SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
Descargar para leer sin conexión
บทสวดมนต์
พร้อมคาแปลบางส่วนจากเทปเสียง
เจริญทิพย์มนต์ ของ ท่านพ่อลี ธัมมธโร วัดอโศการาม
(เสียงสวดนี้จัดทาโดยคณะศิษย์ท่านพ่อลี)
ทิพย์มนต์ , โพชฌงคปริตร, อภยปริตรปริตร, โอสถะปริตร
คาสวดพระคาถามหาการุณิโก, คาสวดธัมมะจักร และสัพพมังคลคาถา
เจตนารมณ์ผู้จัดทา
ผู้จัดทามีเจตนาที่จะเผยแพร่บทสวดเหล่านี้ ให้กับผู้ที่มีความสนใจในการสวดมนต์ เพื่อยังให้เกิดประโยชน์ต่อ
ตนเอง และผู้อื่น ทาให้ผู้ที่พึงเจริญมนต์เหล่านี้อยู่เป็นนิจ มีสุขภาพแข็งแรงยิ่งขึ้น มีสุขภาวะทางจิตใจที่ดี อีกทั้งยังเป็นศิริ
มงคลแก่ผู้นั้น
บทสวดมนต์ทั้งหมดที่ถอดความได้จากเทปนั้น มีบางส่วนที่ขาดหายไปซึ่งผู้จัดทาได้ทาการปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว
ประกอบไปด้วย
1. ทิพย์มนต์ (สวดธาตุ)
2. โพชฌงคปริตร
3. อภยปริตร(พระคาถายันทุน นิมิตตัง)
4. โอสถะปริตร (พระคาถากันโรคภัยไข้เจ็บ)
5. คาสวดพระคาถามหาการุณิโก
6. คาสวดธัมมะจักร
7. สัพพมังคลคาถา
ทั้งนี้ผู้จัดทาข้อให้ผู้ที่สนใจศึกษาใช้บทสวดมนต์อย่างมีวิจารณญานผู้จัดทาได้พยายามสอบทานมา
จากแหล่งอ้างอิงที่หลากหลายเพื่อให้มีความถูกต้องที่สุดหากมีข้อผิดพลาดประการใดบทสวดนั้น ทางผู้จัดทา
ต้องขอขมาในพระรัตนตรัย และผู้สนใจศึกษาทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วย และข้อความกรุณาให้ผู้นั้นช่วยแจ้ง
ข้อผิดพลาดผ่านทาง szaqwedc@gmail.com เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในครั้งต่อไปด้วยหากท่าน
ใดต้องการนาไปเผยแพร่ให้นาไปเผยแพร่ได้ทันทียิ่งเผยแพร่มากเท่าไรก็ยิ่งดีสิ่งใดถูกต้องเหมาะสมไม่ขอสงวน
ลิขสิทธิ์ใดใดทั้งสิ้น แต่ถ้าผิดก็ขอสงวนสิทธิ์ไว้นะครับ
เมื่อได้ไปแล้วก็หมั่นสวดให้เป็นนิจอันจะก่อให้เกิดอานิสงค์นานับประการกับตัวผู้สวด อีกทั้งยังเป็นทาง
หนึ่งที่ช่วยปัญหาหลาย ๆ ปัญหาของสังคมยุคปัจจุบันด้วยโมทนากับทุกท่านครับ
ในนภา
สมาชิกชาวเว็บพลังจิตดอทคอม
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
สารบาญ
เรื่อง หน้า
พระคาถาทิพย์มนต์ 1
วาโย 3
เตโช 6
อาโป 8
ปฐวี 11
อากาศ 14
วิญญาณ 16
พระคาถาโพชฌังคปริตร 19
พระคาถาอะภะยะปริตร 22
พระคาถาโอสถะปริตร 23
พระคาถามหาการุณิโก 26
คาสวดธัมมะจักร 28
สัพพมังคลคาถา 33
ความเป็นมาของบทสวดทิพย์มนต์ 35
เมื่อข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ถวายครูอาจารย์ 37
พญานาคริมฝั่งโขงมาอนุโมทนาบุญ 39
การสวดทิพยมนต์ 42
ในกรณีสวดให้คนป่วย 43
ในกรณีสวดสืบชะตาต่ออายุ 44
มหาอานิสงส์ของบทสวดต่างๆ 46
บทเกริ่นนา
ถอดความจากเทปบันทึกเสียง ของคณะศิษย์ท่านพ่อลี
ต่อไปนี้จะได้เจริญทิพย์มนต์ของพระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์
(ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) ก่อนที่จะสวดจะขอกล่าวถึงความเป็นมาที่ท่านพ่อลีท่าน
ได้ปรารภไว้ ทิพย์มนต์นี้จะเป็นเครื่องจูงใจให้ผู้ปฏิบัติได้บรรลุถึงความบริสุทธิ์
และให้ผลดีแก่ผู้ท่องบ่น เพราะเป็นเรื่องในตัวของตัวเอง
ธรรมดาคนที่เกิดมาย่อมอาศัยธาตุทั้งหก ธาตุเหล่านั้นสะสมขึ้นด้วยการ
กระทาของตนเอง ดีบ้างชั่วบ้าง เมื่อเป็นเช่นนี้ ธาตุเหล่านั้นย่อมลงโทษแก่ผู้
อาศัยอยู่เปรียบเสมือนกับเด็ก มันเป็นสิ่งที่คอยรบกวนใจอยู่เสมอ ฉะนั้นการสวด
มนต์ก็เท่ากับว่า เราเลี้ยงเด็กบารุงเด็กให้ได้รับความสมบูรณ์ เมื่อเด็กได้รับ
ความสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว ผู้ใหญ่ย่อมได้รับความสะดวกสบาย ดังนั้นถ้า
ใครเสกบ่นก็เท่ากับว่า เราเลี้ยงเด็กแล้วด้วยอาหาร เรากล่อมเด็กแล้วด้วยเพลง
อันไพเราะ คือ พุทธคุณ อานาจพุทธคุณนี้อาจจะทาให้ธาตุของตนให้บริสุทธิ์ขึ้น
เป็นธาตุกายสิทธิ์ เหมือนแร่ธาตุที่มีอยู่บนโลก ย่อมแล่น หรือดึงดูดถึงกันได้ทุก
วินาที หรือเปรียบเสมือนสายไฟฟ้า ส่วนมนต์คาถาที่สวดเปรียบเหมือนกระแสไฟ
เมื่อมุ่งไปทิศใดย่อมถึงที่นั้นๆ อาจจะทาให้ดินฟ้าอากาศเป็นมงคล เพราะมนต์
บทนี้เป็นมนต์กบิลฤาษีปนอยู่ด้วย ตามเรื่องที่เล่าไว้ดังนี้
ในอดีตกาลมีฤาษีตนหนึ่งไปเจริญทิพย์มนต์อยู่ในป่าสัก ณ ประเทศอินเดีย
ตามตานานเล่าว่าในป่านั้นเป็นมหามงคล เช่น ต้นไม้ทั้งหลายสับเปลี่ยนกันเกิด
ดอกออกผลเปลี่ยนสลับกันอยู่ทุกฤดูกาล มีน้าใสสะอาด สัตว์ตัวไหนเจ็บป่วยวิ่ง
ผ่านเข้าไปได้กินน้าในที่นั้น อาการป่วยนั้นจะสูญสิ้นไป ใบหญ้าและเถาวัลย์สด
ชื่นอยู่เป็นนิจ สัตว์ที่ดุร้ายและโหดร้ายเบียดเบียนกัน เมื่อเข้าไปผ่านในสถานที่
นั้น ก็ราวกับว่าเป็นเพื่อนเป็นมิตรกันเอง สัตว์ทั้งหลายก็อาศัยป่านั้นอยู่โดยความ
รื่นเริง กลิ่นโสโครก ซากสัตว์ต่างๆ ที่ตายในที่นั้นไม่ปรากฏ ถ้าหากว่าความตาย
จะมาถึงตนก็ต้องดิ้นรนหนีไปตายที่อื่น
ในที่นี้ พวกชาวศากยะสกุลวงศ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ไปตั้งเมือง
