั้นตองตั้งอยูในคุณธรรมที่เรียกวา อิทธิบาท แปลวา
คุณเครื่องหรือขอปฏิบัติที่นำไปสูความสำเร็จ มี ๔ อยาง คือ ๑) ฉันทะ คือ ความพอใจ
รักใครในงานที่ทำ ๒) วิริยะ ความเพียร ลงมือทำดวยความหมั่นขยันอดทน ๓) จิตตะ
ความเอาใจใส ไมทอดทิ้งธุระในกิจการงานที่ทำ ๔) วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณา
หาเหตุและผลในงานที่ทำวาดีหรือไมอยางไร เมื่อทำไดทั้งหมดนี้ยอมมีความ
สำเร็จเปนเบื้องหนา
๑
คือ ๑. พระตัณหังกร ๒. พระเมธังกร ๓. พระสรณังกร ๔. พระทีปงกร ๕. พระโกณฑัญญะ
๖. พระมังคละ ๗. พระสุมนะ ๘. พระเรวตะ ๙. พระโสภิตะ ๑๐. พระอโนมทัสสี
๑๑. พระปทุมะ ๑๒. พระนารทะ ๑๓. พระปทุมุตตระ ๑๔. พระสุเมธะ ๑๕. พระสุชาตะ
๑๖. พระปยทัสสี ๑๗. พระอัตถทัสสี ๑๘. พระธัมมทัสสี ๑๙. พระสิทธัตถะ ๒๐. พระติสสะ
๒๑. พระผุสสะ ๒๒. พระวิปสสี ๒๓. พระสิขี ๒๔. พระเวสสภู ๒๕. พระกกุสันธะ
๒๖. พระโกนาคมนะ ๒๗. พระกัสสปะ ๒๘. พระโคตมะ (องค์ปจจุบัน)
๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
คำแปล : พระพุทธเจา ๒๘ พระองค์๑
มีพระพุทธเจาทรงพระนามวาตัณหังกร
เปนตนเหลานั้น ขออัญเชิญพระพุทธเจา
ผูเปนจอมมุนีทุกพระองค์มาประดิษฐาน
ณ กลางกระหมอมของขาพเจา.
24 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ
ศีรษะเปนที่บรรจุสมองซีกซายใชขบคิดพิจารณาเหตุและผล สวนสมอง
ซีกขวาใชคิดจินตนาการสรางสรรค์สิ่งตางๆ เปนศูนย์กลางแหงการคิด การวางแผน
การสรางเป้าหมาย และวิธีการที่จะทำใหบรรลุเป้าหมายนั้น บทนี้เปนการอัญเชิญ
พระพุทธเจามาประดิษฐานบนศีรษะเพื่อใหเกิดความคิดแตกฉาน คิดดี มีเป้าหมาย
การอัญเชิญพระธรรมประดิษฐานที่ดวงตาทั้งสองขาง ธรรมชาติสรางดวงตา
ใหเรามา ๒ ขางนั้นเพื่อจะใหมองดูสิ่งตางๆ ใหไดมาก แบงออกเปน ๒ อยาง คือ
๑) ตานอก หมายถึงดวงตาคือตาเนื้อ ๒) ตาใน หมายถึงความรูและสติปญญา ดวงตา
สองประเภทนี้มีความสำคัญมากในการดำเนินชีวิตของแตละคน ตานอกใชมอง
สิ่งตางๆ สวนตาในสำคัญที่สุด เพราะแมจะมีตาเนื้อมองเห็นทุกอยาง แตถาขาดสติ
ปญญาแลวไมสามารถดำเนินชีวิตใหดีได แตคนตาบอดหากมีปญญาก็เลี้ยงชีวิตได
ไมยากนัก
การอัญเชิญพระสงฆ์ประดิษฐานอยูที่อก แสดงถึงความฮึกเหิมกลาหาญ
สามารถตอสูกับอุปสรรคปญหาตางๆ ได เมื่อคบเพื่อนฝูงก็ตองมีความเขาอกเขาใจกัน
๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
ศีรษะเปนที่บรรจุสมองซีกซายใชขบคิดพิจารณาเหตุและผล สวนสมอง
ซีกขวาใชคิดจินตนาการสรางสรรค์สิ่งตางๆ เปนศูนย์กลางแหงการคิด การวางแผน
คำแปล : ขออัญเชิญพระพุทธเจา
ประดิษฐานบนศีรษะของขาพเจา
พระธรรมประดิษฐานที่ดวงตา
ทั้งสองของขาพเจา พระสงฆ์ผูเปน
อากรบอเกิดแหงคุณความดีทั้งปวง
อยูที่อกของขาพเจา.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
สามัคคีเสวก
สามัคคีเสวกสามัคคีเสวก
สามัคคีเสวกKruBowbaro
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผนสรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผนAtiwat SN
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกDraftfykung U'cslkam
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สามัคคีเสวก
สามัคคีเสวกสามัคคีเสวก
สามัคคีเสวก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผนสรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
สรุปความรู้จากเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 

Similar a พุทธฤทธิ์ชินบัญชรและคำสอนสมเด็จโต

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงSongsarid Ruecha
 

Similar a พุทธฤทธิ์ชินบัญชรและคำสอนสมเด็จโต (20)

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 

พุทธฤทธิ์ชินบัญชรและคำสอนสมเด็จโต

  • 2. บรรณาธิการ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : จิระพัฒน์ ยังโป้ย ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา รูปเล่ม/จัดอาร์ต : จิระพัฒน์ ยังโป้ย สุภาพ หอมจิตร (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.) รวบรวมเรียบเรียง
  • 3. หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาทุกขอ สามารถนำมาประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน เพื่อพัฒนาตนใหเปนคนสมบูรณ์แบบได นั่นคือ การเขาถึงเหตุผลโดยใชปญญา ความเพียรพยายาม ทำใหสำเร็จอย่างจริงจัง พึ่งตนเองไดโดยไม่ตองรองขอจากคนอื่น สังคมมนุษยยุคปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก จนเกินกวาที่จะปรับตัวทัน ทั้งนี้เกิดจากตัวเราเอง สังคม และ สิ่งแวดลอมที่สูญเสียความสมดุลในการอยูรวมกัน ชองวางทาง สังคมเกิดขึ้นมากมาย รวมทั้งปญหาตางๆ ในหลายดาน เชน อาชญากรรม ยาเสพติด โรคระบาด สิ่งแวดลอมเปนพิษ การมี ความคิดเห็นไมตรงกัน กอใหเกิดการแบงฝกแบงฝายรบราฆาฟนกัน ไมมีที่สิ้นสุด โรคภัยไขเจ็บและมหันตภัยตางๆ คราชีวิตผูคน ไมหยุดไมหยอน สภาวการณเชนนี้หากปลอยไวก็จักเปนอันตรายและกอให เกิดความเสียหายทั้งแกตนเองและประเทศชาติโดยรวม แตก็ถือ วาเปนโชคดีของประเทศไทยที่มีพระพุทธศาสนาเปนหลักยึดเหนี่ยว จิตใจ ดังนั้น ควรที่จะชวยกันสรางธรรมะนิวเคลียร์ (DNC) ดวยการ มอบหนังสือธรรมะเปนธรรมทาน อันเปนการสรางปญญานำพาชีวิต ใหงอกงามและรุงเรือง และเปนจุดเริ่มตนในการพัฒนาตนตามหลัก ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา นำพาตนใหพนจากความทุกข์ พบ สันติสุขไดในปจจุบันชาตินี้ ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢ สังคมมนุษยยุคปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢ÃÇÁ¾ÅѧàµÔÁàª×éÍ ãËŒâÅ¡Ê´ãÊã¨à»š¹ÊØ¢