หลวงอยู่ ณ ที่นั้น เรียกว่ากรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งยังเป็นบ้านเมืองมาจนทุกวันนี้ นี่เกิด
จากความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งกบิลฤาษีได้ไปเจริญพุทธมนต์อยู่ในที่นั้น
วิธีเจริญของฤาษีตนนั้น วาระแรกเขาได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ได้
เจริญมนต์บทนี้อยู่ตลอดเจ็ดวัน วาระที่สองเขาหันหน้าไปทางทิศอุดร วาระที่สาม
เขาหันหน้าไปทางทิศใต้ วาระที่สี่เขาได้หันหน้าไปทางทิศตะวันตก วาระที่ห้าเขา
ได้หันหน้าลงไปใต้พื้นปฐพี วาระที่หกเขาได้ยกมือแหงนหน้าขึ้นไปในอากาศทา
จิตให้สะอาดเอารัศมีของดวงดาวเป็นนิมิตร วาระที่เจ็ดเขาได้เจริญอานาปา
ปล่อยลมของเค้าเองออกทุกทิศ โดยอานาจแห่งกาลังจิตที่ประกอบด้วยพรหม
วิหารทั้งสี่ ที่เรียกว่า ทิพย์มนต์ ดังนี้
เล่ามานี้ตามเรื่องของชาวอินเดียเล่าให้ฟัง ต่อจากก็นั้นก็ให้นึกถึงพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าที่บริสุทธิ์ด้วยคุณธรรมอันเลิศ จนพระองค์สามารถจะเสก
ธาตุของพระองค์เองให้บริสุทธิ์ยิ่งกว่าธาตุใดใดทั้งหมดในโลก เช่น พระบรมธาตุ
อันเป็นธาตุกายสิทธิ์มีปรากฏอยู่ในผู้เคารพนับถือ ได้ทราบว่าเสด็จมาบ้าง เสด็จ
หนีบ้าง ซึ่งเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดอยู่มาก สิ่งเหล่านี้ก็สาเร็จมาจากดวงจิตอัน
บริสุทธิ์นั่นเอง เมื่อจิตบริสุทธิ์แล้วธาตุทั้งหกก็พลอยบริสุทธิ์ไปด้วย เมื่อธาตุ
เหล่านี้เนื่องอยู่ในโลกก็อาจทาโลกให้ได้รับความชุ่มเย็นไปด้วยก็ได้ เพราะธาตุ
ทั้งหมดย่อมเนื่องถึงกัน
ถ้าพวกเราพุทธบริษัทตั้งใจประพฤติปฏิบัติเช่นนั้น เชื่อแน่ว่าต้อง
ได้รับผลดีตามจานวนของปริมาณ ถ้าหากว่าจิตมิได้ฝึกหัดในทางนี้ มัวเมาแต่
สะสมความชั่วใส่ตนแล้ว จิตก็ต้องเดือดร้อน อานาจแห่งความร้อนของดวงจิตก็
จะทาให้ธาตุในตัวทุกส่วนร้อนเป็นไฟไปด้วย ไฟเหล่านั้นก็จะต้องระบายไปในที่
ต่างๆทั่วโลก ความร้อนอันนี้เมื่อมีปริมาณมากขึ้นก็จะจับกลุ่มกันขึ้นเป็น
เครื่องสนับสนุนช่วยแสงอาทิตย์ให้แรงกล้า แล้วก็ตามอากาศธาตุ ดิน น้า
ไฟ ลมให้วิบัติเปลี่ยนแปลงไปโดยอาการต่างๆ เช่น ฤดูทั้งสามก็จะไม่คงที่
เมื่อเป็นเช่นนี้มนุษย์ที่อาศัยอยู่ก็จะต้องวิบัติ หรือเดือดร้อนไปตามกัน ขั้นที่สุด
ของความชั่วก็จะทาให้โลกที่เราอาศัยอยู่นี้แตกสลายไป ที่เค้าเรียกว่า ไฟประลัย
กัลป์ ไหม้โลก
คนเราไม่ได้นึกคิดจึงเหมาให้ธรรมชาติเป็นเองเสียโดยมาก เมื่อเป็น
เช่นนี้ก็ไม่ใช่นักเหตุผล เพราะสิ่งทั้งหลายต้องมีเหตุจึงมีผล โลกที่ปรากฏอยู่ย่อม
สาเร็จมาจากดวงจิตเป็นตัวเหตุ จิตดี โลกต้องดี จิตชั่วโลกต้องชั่ว ฉะนั้นต่อไปนี้
จะได้เริ่มต้นเจริญทิพย์มนต์ ณ บัดนี้
1
พระคาถาทิพย์มนต์
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ,
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ,
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ,
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ
พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก
ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก
สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก
2
ทุติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง
ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง
ทุติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง
ตะติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้า ขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม
3
ตะติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้า ขอถึงพระธรรม ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม
ตะติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
ข้าพเจ้า ขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต
ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน
ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม
วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหังสัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
4
วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ)
วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
5
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ,อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตารักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
6
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ
เตโช จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
เตโช จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ)
เตโช จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
7
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
8
มะนุสสานัง ปิโย โหติ,อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตา รักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
อาโป จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
9
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
อาโป จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ)
อาโป จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
10
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตารักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
11
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
ปะฐะวี จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
12
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ)
ปะฐะวี จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
13
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินังปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตา รักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
14
อากาสา จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
อากาสา จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ)
อากาสา จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
15
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานัง พระกรุณาคุณ)
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ,
อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตารักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
16
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
วิญญาณัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
17
วิญญาณัญจะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ)
วิญญาณัญ จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
18
ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,
สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา,
จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินังปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ,
อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตา รักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน,
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
19
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
พระคาถาโพชฌังคปริตร
โพชฌังโค สติสังขาโต,
ธัมมานัง วิจะโย ตะถา,
วิริยัมปีติปัสสัทธิ-
โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร,
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา,
สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา,
ภาวิตา พะหุลีกะตา,
สังวัตตันติ อภิญญายะ,
นิพพานายะ จะ โพธิยา,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
โสตถิ เต โหตุสัพพะทา.
เอกัสมิง สะมะเย นาโถ,
โมคคัลลานัญจะ กัสสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา,
20
โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ,
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา,
โรคา มุจจิงสุง ตังขะเณ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
เอกะทา ธัมมะราชาปิ,
เคลัญเญนาภิปีฬิโต,
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง,
สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา,
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง,
มัคคาหะตะกิเลสา วะ,
ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
21
บทแปล โพชฌังคปริตร
โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค์ วิริยะสัม
โพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ และอุเบกขาสัม
โพชฌงค์ ๗ ประการเหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้า ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้
ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ
ตรัสรู้ และเพื่อนิพพาน
ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ
ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระมหากัสส
ปะเป็นไข้ ได้รับความลาบาก จึงทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง
ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชมยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌงคธรรม โรคก็หายได้ในบัดดล
ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ
ในครั้งหนึ่ง องค์พระธรรมราชาเอง (พระพุทธเจ้า) ทรงประชวรเป็นไข้หนัก รับสั่งให้
พระจุนทะเถระ กล่าวโพชฌงค์นั้นนั่นแลถวายโดยเคารพ ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย
หายจากพระประชวรนั้นได้โดยพลัน
ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ
ก็อาพาธทั้งหลายนั้น ของพระผู้ทรงคุณอันยิ่งใหญ่ทั้ง ๓ องค์นั้น หายแล้วไม่กลับ
เป็นอีก ดุจดังกิเลส ถูกอริยมรรคกาจัดเสียแล้ว ถึงซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา
ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ เทอญ.