  • 4. ¤Ó¹Ó การสวดมนต์ เปนอุบายวิธีฝกจิตใหสงบเยือกเย็น คราวใดที่มี ปญหาหรืออุปสรรคถาโถมเขามาในชีวิต ก็จะไดตั้งรับอยางมีสติ เพราะ พระพุทธมนต์ทุกบทนั้นเปนพุทธพจน์ของพระพุทธเจา จึงมีความขลัง และศักดิ์สิทธิ์อยูในตัว ขอเพียงแตผูสวดสวดภาวนาดวยใจที่ศรัทธา เลื่อมใสในพลังแหงพระพุทธคุณ หนังสือ พุทธฤทธิ์ชินบัญชร และคำสอนสมเด็จโต เลมนี้ ประกอบดวยบทสวดพระคาถาชินบัญชร และคำสอนทานเจาประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เกี่ยวกับวิธีการสวดมนต์ใหมี พลานุภาพ เปนการสรางบุญบารมีดวยตัวเอง ซึ่งบุญบารมีในที่นี้ก็คือ ความดี นั่นเอง เพราะความดีที่เราทำนั้นจะเปนเกราะกันภัยไดดีที่สุด ขอใหพลังแหงการสวดมนต์ตามหนังสือพุทธฤทธิ์ชินบัญชรและ คำสอนสมเด็จโตเลมนี้ นำพาใหทานมีสุขภาพกายแข็งแรง และสุขภาพใจ เขมแข็งตลอดไป ขอบารมีธรรมสมเด็จโตจงคุมครองใหทุกท่านมีแต่ความสุข (น.ธ.เอก, ป.ธ.๗, ร.บ.) รวบรวมและเสริมสารธรรมในนามคณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง โปรดใชเล่มนี้ใหคุมสุดคุม & อ่านแลว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจะ อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาใหทุกครอบครัวมีความสุข โปรดใชเล่มนี้ใหคุมสุดคุม & อ่านแลว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจะ อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝกฝนปญญา พัฒนาการประยุกต์ใชในชีวิตประจำวัน จิตมีสติสัมปชัญญะ รูเท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน
  • 5. ÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ “หมั่นสรางบารมีไว...แลวฟาดินจะช่วย” “ลูกเอย... ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีจากหลวงพ่อองค์ใด เจาจะตองมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน เมื่อบารมีของเจาไม่พอ จึงค่อยขอยืมบารมีของคนอื่นมาช่วย มิฉะนั้นเจาจะเอาตัวไม่รอด เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่เที่ยวไปขอยืมเขามาจนลนตัว เมื่อทำบุญกุศลไดบารมีมา ก็ตองเอาไปผ่อนใชหนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัว แลวเจาจะไม่มีอะไรไวในภพหนา หมั่นสรางบารมีไวแลวฟาดินจะช่วยเจาเอง จงจำไวนะ... เมื่อยังไม่ถึงเวลา เทพเจาองค์ใดจะคิดช่วยเจาไม่ได ครั้นถึงเวลาทั่วฟาจบดินก็ตานเจาไม่อยู่ จงอย่าไปเร่งเทวดาฟาดิน เมื่อบุญเราไม่เคยสรางไวเลย จะมีใครที่ไหนมาช่วยเจา...”เมื่อบุญเราไม่เคยสรางไวเลย จะมีใครที่ไหนมาช่วยเจา...” คำวา บารมี มีคำแปลหลายนัย เปนตนวา ปฏิปทาเครื่องใหถึงฝง, ปฏิปทาเปนเครื่องใหถึงที่สุด, ขอปฏิบัติที่เปนเหตุใหถึงความประเสริฐ, ขอปฏิบัติ เปนไปเพื่อประโยชน์สุขอันยิ่งใหญ หมายถึงคุณความดีที่ไดบำเพ็ญมาอยางยิ่งยวด ในอดีต ใชเรียกความดีในอดีตของพระพุทธเจาครั้งเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว์ ซึ่งทรงบำเพ็ญมาอยางยิ่งยวดติดตอกันมาหลายรอยหลายพันชาติ บารมีที่ พระพุทธเจาทรงบำเพ็ญนั้นมี ๑๐ อยาง เรียกวา ทศบารมี คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา ÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµÍÁµ¸ÃÃÁ¤ÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ “หมั่นสรางบารมีไว...แลวฟาดินจะช่วย” “ลูกเอย... ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีจากหลวงพ่อองค์ใด เจาจะตองมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน เมื่อบารมีของเจาไม่พอ จึงค่อยขอยืมบารมีของคนอื่นมาช่วย มิฉะนั้นเจาจะเอาตัวไม่รอด เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่เที่ยวไปขอยืมเขามาจนลนตัว เมื่อทำบุญกุศลไดบารมีมา ก็ตองเอาไปผ่อนใชหนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัว
  • 6. ÍÒ¹Ôʧʏ¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µñ ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒÏ (âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ) การสวดมนต์ดวยความตั้งใจจนจิตเปนสมาธิ แลวใชสติพิจารณา จนเกิดปญญาและความรูความเขาใจ ประโยชน์สูงสุดของการสวดมนต์ นั่นคือจะทำใหท่านบรรลุผลจนสำเร็จเปนพระอรหันต์ ที่อาตมากลาวเชนนี้ มีหลักฐานปรากฏในพระธรรมคำสอน ที่กลาวไววา โอกาสที่จะบรรลุธรรมเปนพระอรหันต์ มี ๕ โอกาสดวยกัน คือ ๑. เมื่อฟงธรรม ๒. เมื่อแสดงธรรม ๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นก็คือการสวดมนต์ ๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น ๕. เมื่อเจริญวิปสสนาญาณ ๑ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เทศน์ที่บานของเจาพระยาสรรเพชรภักดี มหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) (คัดจากหนังสือ อมตธรรมสมเด็จโต : บานธรรมะโต) คนสวนมากที่เขาใจวาการสวดมนต์ มีประโยชน์นอย และเสียเวลามากหรือฟงไมรู เรื่อง ความจริงแลวการสวดมนต์มีประโยชน์ มากมาย เพราะการสวดมนต์เปนการกลาวถึง คุณความดีของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาวา พระองค์มีคุณวิเศษเชนไร พระธรรมคำสอนของ พระองค์มีคุณอยางไร และพระสงฆ์อรหันตอริยเจา มีคุณเชนไร ๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นก็คือการสวดมนต์ ๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
  • 7. ÊÇ´Á¹µ ¤×Í¡ÒÃࢌÒཇҾÃоط¸à¨ŒÒ การสวดมนต์ทั้งในตอนเชาและตอนเย็น เปนประเพณีที่ปฏิบัติ มาตั้งแตสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธเจาทรงประกาศพระพุทธศาสนา บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายตางพากันมาเขาเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบง เวลาเขาเฝ้าเปน ๒ เวลา นั่นคือ ตอนเชา เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม ตอนเย็น เขาเฝ้าพระพุทธเจาเพื่อฟงธรรม การฟงธรรมเปนการชำระลางจิตใจที่เศราหมองใหหมดไป เพื่อ สำเร็จสูมรรค ผล พระนิพพาน การสวดมนต์นับเปนการดีพรอม ซึ่งประกอบไปดวยองค์ทั้ง ๓ นั่นคือ กาย มีอาการสงบเรียบรอยและสำรวม วาจา เปนการกล่าว ถอยคำสรรเสริญถึงพระคุณอันประเสริฐ ใจ มีความเคารพนบนอบ ต่อคุณพระรัตนตรัย ในพระคุณทั้ง ๓ พรอมทั้งเปนการขอขมาในความ ผิดพลาดหากมี และสักการะเทิดทูนสิ่งที่สูงยิ่ง ซึ่งเราเรียกไดวาเปนการ สรางกุศลซึ่งเปนมงคลอันสูงสุดทีเดียว การสวดมนต์ คือการทำจิตใหมีที่พึ่ง เบิกบาน สงบ ผ่องใส
  • 8. »ÃÐ⪹¢Í§¡ÒÃÊÇ´Á¹µ อาตมภาพขอรับรองแกทานทั้งหลายวา ถาหากบุคคลใด ไดสวดมนต์เชาและเย็นไมขาดแลว บุคคลนั้นยอมเขาสูแดนพระอรหันต์ แนนอน การสวดมนต์นี้ควรสวดใหมีเสียงดังพอสมควร ยอมกอใหเกิด ประโยชน์แกจิตตน และประโยชน์แกจิตอื่น ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตตน คือเสียงในการสวดมนต์จะกลบ เสียงภายนอกไมใหเขามารบกวนจิต ก็จะทำใหเกิดความสงบอยูกับ บทสวดมนต์นั้นๆ ทำใหเกิดสมาธิและปญญาเขามาในจิตใจของผูสวด ที่ว่าเปนประโยชน์แก่จิตอื่น คือผูใดไดยินเสียงสวดจะพลอยให เกิดความรู เกิดปญญา มีจิตสงบลึกซึ้งตามไปดวย ผูสวดก็เกิดกุศล โดยการใหทานทางเสียง เหลาพรหมเทพที่ชอบฟงเสียงการสวดมนต์ มีอยูจำนวนมาก ก็จะมาชุมนุมกันฟง เมื่อมีเหลาพรหมเทพเขามาลอมรอบตัวของผูสวดอยูเชนนั้น ภัยอันตรายตางๆ ก็ไมสามารถกล้ำกรายผูสวดมนต์ได ตลอดจน อาณาเขตและบริเวณบานของผูที่สวดมนต์ ยอมมีเกราะแหงพรหมเทพ และเทวดาทั้งหลายคุมครองภัยอันตรายไดอยางดีเยี่ยม ...การสวดมนต์ เปนการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ เมื่อจิตมีที่พึ่งคือคุณพระรัตนตรัย ความกลัวก็ดี ความสะดุงกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกลาก็ดี ภัยอันตรายใดๆ ก็ดี จะไม่มีแก่ผูสวดมนต์นั่นแล...ก็ดี จะไม่มีแก่ผูสวดมนต์นั่นแล... จิตมีที่พึ่งจึงไม่กลัวภัย ตั้งใจทำตามคำสวดจึงรวยทรัพย์ ปญญาฉลาดดี มีเงินทองเหลือกินเหลือใช ไดเพื่อนๆ มากมาย ความเลวรายจางหายไป และไม่เขามาง่ายหรือมาก
  • 9. »ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ ¾ÃФҶҪԹºÑުà พระคาถาชินบัญชรนี้กลาวกันวา ทานเจาประคุณสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สุดยอดพระมหาเถราจารย์ ๕ แผนดิน แหงกรุงรัตนโกสินทร์ คนพบจากคัมภีร์ใบลานที่ตกทอดมาจากประเทศ ศรีลังกา ตนฉบับเดิมจารึกเปนภาษาสิงหล ทานเจาประคุณสมเด็จฯ พิจารณาเห็นวาเปนคาถาที่มีความศักดิ์สิทธิ์ และทรงพลานุภาพมาก สุดที่จะพรรณนาได จึงนำมาดัดแปลงแกไขเพิ่มเติมเนื้อหาใหสมบูรณ์ ถูกตองตามฉันทลักษณ์ภาษาบาลี และมีความหมายที่ทำใหเกิดสิริมงคล แกผูสวดภาวนาทุกประการ คำวา ชินบัญชร แปลวา กรง หรือเกราะปองกันภัยของ พระพุทธเจา มาจากคำวา ชิน หมายถึง พระชินสีห์ คือพระพุทธเจา บัญชร แปลวา กรง หรือเกราะ เนื้อหาในบทสวดชินบัญชรนั้น เปนการ อัญเชิญพระพุทธเจา ๒๘ พระองค์ เริ่มตั้งแตพระพุทธเจาพระนามวา ตัณหังกร เปนตน มาสถิตอยูในทุกอณูของรางกาย เพื่อเปนการเสริมพลังพุทธคุณใหยิ่งใหญ กอเกิดคุณานุภาพแกผู สวดภาวนา จึงอัญเชิญพระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจา ๘๐ องค์ ซึ่งเปนผูมีบารมีธรรมยิ่งใหญ ตลอดทั้งอาราธนาพระสูตรอันศักดิ์สิทธิ์ ที่มีอานุภาพในดานตางๆ มาสถิตทุกสวนของรางกาย รวมกันสอดคลอง เปนกำแพงแกวคุมกัน ตั้งแตกระหมอมจอมขวัญลงมา หอมลอมรอบตัว ของผูสวดภาวนาพระคาถา จนกระทั่งหาชองโหวใหอันตรายสอดแทรก มิได »ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ ¾ÃФҶҪԹºÑުþÃФҶҪԹºÑުà พระคาถาชินบัญชรนี้กลาวกันวา ทานเจาประคุณสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สุดยอดพระมหาเถราจารย์ ๕ แผนดิน แหงกรุงรัตนโกสินทร์ คนพบจากคัมภีร์ใบลานที่ตกทอดมาจากประเทศ