22
พระคาถาอะภะยะปริตร
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ,
โยจามะนาโปสะกุณัสสะ สัทโธ,
ปาปัคคะโห ทุส สุปินัง อะกันตัง,
พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ,
โยจามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโธ,
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง,
ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
โยจามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโธ,
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง,
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ
คาแปล อภัยปริตร
นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด
เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด
23
บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่
ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระพุทธเจ้า ฯ
นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด
เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด
บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่
ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระธรรมเจ้า ฯ
นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด
เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด
บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่
ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระสังฆเจ้า ฯ
พระคาถาโอสถะปริตร
สักกัตตะวา พุทธะระตะนัง,
เพราะทาความเคารพพระพุทธรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ
24
หิตัง เทวะมะนุสสานัง,
เป็นประโยชน์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทธะเตเชนะ โสตถินา,
ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้า
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ,
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต,
ขอทุกข์ทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี
สักกัตตะวา ธัมมะระตะนัง,
เพราะทาความเคารพพระธรรมรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ
ปะริฬาหูปะสะมะนัง,
เป็นเครื่องระงับความกระวนกระวาย
ธัมมะเตเชนะ โสตถินา,
ด้วยเดชแห่งพระธรรมรัตนะ
25
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ,
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
ภะยา วูปะสะเมนตุ เต,
ขอภัยทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี
สักกัตตะวา สังฆะระตะนัง,
เพราะทาความเคารพพระสงฆรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง,
เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา
เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
สังฆะเตเชนะ โสตถินา,
ด้วยเดชแห่งพระสงฆ์
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ,
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
26
โรคา วูปะสะเมนตุ เต,
ขอโรคทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี
พระคาถามหาการุณิโก
มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
(สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์
ทรงประกอบด้วยพระมหากรุณา ทรงบาเพ็ญพระบารมีทั้งปวง
เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด
ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า)
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
(ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะในชัยมงคลพิธี
27
ดุจพระจอมมุนีผู้ยังความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ชาวศากยะ
ทรงมีชัยชนะมาร ณ โคนต้นมหาโพธิ์ทรงถึงความเป็นเลิศยอดเยี่ยม
ทรงปีติปราโมทย์อยู่เหนืออชิตบัลลังก์อันไม่รู้พ่าย ณ โปกขรปฐพี
อันเป็นที่อภิเษกของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ฉะนั้นเถิด)
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ
(เวลาที่กาหนดไว้ดี งานมงคลดี รุ่งแจ้งดี ความพยายามดี ชั่วขณะหนึ่งดี
ชั่วครู่หนึ่งดี การบูชาดี แด่พระสงฆ์ผู้บริสุทธิ์ กายกรรมอันเป็นกุศล
วจีกรรมอันเป็นกุศล มโนกรรมอันเป็นกุศล ความปรารถนาดีอันเป็นกุศล
ผู้ได้ประพฤติกรรมอันเป็นกุศล ย่อมประสบความสุขโชคดี เทอญ)
28
คาสวดธัมมะจักร
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
29
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว
ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหมปาริสัชชา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่า
ชั้นปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
30
พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหมปโรหิตา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นพรหมปาริสัชชาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่มหาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าพรหมปโรแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่ปริตตาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นมหาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อัปมาณาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นปริตตาภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่น ฯ
31
อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อาภัสสราพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอัปมาณาภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อัปมาณาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอาภัสสราพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุภกิณหกาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอัปปมาณสุภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่เวหัปผลาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นสุภกิณหกาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
32
เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อวิหาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอตัปปาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อตัปปาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอวิหาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุทัสสาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นอตัปปาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุทัสสีพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นสุทัสสาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
33
สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา,
อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อกนิฎฐกาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า
เหล่าชั้นสุทัสสีพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
สัพพมังคลคาถา
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะพุทธานุภาเวนะ
ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
34
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะธัมมานุภาเวนะ
ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมทั้งปวง
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง
ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
รักขันตุ สัพพะเทวะตา
ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะสังฆานุภาเวนะสะทา
ด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
35
ความเป็นมาของบทสวดทิพย์มนต์
คัดลอก และปรับปรุง จากบทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม
ผู้เขียนได้ขออนุญาต หลวงปู่หลอด ผู้เมตตาสอนบทสวดทิพย์มนต์ให้แก่
ผู้เขียน เพื่อนามาตีพิมพ์ไว้ในหนังสือ เพื่อประโยชน์และแผ่อานิสงส์ ให้ผู้ที่มีความ
สนใจสวดโดยทั่วกัน
ย้อนไปเมื่อ พ.ศ. 2500 หลวงปู่หลอดได้เดินทางจากป่า มาสู่กรุงเทพฯ เป็น
ครั้งแรก ท่านได้มาจาพรรษาอยู่ที่ วัดอโศการาม ของ ท่านพ่อลี ศิษย์ของ หลวงปู่มั่น
ซึ่งมีกิตติศัพท์โด่งดังมาก ท่านพ่อลีได้จัดงานฉลองกึ่งพุทธกาลขึ้นทีวัดอโศการาม ได้
มีพิธีใหญ่โตหลายประการ อาทิเช่น การจัดให้มีการบวชพระ 2,500 รูป บวชชีพ
ราห์ม 2,500 คน โดยที่ทางวัดเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ปรากฏว่า มีศรัทธาชาว