  • 10. การสวดมนต์หรือบริกรรมมนต์คาถานั้น มีจุดมุงหมายที่สำคัญ ขอหนึ่ง ก็คือเพื่อใหเกิดบุญกุศล มีความสุขสงบแหงจิตใจ และดวย อานุภาพแหงการสวดมนต์นั้น จะทำใหจิตเบิกบาน อารมณ์แจมใส กอใหเกิดอานุภาพในการปกป้องคุมครองชีวิตใหแคลวคลาดปลอดภัย จากอันตรายทุกอยาง ผูใดไดสวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรนี้เปนประจำทุกวัน จะทำ ใหเกิดสิริมงคลสมบูรณ์พูนผล ศัตรูหมูพาลไมกลากล้ำกราย ไปที่ไหน ก็เกิดเมตตามหานิยม เกิดลาภผลพูนทวีขึ้น ขจัดภัยจากภูตผีปศาจ ตลอดจนคุณไสยตางๆ ทำน้ำมนต์รดแกวิกลจริต แกสรรพโรคภัยหายสิ้น เปนสิริมงคลแกชีวิต มีคุณานุภาพตามแตจะปรารถนา ดังคำโบราณวา “ฝอยท่วมหลังชาง” จะเดินทางไปที่ไหนๆ สวด ๑๐ จบแลวอธิษฐาน จะสำเร็จดังเจตนาแล การไหวพระสวดมนต์ คือการอัดฉีดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เขาสูจิตใจเพื่อหลอเลี้ยงและเสริมสรางจิตใจใหเกิดคุณธรรม เปนการ ปดโอกาสความชั่วรายตางๆ มิใหออกมาอาละวาด กอใหเกิดผลดีอื่นๆ อีกนานัปการ การสวดพระคาถาชินบัญชร เปนการนอมนำเอาพลังแหงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ มาเสริมสรางขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิต ดวยความสำนึกและตระหนักรูในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา นำมาปฏิบัติเปน หลักชัยของชีวิต เปนการเสริมเพิ่มพลังใจใหมีชีวิตชีวา ไมหวาดหวั่นพรั่นพรึงตออุปสรรค ปญหาตางๆ เกิดความเปนสิริมงคล ปราศจากทุกข์ โศก โรคภัย สติปญญาผองใส การไหวพระสวดมนต์ คือการอัดฉีดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เขาสูจิตใจเพื่อหลอเลี้ยงและเสริมสรางจิตใจใหเกิดคุณธรรม เปนการ ฝกใจใฝทำดี ดวยการสวดมนต์ จะมีสติปญญา แกปญหาได ทุกอย่าง
  • 11. 10 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´ ¾ÃФҶҪԹºÑުà การสวดมนต์จะสำเร็จประโยชน์แกผูสวดภาวนาอยางแทจริง นั้น ตองเตรียมความพรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ คือ อาบน้ำชำระ รางกายใหสะอาด แตงกายใหเรียบรอยเหมาะสมที่จะทำความดี และ ที่สำคัญคือมีความตั้งใจจริงในการสวดมนต์ เพื่อใหเกิดความสงบ แกจิตใจพรอมที่จะเผชิญกับสถานการณ์ตางๆ อีกสิ่งหนึ่งที่จะตอง จัดเตรียม คือพานดอกไมหรือพวงมาลัยบูชาพระ แตถาไมสามารถ หาไดก็ไมเปนไร เมื่อตระเตรียมเรียบรอยแลว นำพานดอกไมหรือพวงมาลัย ขึ้นบูชาพระรัตนตรัย แลวกราบลง ๓ ครั้ง ตั้งจิตระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และดวงวิญญาณของทานเจาประคุณสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ครั้นจิตสงบนิ่งพรอมที่จะสวดแลว ใหเริ่มสวดมนต์ไปตั้งแต บทกราบพระรัตนตรัย ไปตามลำดับจนจบ ขอสำคัญขณะสวดมนต์ใหเปลงเสียงดังพอประมาณ ออกเสียง ชัดเจน มีสติจดจออยูกับบทสวด แลวสวดภาวนาชาๆ ไมตองรีบสวด ใหจบ ขณะสวดก็นึกภาพตามบทสวดไปดวย เชน บทสวดกลาวถึง พระพุทธเจา ๒๘ พระองค์มาสถิตอยูที่กลางกระหมอมของตน ใหระลึกนึกถึงพระพุทธเจาทั้งหมดมาสถิตที่กลางกระหมอม จะทำใหมี สติปญญาและพลังแหงความคิดเจิดจาสวางไสว รุงเรืองดวยรัศมีแหง พระพุทธคุณ เมื่อทำไดดังนี้ก็จะเกิดผลดีแกตัวเองเปนที่สุด ¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´¡ÒÃàÃÔèÁµŒ¹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÇ´ การสวดมนต์จะสำเร็จประโยชน์แกผูสวดภาวนาอยางแทจริง
  • 12. 11Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ สิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ; พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ) การไหวพระเปนประเพณีที่มีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล มีเรื่องเลาวา เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาประทับ ณ ถ้ำอินทสาลคูหา ทาวโกสีห์พรอมกับเทพบริวาร มาเขาเฝ้าถามปญหาจนหมดความสงสัย เกิดปติปราโมทย์ความเลื่อมใสในพระพุทธ- องค์ทรงลูบแผนดิน ๓ ครั้งพรอมกับเปลงคำวา นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา- สมฺพุทฺธสฺส โดยมิไดกลาวถึงพระสงฆ์ ตอมารัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชนิพนธ์บทกราบ พระรัตนตรัยขึ้นใหม โดยเพิ่มบทธรรมคุณ และสังฆคุณเขามาเพื่อใหสมบูรณ์แบบครบ ทั้ง ๓ รัตนะ ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ) เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาประทับ ณ ถ้ำอินทสาลคูหา ทาวโกสีห์พรอมกับเทพบริวาร ñ. º·¡ÃÒº¾ÃÐÃѵ¹µÃÑÂ
  • 13. 12 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ส๎วากขาโต๑ ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว ; ธัมมัง นะมัสสามิ. ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว ; สังฆัง นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆ์. (กราบ) ๑ อานวา สะหวาก-ขา-โต กิจสำคัญอันหนึ่งที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติจะละเลยมิได คือการสวดมนต์ ไหวพระประจำวัน การสวดมนต์นั้นอยาเขาใจวาเปนการสวดออนวอนเหมือนศาสนาอื่น แตเปนอุบายทำจิตของเราใหสงบ เยือกเย็น มั่นคง และเปลื้องทุกข์ออกจากใจ ทั้งยังเปนวิธีการหนึ่งที่ทำใหเราเขาถึงพระรัตนตรัยไดพรอมกัน ๓ ทาง คือ ๑) ทางกาย ดวยการกราบไหวบูชาสักการะ ๒) ทางวาจา ดวยการสวดสรรเสริญเจริญ พระพุทธคุณ ๓) ทางใจ ดวยการนอมเอาคุณพระรัตนตรัยมาเปนสรณะไวในใจ กราบพระพุทธ ตองรูพระธรรม ฟงคำพระสงฆ์ ชีวิตมั่นคง ปลอดภัย
  • 14. 13Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ บทนี้เปนบทกลาวแสดงความนอบนอมบูชาพระคุณของพระพุทธเจา เหมือนบทไหวครู คำวา นะโม มาจากศัพท์วา นม แปลวา ความนอบนอม มีเรื่องเลาวา เทวดา ๕ องค์ไดเขาเฝ้าพระพุทธเจาแลวเกิดความเลื่อมใส จึงเปลงวาจา คนละวรรค ดังนี้ สาตาคีรายักษ์กลาวคำวา นโม (ความนอบนอม), อสุรินทราหูกลาว คำวา ตสฺส (นั้น), ทาวมหาราชกลาวคำวา ภควโต (พระผูมีพระภาคเจา), ทาวสักกะ กลาวคำวา อรหโต (เปนพระอรหันต์), ทาวมหาพรหมกลาวคำวา สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (พระสัมมาสัมพุทธเจา) แปลความวา ขอนอบนอมแดสมเด็จพระทรงพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ดังนั้น เมื่อกลาวบทนี้จึงเปนการพรรณนาคุณ ของพระพุทธเจาครบทั้ง ๓ ขอ คือ ๑) พระปญญาคุณ ทรงตรัสรูชอบดวยพระองค์เอง ๒) พระวิสุทธิคุณ ทรงเปนผูบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ๓) พระกรุณาคุณ ทรงพระกรุณาสงสารสัตวโลกใหรูแจงเห็นจริง และไดนอมระลึกนึกถึงคุณงามความดี ของพระองค์ แลวเกิดความเอิบอิ่มใจ นอมใจฝกใฝในการทำความดีตลอดไป บทนี้เปนบทกลาวแสดงความนอบนอมบูชาพระคุณของ เหมือนบทไหวครู คำวา นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ. ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น, ซึ่งเปนผูไกล จากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง. ò. º·¹Íº¹ŒÍÁ¾Ãоط¸à¨ŒÒ (สวด ๓ จบ)
  • 15. 14 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ó. º·äµÃÊó¤Á¹ñ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์ เปนที่พึ่ง. ๑ อานวา ไตร-สะ-ระ-นะ-คม แปลวา การถึงพระรัตนตรัยวาเปนที่พึ่งที่ระลึก, ไตร = สาม, สรณะ = ที่พึ่งที่ระลึก หมายถึง การยึดเอาพระรัตนตรัยวาเปนสรณะ ที่พึ่งที่ระลึก คือ พระพุทธเจาชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะกำจัดภัยของสัตว์ทั้งหลาย ดวยการใหถึงสิ่งที่เปนประโยชน์ (ความดี) และนำออกจากสิ่งที่ไมเปนประโยชน์ (ความชั่ว) พระธรรมชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะชวยรักษาคุมครองผูปฏิบัติมิใหตกไปในที่ ชั่ว นำใหพนจากสังสารวัฏ (การเวียนวายตายเกิด) และพระสงฆ์ชื่อวาเปนที่พึ่ง เพราะเปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบแลวนำมาแนะนำสอนใหผูอื่นรูตามไปดวย ó. º·äµÃÊó¤Á¹ó. º·äµÃÊó¤Á¹ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
  • 16. 15Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³ñ อิติป โส ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา พระองค์นั้น ; อะระหัง,1 เปนผูไกลจากกิเลส ; สัมมาสัมพุทโธ,2 เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองค์เอง ; วิชชาจะระณะสัมปนโน,3 เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ๒ ; สุคะโต,4 เปนผูไปแลวดวยดี ; โลกะวิทู,5 เปนผูรูโลกอยางแจมแจง ; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,6 เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา ; สัตถา เทวะมะนุสสานัง,7 เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ; พุทโธ,8 เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม๓ ; ภะคะวาติ.9 เปนผูมีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์. ๑ บทนี้เปนบทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ ๙ ประการ เรียกวา นวหรคุณ (ดูตามเลขอารบิค) ๒ วิชชา แปลวา ความรูแจง มี ๓ คือ ความรูแจงที่ทำใหระลึกชาติได, ความรูแจงที่ทำให รูการเกิดและตายของสัตว์โลกวาเปนไปตามกรรม, ความรูแจงที่ทำใหพระองค์ สิ้นจากอาสวกิเลส จรณะ แปลวา ความประพฤติ หมายถึงขอปฏิบัติที่นำไปสูการบรรลุ วิชาความรูแจงนั้น ๓ ผูรู หมายถึง ทรงเปนผูรูแจงในธรรมอันเปนเครื่องตรัสรู คืออริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ผูตื่น หมายถึง ทรงเปนผูตื่นจากความหลับดวยอำนาจของกิเลส, ผูเบิกบาน หมายถึง ทรงเปนผูมีความสุขความเบิกบาน ความอิ่มใจในภาวะที่พน จากกิเลสนั้น ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³ô. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾Ãоط¸¤Ø³