พุทธหลั่งไหลเข้ามาขอบวช มาปฏิบัติธรรม มาฟังเทศน์ มาบริจาคทรัพย์ทาทานสนั่น
หวั่นไหว เป็นเวลา 15 วัน 15 คืน ผู้คนหลั่งไหลกันมาชุมนุมนับหมื่น ๆ คน
หลวงปู่หลอดเล่าว่า เฉพาะผ้าที่นามาตัดเป็นผ้าไตร ผ้าขาวนั้น เป็นจานวน
พัน ๆ ม้วน คนที่ตัดผ้าตัดกันจนแทนเป็นลม โรงทานเลื้ยงไม่อั้น ข้าวปลาอาหารขน
กันมามากมาย ขนาดต้องใช้รถสิบล้อขนมา ทุกอย่างในงานฟรีหมด หมดเงินค่าบวช
พระ บวชเณร เฉพาะงานนั้นเป็นสิบล้าน นั่นคือ 36 ปีที่ผ่านมา
36
ถ้าหากเรานับในสมัยนี้ไม่ต่ากว่า 100 ล้านบาท พระภิกษุสายหลวงปู่มั่นต่างก็
หลั่งไหลเข้ามาในงานนี้เนืองแน่น ที่พิเศษสุดก็คือ พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธ 25
ศตวรรษ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สวดพุทธาภิเษก 15 วัน 15 คืน สวดมนต์กัน
สนั่นทั้งวัดอโศการาม และบทสวดพิเศษที่ถูกบรรจุลงไป ก็คือ บททิพย์มนต์ นั่นเอง
ซึ่งท่านพ่อลี เป็นผู้ค้นพบจากพระไตรปิฎก ท่านนามาศึกษา และนามาให้พระเณร
แม่ชี ที่วัดอโศการามได้สวดกัน หลังจากทาวัตรเช้า วัตรเย็นแล้ว ท่านจะให้สวดทิพย์
มนต์ต่อไปเป็นกิจวัตรทุกวัน และเมื่อมีงานพุทธาภิเษกก็จะนาบทสวดทิพย์มนต์
มาร่วมสวดทุกครั้งไป
ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าสมณโคดม เสวยพระชาติเป็นฤาษีอยู่ในป่า ท่านได้
สวด ทิพย์มนต์ เป็นประจาทุกวัน มีสิ่งที่น่าอัศจรรย์เกิดขึ้นคือ บรรดาสัตว์ต่าง ๆ ที่
อาศัยอยู่ในป่านั้น เมื่อได้เข้ามาอยู่ในบริเวณที่พานักของพระฤาษี เสือ หมี เก้ง กวาง
เหล่านี้ จะกลายเป็นมิตรกันทันที ไม่มีการไล่ล่า ทาลายกัน สัตว์เล็กและสัตว์
ใหญ่ ต่างพากันเป็นมิตรต่อกัน ด้วยอานุภาพแห่งทิพย์มนต์ ที่แผ่ออกไปทุกวันในเขต
ที่พระฤาษีบาเพ็ญอยู่
37
เมื่อข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ถวายครูอาจารย์
คัดลอก และปรับปรุงมาจาก บทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม
เมื่อปี 2535 หลวงปู่หลอดแห่งวัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนา) ได้อบรมการ
ภาวนาแก่ข้าพเจ้าและหมู่คณะคราวใด ท่านจะชอบให้ข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ด้วย
ทุกครั้ง ข้าพเจ้าจึงพยายามสวดให้ขึ้นใจ คราใดที่หลวงปู่หลอดมีอาพาธ เช่นเป็น
หวัด หรือเป็นไข้ใด ๆ ข้าพเจ้ามักสวดทิพย์มนต์ถวาย รวมทั้งแนะนาหมู่คณะสวด
ทิพย์มนต์ นั่งสมาธิ ภาวนา แผ่ส่งบุญนานาชนิด ให้ท่านทุเลาจากอาการอาพาธ
บางครั้งท่านสั่งให้ข้าพเจ้าสวดถวายให้เฉพาะ และช่วงที่ไถ่ชีวิตโคกระบือ ถวายกุศล
ให้หลวงปู่ครูบาอาจารย์ ข้าพเจ้าได้สวดทิพย์มนต์ถวายให้จานวนหลายสิบรูป
รวมทั้งสวดถวายสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ในคราวเสด็จประเทศ
จีนแดงด้วย
วันหนึ่ง ในเดือนสิงหาคม 2535 ได้มีโอกาสเดินทางไปภาคอิสาน ได้กราบ
นมัสการ หลวงปู่บัวพา แห่ง วัดป่าพระสถิตย์ อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
ช่วงนั้น หลวงปู่บัวพามีอาพาธมาก หมอได้ให้ออกซิเจนและเจาะช่องท้อง เพื่อให้
อาหารทางสายยาง ผู้เขียนและคณะมีความสลดใจมาก จึงกราบเรียนกับท่านว่า น่า
เสียดายเหลือเกินที่เรามาพบท่านช้าเกินไป แต่ด้วยจิตเป็นกุศล ปรารถนาให้ท่าน
หมดเวทนาลง จึงได้ชวนกันสวดทิพย์มนต์ที่ข้างเตียงท่าน ขณะที่สวดอยู่นั้น ผู้เขียน
38
ก็มองเห็นอาการปิติของท่านอย่างชัดเจน มือท่านสั่นไหวตลอด ใบหน้าแล้วแววตา
แสดงความ ปิติออย่างสุดซึ้ง และผู้เขียนได้ไปจัดการซื้อปลาที่ตลาด ใส่กะละมังมา
ร้อยกว่าตัว ปลาดุกขนาดเท่าลาแขน ให้ท่านได้อนุโมทนา แล้วนาไปปล่อยที่แม่น้า
โขงใกล้ ๆ วัดท่าน และได้ขออนุญาตโทรศัพท์ทางไกลจากวัดของท่านมายังโรงฆ่า
สัตว์ปทุมธานี เพื่อขอไถ่ชีวิตกระบือ 1 ตัว เวลานั้น ท่านเกิด ปิติมาก ขยับตัวโบกมือ
ไปมา ผู้เขียนรู้สึกสงสารท่านจับใจ ได้กราบลาท่านขับรถกลับกรุงเทพฯ แล้วได้เล่า
เรื่องการเดินทางไปนมัสการ หลวงปู่บัวพา และเล่าอาการต่าง ๆ ของท่านให้ หลวงปู่
หลอดฟัง
หลวงปู่หลอดได้เอ่ยขึ้นว่า “หลวงปู่บัวพานั้นเกิดปิติมาก ได้กล่าวว่า 5 ปีที่นอน
อาพาธ มีเวทนามาก ยังไม่เคยมีใครมาถวายกุศลให้เช่นนี้มาก่อนเลย รู้สึกปิติมาก
และดีใจที่คณะของข้าพเจ้าได้รับการอบรมจากหลวงปู่หลอดให้รู้ภาษา ซึ่งการถวาย
กุศลให้กับครูอาจารย์นั้น ลูกศิษย์น้อยคนจะเข้าใจและถวายกุศลเป็น”
ข้าพเจ้ารู้สึกดีใจมากที่หลวงปู่บัวพาได้สื่อข้อความมายังหลวงปู่หลอด เวลา
นั้น เรายังสวดทิพย์มนต์ไม่เก่ง ต้องดูตารากัน
ข้าพเจ้าได้มีโอกาสนมัสการ หลวงปู่เทศก์ วัดหินหมากเป้ง อาเภอศรีเชียงใหม่
จังหวัดนองคาย ข้าพเจ้าเล่าให้ หลวงปู่เทศก์ฟัง ว่า กาลังหัดสวดทิพยมนต์ เพื่อ
ถวายกุศลให้ครูอาจารย์ และวันนี้ จะมาภาวนาที่วัดหินหมากเป้งและค้าง 1 คืน จะ
สวดทิพย์มนต์ถวาย จะให้สวดที่กุฏิเวลานี้ หรือจะให้คณะผู้เขียนไปสวดที่กุฏิแม่ชี
ท่านว่า “ไปสวดที่กุฏิก็แล้วกัน”
39
ผู้เขียนจึงนิมนต์ท่าน “หลวงปู่ตามไปฟังพวกหนูสวดมนต์ให้ที่กุฏินะคะ”
ท่านพยักหน้ายิ้ม ๆ
พญานาคริมฝั่งโขงมาอนุโมทนาบุญ
คัดลอก และปรับปรุง จากบทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม
เมื่ออาบน้าเสร็จ คณะของข้าพเจ้าก็มานั่งล้อมวงกันอยู่ในกลดสีขาว แล้วเริ่ม
นิมนต์ครูบาอาจารย์ เชิญเทวดาทั้งหลาย และเหล่าพญานาคทั้งหมดแม่น้าโขง และ
หลวงปู่เทศก์มาอนุโมทนาบุญ เสียงสวดมนต์จากคณะ 4 คน กังวานไปทั่วท้อง
แม่น้าโขงอันเงียบสงบ เมื่อสวดจบ ก็นั่งสมาธิตั้งจิตแผ่ส่วนบุญกุศลพุ่งตงรงไปยัง
หลวงปู่เทศก์ ขณะที่หลับตาส่งจิตถึงหลวงปู่เทศก์อยู่ ข้าพเจ้าได้ยินเสียงคนลุยน้ามา
มีเสียงคุยกัน คล้ายภาษาลาว ประมาณ 7-8 คน ที่ริมตลิ่งชายแม่น้าโขง และกาลัง
เดินเข้ามายังกุฏิริมน้าของเรา ซึ่งยกพื้นสูงจากริมตลิ่งประมาณ 4 เมตร ข้าพเจ้าหูไว
มาก จึงเปิดตามมองผ่านไปในความมืด ผ่านต้นอ้อต้นไม้ขึ้นรก ๆ ใต้กุฏิ เวลานั้น
พวกเรานั่งสวดมนต์ภาวนาที่ระเบียงกุฏิริมแม่น้าโขงและปิดไฟมืดเช่นกัน
ข้าพเจ้าเห็นคนหลายคน แต่มองไม่ถนัด เพราะต้นไม้กอหญ้าบังอยู่ เสียงคุย
กันนั้นดังมาก ข้าพเจ้าจึงสะกิดคณะให้เปิดตา ฟังและสังเกตการณ์ว่า จะเป็นโจร
ผู้ร้าย มาปล้นกุฏิเราหรือเปล่า เมื่อฟังอยู่ครู่หนึ่ง ก็ได้ยินเสียงนั้นใกล้ ๆ เข้ามา และ
แสงไฟก็สาดส่องมายังบริเวณระเบียงกุฏิ ข้าพเจ้าและคณะหลบวูบอาศัยเอาต้นไม้
40
และ ลูกกรงระเบียงบังตัว เสียงนั้นทานองว่า จะหาทางขึ้นมาที่กุฏิของเรา และ
หาทางไม่พบ เพราะมืดมาก และต้นอ้อขึ้น เต็มไปหมด ครู่หนึ่งเสียงนั้นค่อย ๆ ห่าง
ไป ทานองว่าชวนกันกลับบ้าน เราจึงอพยพเข้าไปนอนในห้องกัน
ในคณะที่มามีคนป่วยเป็นหวัด 2 คน อีก 1 คน นอนภาวนา ส่วนข้าพเจ้านั่ง
ภาวนาอยู่ในกลด ขณะนั่งอยู่นั้น ก็เกิดนิมิตรเป็นพญานาค 5 เศียร โผล่จากผิวน้ามี
5 ตัว ข้าพเจ้าตกตะลึงแต่คิดว่า เป็นนิมิตร จึงกาหนดนิ่งอยู่ ภาวนาไปเรื่อย ๆ
ประมาณ 10 นาที ก็ได้ยินเสียงคล้ายเชือกเส้นใหญ่มากถูลากคลูดมากับพื้นดิน ตรง
มายังกุฏิ ข้าพเจ้าคิดว่า พวกโจรมันมาอีกแล้ว คราวนี้เอาเชือกเส้นใหญ่มาด้วย คง
จะเอามาไต่ขึ้นกุฏิของเราเพราะกุฏิสูง จากตลิ่งมากก็นั่งนิ่งหลับตากอยู่อย่างนั้น
และสิ่งที่ไม่คาดฝันก็เกิด ได้มีเสียงคล้ายคนเหยียบที่ราวระเบียงและกระโดดตุ๊บลง
มาที่พื้นระเบียง ดังสนั่นหวั่นไหว และวิ่งไปพื้นพื้นระเบียงด้วยความเร็ว เสียงดังสนั่น
โครมคราม พื้นระเบียงแทบพังลงไป ข้าพเจ้าตกใจปิดตานั่งฟังเงียบและปลุกคณะ
ให้รับทราบ เหตุการณ์คืนนั้น มีคนเดินรอบกุฏิตลอดเวลา เพื่อน 2 คน อาสาจะอยู่
ยามระวังภัยเพื่อให้ข้าพเจ้าได้นอนหลับ เพราะข้าพเจ้าทาหน้าที่ขับรถมาได้ 2 วัน 2
คืน เพลียมาก
ข้าพเจ้าจึงส่งจิตหา หลวงปู่เทศก์ ให้ช่วยด้วย เพราะโจรบุกกุฏิ เพ่งไปสักครูก็
หลับไปด้วยความอ่อนเพลีย นิมิตเห็น หลวงปู่เทศก์ มาเยี่ยมที่กุฏิ ท่านมาเปิดประตู
และเดินไปมาที่กุฏิข้าพเจ้า ประมาณตีสาม เกิดฝนตกหนัก ฟ้าผ่า สนั่นหวันไหว ฝน
สาดเข้ามาถึงระเบียงกุฏิ จนน้าท่วมขัง ข้าพเจ้าตื่นขึ้นมาพร้อมระลึกได้ว่า
41
หลวงปู่เทศก์ มาเยี่ยมและดีใจที่ฝนตกหนักโจรผู้ร้ายได้หนีไป
วันต่อมาได้เล่าให้ หลวงปู่เทศก์ ฟังว่า มีผู้ร้ายมาที่กุฏิเรา พากันกระโดดและ
วิ่งเสียงดังสนั่นอยู่ที่ ระเบียงจนระเบียงแทบพัง มากันประมาณ 7-8 คน เอาไฟฉาย
ส่องดูพวกเรา แต่ไปฉายดวงใหญ่มาก ข้าพเจ้าจึงถาม หลวงปู่เทศก์ ว่า “คน 7-8 คน
ที่พูดคล้ายภาษาลาวนั้น คือโจรจากฝั่งลาว หรือผีหลอก
ท่านว่า “ ไม่ใช่ เป็นพญานาคมาหาเยี่ยมโมทนาบุญ “
คณะพวกเรา 4 คน ตกตลึง จึงถามท่านว่า “ในแม่น้าโขงมีพญานาคมากหรือคะ ?”