  • 17. 16 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³ñ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,1 พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว ; สันทิฏฐิโก,2 เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง ; อะกาลิโก,3 เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลไดไมจำกัดกาล ; เอหิปสสิโก,4 เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวาทานจงมาดูเถิด๒ ; โอปะนะยิโก,5 เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว๓ ; ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ.๔,6 เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน. คำสั่งสอนของพระพุทธเจายอใหเหลืออยางเดียวคือ “ความไม่ประมาท” หรือ “สติ” สติ คือความระลึกได ความนึกได ความไมเผลอ ไมหลงลืม แบงเปน ๒ อยาง คือ นึกไดก่อนทำ ก่อนพูด ก่อนคิดในกิจการต่างๆ หากคนมีสตินึกได อยางนี้ ยอมทำงานไมผิดพลาด ไมขาดตกบกพรอง ทำงานไดเรียบรอย นึกได ภายหลัง คือนึกถึงงานที่ทำคำที่พูดไวแลวได ไมลืมเลือน ระลึกอยูเสมอเพื่อหาขอ บกพรอง เพื่อหาทางแกไข หรือเพื่อดำรงความดีไว ใชคูกับ สัมปชัญญะ ความรูตัว คือรูตัวเองอยูเสมอขณะที่ทำ ขณะที่พูด ขณะที่เปนอะไรอยู รูตัวไดอยางนี้ยอมทำ ใหไมลืมตัว ไมหลงงมงาย รูจักหนาที่ รูจักรับผิดชอบ ทำงานดวยความมีเหตุผล ไมทำตามอารมณ์ ทำงานไดรวดเร็ว คลองตัวและไมผิดพลาด ๑ บทนี้เปนบทสวดสรรเสริญธรรมคุณ ๖ ประการ (ดูตามเลขอารบิค) ๒ หมายถึง เปนคำสอนที่เปนความจริง พรอมใหเขามาพิสูจน์และปฏิบัติดวยตนเองกอนจึงเชื่อ ๓ หมายถึง พระธรรมที่เปนสัจธรรมและความดีนั้น ควรเขาไปศึกษาและนอมนำมาปฏิบัติ ๔ อานวา วิน-ยู-ฮี-ติ แปลวา ผูรู หรือ “สติ õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³õ. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃиÃÃÁ¤Ø³ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
  • 18. 17Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ñ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,1 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว๒ ; อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,2 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติตรงแลว๓ ; ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,3 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกข์แลว๔ ; สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,4 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว ; ๑ บทนี้ เปนบทสวดสรรเสริญคุณของพระสงฆ์ ๙ ประการ (ดูตามเลขอารบิค) พระสงฆ์ เปรียบเหมือนดอกไมที่มาจากที่ตางๆ เมื่อเราบูชาพระดวยดอกไมก็เทากับวาเราบูชา พระสงฆ์ ๒ หมายถึง ปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรค (๔) ผล (๔) และพระนิพพาน ๓ หมายถึง ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยที่พระพุทธเจาบัญญัติไว และไมปฏิบัติเพื่อหวังลาภ สักการะ ๔ หมายถึง ปฏิบัติเพื่อใหรูแจงเห็นจริงในสัจธรรมทั้งปวงที่ทำใหหมดจากทุกข์ ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ö. º·ÊÃÃàÊÃÔÞ¾ÃÐÊѧ¦¤Ø³ñ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,1 สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,2 พระสงฆ์คือ สาวกของพระพุทธเจา ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ สืบทอดพระพุทธศาสนา ใหอยู่คู่กับคนไทยตลอดกาล
  • 19. 18 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้คือ :- จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู๑ นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ; อาหุเนยโย,5 เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา ; ปาหุเนยโย,6 เปนสงฆ์ควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ ; ทักขิเณยโย,7 เปนผูควรรับทักษิณาทาน๒ ; อัญชะลิกะระณีโย,8 เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี๓ ; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.9 เปนเนื้อนาบุญของโลก๔ ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ๑ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ คือ คูที่ ๑ เรียกวา พระโสดาบัน แปลวา ผูถึงกระแสแหงพระ นิพพาน มี ๓ ประเภท คือ ผูเกิดอีกชาติเดียว, ผูเกิดอีกเพียง ๒-๓ ชาติ, และผูเกิด อีกไมเกิน ๗ ชาติ ก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๒ เรียกวา พระสกทาคามี แปลวา ผูกลับมาสูโลกนี้อีกครั้งเดียว คือเกิดอีกชาติเดียวก็บรรลุเปนพระอรหันต์ คูที่ ๓ เรียกวา พระอนาคามี แปลวา ผูไมมาสูโลกนี้อีก คือ ผูเปนพระอนาคามีหลังจาก ตายไปแลวจะไปเกิดในพรหมโลกและบรรลุเปนพระอรหันต์ในที่นั้น คูที่ ๔ เรียกวา พระอรหันต์ (อานวา อะระหัน) แปลวา ผูหางไกลจากกิเลส. (ถาอานวา ออระหัน แปลวา ความเปนพระอรหันต) ๒ แปลวา การใหของทำบุญ หมายถึง เปนผูสมควรรับของที่เขานำมาถวาย ๓ แปลวา การประนมมือ หมายถึง เปนผูสมควรรับการยกมือขึ้นกราบไหวจากผูอื่น ๔ เนื้อนาบุญของโลก หมายถึง เปนแหลงเพาะปลูกและเผยแพรบุญคือความดี ที่ยอดเยี่ยมของโลก
  • 20. 19Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ ÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒÇ¹Ò อุกาสะ อุกาสะ ขาพเจาจะเจริญสวดมนต์ภาวนาธรรมบูชาคุณ พระรัตนตรัย เพื่อสรางสมทศบารมีธรรมในจิต มีทาน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา เจริญอิทธิบาททั้ง ๔ ดวยความพอใจในความเพียร ใหความสนใจและความใครครวญ พิจารณา ใหสังหารนิวรณ์ทั้ง ๕ อันมีกามฉันทะ ความพยาบาท ความงวง ขณะปฏิบัติ ความคิดฟุ้งซาน ความลังเลสงสัย ใหมันมลายหายออกไป มีวิตก วิจารณ์ ปติ สิริรวมสุขเอกัคตาเขามาแทนที่ ใหถึงฌานสมาบัติ จนเดินทางเขาสูมรรคาพระอริยบุคคล ลางธุลีกิเลสใหสูญ ตัดมูลอาสวะ ใหสิ้น หางไกลสังโยชน์ทั้งปวง ลวงถึงพระนิพพานที่ยิ่งใหญ ขาพเจาขออาราธนาบารมีพระพุทธเจา พระธรรมเจา และพระ อริยสงฆ์ทุกพระองค์ มีสมเด็จโตแหงวัดระฆังเปนที่สุด จงมาเปนที่พึ่ง แกขาพระพุทธเจา ทำลายทุกข์กายทุกข์ใจใหเหือดหาย ทำลายมาร ตัณหาใหพินาศ ขอใหพนเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยและ อันตรายภัยพิบัติทั้งปวง ขอใหขาพเจามีอายุยืนยาว มีโชคลาภ มีความ สุขสิริสวัสดิ์ เจริญตอไปทั้งในปจจุบัน กาลอนาคต และภพหนา ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เทอญ ฯ บทนี้เปนการตั้งจิตอธิษฐานในการเริ่มตนทำความดีคือการสวดมนต์ เพื่อใหจิตนิ่ง การสวดมนต์ที่จะสำเร็จประโยชน์นั้น ตองมีความพรอมดวยกาย วาจา ใจ กลาวคือ กายตองสำรวมเรียบรอยสงบ วาจา ขณะสวดก็สวดใหถูกตอง ทั้งอักขระและทำนอง ใหมีเสียงดังพอประมาณ และใจตองจดจออยูกับบทสวดนั้น อยาคลอนแคลน เมื่อทำไดเชนนี้ชื่อวาเปนการดีพรอม คุณความดีตางๆ ก็จะ เกิดมีขึ้นอยางแนนอน บทนี้เปนการตั้งจิตอธิษฐานในการเริ่มตนทำความดีคือการสวดมนต์ เพื่อใหจิตนิ่ง การสวดมนต์ที่จะสำเร็จประโยชน์นั้น ตองมีความพรอมดวยกาย ÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒǹÒ÷. ¤Ó͸ÔÉ°Ò¹¨ÔµÀÒǹÒ
  • 21. 20 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ø. ¾ÃФҶҪԹºÑުà ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒÏ (âµ ¾ÃËÁÃѧÊÕ) คำอธิษฐานกอนสวดภาวนา ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปยะตัง สุตะวา. คำแปล : ผูปรารถนาบุตร พึงไดบุตร ผูปรารถนาทรัพย์ พึงได ทรัพย์ บัณฑิตไดฟงมาวา ความเปนที่รักที่ชอบใจของเหลาเทวดาและ มนุษย์มีอยูในกาย (เรา) เพราะเรารูไดดวยกาย. สวดมนต์ตองอธิษฐาน ใหทานตองตั้งใจ คำวา “อธิษฐาน” หมายถึง การตั้งใจมุงผลอยางใดอยางหนึ่ง การตั้งจิตรองขอสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ การนึกปรารถนาสิ่งที่ตองการจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชน ตั้งจิตอธิษฐานขอพรจากพระ นึกอธิษฐานในใจขอใหเดินทางแคลวคลาด เปนตน การใหทานก็เชนกันตองตั้งใจให ดวยความจริงใจ ไมใชใหอยางเสียไมได การสวดพระคาถาชินบัญชรนั้น ก็เพื่อตองการความศักดิ์สิทธิ์เขมขลังมาเปน พลังใหใจคิดดีคิดชอบ ความจริงนั้นสิ่งศักดิ์ตางๆ ไมจำเปนที่จะตองอยูนอกตัวเรา เสมอไป พระพุทธเจาตรัสวา ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน เราสามารถเสกมนต์ใสใจ ดวยตัวเอง ดวยความตระหนักรูและนอมนำคุณของพระรัตนตรัยเขามาไวในตน แลว ทำตนใหเปนสิ่งรองรับพระคุณดังกลาว หรือทำตัวใหเปนเหมือนแทนบูชา ดังคำ กลาวในคาถานำของพระคาถาชินบัญชรที่วา อัตถิ กาเย กายะญายะ.. ซึ่งแปลวา มีอยูในกาย รูไดดวยกาย นี้เปนเครื่องแสดงใหเห็นวาความศักดิ์สิทธิ์หรือพลานุภาพ อันยิ่งใหญของพระรัตนตรัยนั้น เราสามารถเสกสรางใหเกิดขึ้นไดจริงๆ การตั้งใจมุงผลอยางใดอยางหนึ่ง การตั้งจิตรองขอสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือ
  • 22. 21Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ บทนี้เปนมนต์คาถาที่แตงขึ้นมาเพื่อใชสวดภาวนาใหจิตสงบนิ่งกอนที่จะสวด พระคาถาชินบัญชร เพราะตามธรรมชาตินั้นจิตของคนเรามักจะดิ้นรนกวัดแกวงเหมือน ลิงที่วิ่งซุกซนไปโนนมานี่ตลอดเวลา หากเรายังไมมีความพรอมในจิตใจ การสวด ภาวนาพระคาถาชินบัญชรก็ไมสำเร็จผลได ถึงจะสำเร็จแตก็ยังไมเต็มเม็ดเต็มหนวย เพื่อใหการดำเนินชีวิตในแตละวันราบรื่น ไรอุปสรรคขวากหนาม เบื้องตนตองมีจิตใจ ที่มั่นคงไมหวั่นไหว การที่จะมีใจมั่นคงนั้นตองสรางศรัทธาคือความเชื่อมั่นขึ้นในใจ ใหไดกอน ดังพุทธภาษิตวา ศรัทธาที่ตั้งมั่น ย่อมสำเร็จประโยชน์ และศรัทธาที่จะสำเร็จ ประโยชน์อยางแทจริงนั้นตองเปนศรัทธาที่ประกอบดวยปญญา กอนที่จะออกจากบานไปเผชิญกับสิ่งตางๆ ภายนอก หากมีเวลาวางควร เสียสละเวลาสักนิด เพื่อทำจิตใจใหมั่นคงเปนสมาธิ เสริมสรางพลังใจใหแข็งแกรงดวยการ สวดมนต์ อานิสงส์จากการสวดมนต์จะทำใหสมองปลอดโปรงโลงใจ พรอมที่จะเผชิญ กับสิ่งตางๆ อยางมีสติ อิติป โส ภะคะวา ยะมะราชาโน ทาวเวสสุวัณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ. พระคาถาชินบัญชร เพราะตามธรรมชาตินั้นจิตของคนเรามักจะดิ้นรนกวัดแกวงเหมือน ÀÒǹÒÁ¹µ¤Ò¶ÒÇ‹Ò อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ.
  • 23. 22 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ปญหาอุปสรรคตางๆ ที่ถาโถมเขามาหาเรานั้น ถามองกันใหดีๆ ก็คือมารราย ที่จะเขามาบั่นทอนกำลังใจทำใหเราทอแท เพื่อไมใหเราทำความดีสำเร็จ แมพระพุทธเจา กอนที่จะตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ถูกพญามารและเสนามารเขามา ขัดขวางเพื่อมิใหตรัสรู แตพระพุทธองค์ก็ทรงชนะดวยการระลึกถึงบารมี ๑๐ ประการ ทำใหนางวสุนธราแมพระธรณีมาเปนพยาน จนพญามารและเสนาตอง พายแพกลับไป คำวา มาร ในทางพุทธศาสนาแปลวา ผูทำใหตาย, ผูฆา หมายถึงผูขัดขวาง มิใหมีโอกาสทำความดีไดโดยสะดวก หรือผูขจัดคุณงามความดีในบุคคลออกไป มี ๕ อยาง ไดแก ๑) ขันธมาร มารคือรางกาย ๒) กิเลสมาร มารคือกิเลส ๓) อภิสังขารมาร มารคืออกุศลกรรม ๔) เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร ๕) มัจจุมาร มารคือความตาย ๑ บางฉบับเปน ชะยาสะนากะตา แปลไดความเหมือนกัน ๒ หมายถึง ที่ประทับใตตนพระศรีมหาโพธิ์ในวันตรัสรูของพระพุทธเจา ๓ อานวา อะ-มะ-ตะ-รด หมายถึง รสแหงธรรมที่เปนอมตะคืออริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ๑. ชะยาสะนาคะตา๑ พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปวิงสุ นะราสะภา. ปญหาอุปสรรคตางๆ ที่ถาโถมเขามาหาเรานั้น ถามองกันใหดีๆ ก็คือมารราย ที่จะเขามาบั่นทอนกำลังใจทำใหเราทอแท เพื่อไมใหเราทำความดีสำเร็จ แมพระพุทธเจา คำแปล : พระพุทธเจาผูองอาจ ในหมูชนประทับนั่ง ณ ชัยอาสน์- บัลลังก์๒ ทรงชนะพญามาร ผูพรั่ง พรอมดวยเสนามารแลว เสวย อมตรส๓ คืออริยสัจ ๔ ประการ อันทำใหผูรูแจงขามพนจากทุกข์ ทั้งปวงได.
  • 24. 23Êӹѡ¾ÔÁ¾àÅÕè§àªÕ§ à¾ÕÂÃà¾×è;ط¸ÈÒʹ กลางกระหมอมเปนศูนย์กลางแหงชีวิต เปนสวนที่เปนสุดยอดของรางกาย ถือเปนอวัยวะที่สูงที่สุด อีกนัยหนึ่งจึงเปนที่ตั้งของเป้าหมายสูงสุดแหงชีวิตดวย คนเราตองมีเป้าหมายและตองไปถึงเป้าหมายที่ตั้งไวใหได ในทางพระพุทธศาสนาสอน ไววา คนที่จะทำอะไรสำเร็จนั้นตองตั้งอยูในคุณธรรมที่เรียกวา อิทธิบาท แปลวา คุณเครื่องหรือขอปฏิบัติที่นำไปสูความสำเร็จ มี ๔ อยาง คือ ๑) ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใครในงานที่ทำ ๒) วิริยะ ความเพียร ลงมือทำดวยความหมั่นขยันอดทน ๓) จิตตะ ความเอาใจใส ไมทอดทิ้งธุระในกิจการงานที่ทำ ๔) วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณา หาเหตุและผลในงานที่ทำวาดีหรือไมอยางไร เมื่อทำไดทั้งหมดนี้ยอมมีความ สำเร็จเปนเบื้องหนา ๑ คือ ๑. พระตัณหังกร ๒. พระเมธังกร ๓. พระสรณังกร ๔. พระทีปงกร ๕. พระโกณฑัญญะ ๖. พระมังคละ ๗. พระสุมนะ ๘. พระเรวตะ ๙. พระโสภิตะ ๑๐. พระอโนมทัสสี ๑๑. พระปทุมะ ๑๒. พระนารทะ ๑๓. พระปทุมุตตระ ๑๔. พระสุเมธะ ๑๕. พระสุชาตะ ๑๖. พระปยทัสสี ๑๗. พระอัตถทัสสี ๑๘. พระธัมมทัสสี ๑๙. พระสิทธัตถะ ๒๐. พระติสสะ ๒๑. พระผุสสะ ๒๒. พระวิปสสี ๒๓. พระสิขี ๒๔. พระเวสสภู ๒๕. พระกกุสันธะ ๒๖. พระโกนาคมนะ ๒๗. พระกัสสปะ ๒๘. พระโคตมะ (องค์ปจจุบัน) ๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา. คำแปล : พระพุทธเจา ๒๘ พระองค์๑ มีพระพุทธเจาทรงพระนามวาตัณหังกร เปนตนเหลานั้น ขออัญเชิญพระพุทธเจา ผูเปนจอมมุนีทุกพระองค์มาประดิษฐาน ณ กลางกระหมอมของขาพเจา.
  • 25. 24 ¾Ø·¸Ä·¸ÔìªÔ¹ºÑÞªÃáÅФÓÊ͹ÊÁà´ç¨âµ ศีรษะเปนที่บรรจุสมองซีกซายใชขบคิดพิจารณาเหตุและผล สวนสมอง ซีกขวาใชคิดจินตนาการสรางสรรค์สิ่งตางๆ เปนศูนย์กลางแหงการคิด การวางแผน การสรางเป้าหมาย และวิธีการที่จะทำใหบรรลุเป้าหมายนั้น บทนี้เปนการอัญเชิญ พระพุทธเจามาประดิษฐานบนศีรษะเพื่อใหเกิดความคิดแตกฉาน คิดดี มีเป้าหมาย การอัญเชิญพระธรรมประดิษฐานที่ดวงตาทั้งสองขาง ธรรมชาติสรางดวงตา ใหเรามา ๒ ขางนั้นเพื่อจะใหมองดูสิ่งตางๆ ใหไดมาก แบงออกเปน ๒ อยาง คือ ๑) ตานอก หมายถึงดวงตาคือตาเนื้อ ๒) ตาใน หมายถึงความรูและสติปญญา ดวงตา สองประเภทนี้มีความสำคัญมากในการดำเนินชีวิตของแตละคน ตานอกใชมอง สิ่งตางๆ สวนตาในสำคัญที่สุด เพราะแมจะมีตาเนื้อมองเห็นทุกอยาง แตถาขาดสติ ปญญาแลวไมสามารถดำเนินชีวิตใหดีได แตคนตาบอดหากมีปญญาก็เลี้ยงชีวิตได ไมยากนัก การอัญเชิญพระสงฆ์ประดิษฐานอยูที่อก แสดงถึงความฮึกเหิมกลาหาญ สามารถตอสูกับอุปสรรคปญหาตางๆ ได เมื่อคบเพื่อนฝูงก็ตองมีความเขาอกเขาใจกัน ๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ศีรษะเปนที่บรรจุสมองซีกซายใชขบคิดพิจารณาเหตุและผล สวนสมอง ซีกขวาใชคิดจินตนาการสรางสรรค์สิ่งตางๆ เปนศูนย์กลางแหงการคิด การวางแผน คำแปล : ขออัญเชิญพระพุทธเจา ประดิษฐานบนศีรษะของขาพเจา พระธรรมประดิษฐานที่ดวงตา ทั้งสองของขาพเจา พระสงฆ์ผูเปน อากรบอเกิดแหงคุณความดีทั้งปวง อยูที่อกของขาพเจา.