ท่านว่า ”มีมาก”
พวกเราตื่นเต้นกันมาก เสียงเชือกนั้นที่แท้จริงคือ เสียงพญานาค เลื้อยมาตาม
พื้นดิน และเสียงโครมคราม คล้ายคนวิ่งก็คือกิริยาเลื้อยของพญานาค ซึ่งครูบา
อาจารย์หลายท่าน ได้ติดตามดูข้าพเจ้าตลอด เช่น หลวงพ่อวัดพลับ บอกว่า
กระบอกไฟฉาย นั้น คือ ดวงตาของพญานาคต่างหาก และลาตัวขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ฟุต ยาว 20 ถึง 30 เมตร หลวงปู่หลอด ก็หัวเราะ เมื่อข้าพเจ้ายัง
ไม่เชื่อว่า กลุ่มคน 7-8 คน นั้นคือพญานาค จาแลงกายขึ้น บนบก และมาเยี่ยมพวก
เราถึงกุฏิ และฝนตก ฟ้าผ่า คืนนั้น พวกเราแทบไม้ได้นอน เพราะกลัวผู้ร้าย แท้จริง
คือ พญานาคจากฝั่งโขง มาเยี่ยมและอนุโมทนาบุญ ที่ข้าพเจ้าและหมู่คณะร่วมกัน
สวดทิพย์มนต์ แผ่ให้หลวงปู่เทศก์ มีอายุ วรรณะ สุข พละ อีกทั้ง ยังกาหนดเรียก
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 

Destacado

รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันPanda Jing
 
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดาร
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดารโหราศาสตร์ ฉบับพิศดาร
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดารChart Chiang Mai
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thai
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thaiComputer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thai
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thaiPatchara Kornvanich
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลPanuwat Beforetwo
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรNhui Srr
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555Chawalit Jit
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์niralai
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 

Destacado (20)

รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
 
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดาร
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดารโหราศาสตร์ ฉบับพิศดาร
โหราศาสตร์ ฉบับพิศดาร
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thai
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thaiComputer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thai
Computer2550 ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ thai
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการ
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 

Similar a บทสวดแปล+ทิพย์มนต์

1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงานvanchai899
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิnuom131219
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้าPanuwat Beforetwo
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชlemonleafgreen
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdfPUise Thitalampoon
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80Rose Banioki
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Wataustin Austin
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชniralai
 

Similar a บทสวดแปล+ทิพย์มนต์ (20)

1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 

บทสวดแปล+ทิพย์มนต์

  • 1. บทสวดมนต์ พร้อมคาแปลบางส่วนจากเทปเสียง เจริญทิพย์มนต์ ของ ท่านพ่อลี ธัมมธโร วัดอโศการาม (เสียงสวดนี้จัดทาโดยคณะศิษย์ท่านพ่อลี) ทิพย์มนต์ , โพชฌงคปริตร, อภยปริตรปริตร, โอสถะปริตร คาสวดพระคาถามหาการุณิโก, คาสวดธัมมะจักร และสัพพมังคลคาถา
  • 2. เจตนารมณ์ผู้จัดทา ผู้จัดทามีเจตนาที่จะเผยแพร่บทสวดเหล่านี้ ให้กับผู้ที่มีความสนใจในการสวดมนต์ เพื่อยังให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเอง และผู้อื่น ทาให้ผู้ที่พึงเจริญมนต์เหล่านี้อยู่เป็นนิจ มีสุขภาพแข็งแรงยิ่งขึ้น มีสุขภาวะทางจิตใจที่ดี อีกทั้งยังเป็นศิริ มงคลแก่ผู้นั้น บทสวดมนต์ทั้งหมดที่ถอดความได้จากเทปนั้น มีบางส่วนที่ขาดหายไปซึ่งผู้จัดทาได้ทาการปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว ประกอบไปด้วย 1. ทิพย์มนต์ (สวดธาตุ) 2. โพชฌงคปริตร 3. อภยปริตร(พระคาถายันทุน นิมิตตัง) 4. โอสถะปริตร (พระคาถากันโรคภัยไข้เจ็บ) 5. คาสวดพระคาถามหาการุณิโก 6. คาสวดธัมมะจักร 7. สัพพมังคลคาถา ทั้งนี้ผู้จัดทาข้อให้ผู้ที่สนใจศึกษาใช้บทสวดมนต์อย่างมีวิจารณญานผู้จัดทาได้พยายามสอบทานมา จากแหล่งอ้างอิงที่หลากหลายเพื่อให้มีความถูกต้องที่สุดหากมีข้อผิดพลาดประการใดบทสวดนั้น ทางผู้จัดทา ต้องขอขมาในพระรัตนตรัย และผู้สนใจศึกษาทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วย และข้อความกรุณาให้ผู้นั้นช่วยแจ้ง ข้อผิดพลาดผ่านทาง szaqwedc@gmail.com เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในครั้งต่อไปด้วยหากท่าน ใดต้องการนาไปเผยแพร่ให้นาไปเผยแพร่ได้ทันทียิ่งเผยแพร่มากเท่าไรก็ยิ่งดีสิ่งใดถูกต้องเหมาะสมไม่ขอสงวน ลิขสิทธิ์ใดใดทั้งสิ้น แต่ถ้าผิดก็ขอสงวนสิทธิ์ไว้นะครับ เมื่อได้ไปแล้วก็หมั่นสวดให้เป็นนิจอันจะก่อให้เกิดอานิสงค์นานับประการกับตัวผู้สวด อีกทั้งยังเป็นทาง หนึ่งที่ช่วยปัญหาหลาย ๆ ปัญหาของสังคมยุคปัจจุบันด้วยโมทนากับทุกท่านครับ ในนภา สมาชิกชาวเว็บพลังจิตดอทคอม
  • 4. สารบาญ เรื่อง หน้า พระคาถาทิพย์มนต์ 1 วาโย 3 เตโช 6 อาโป 8 ปฐวี 11 อากาศ 14 วิญญาณ 16 พระคาถาโพชฌังคปริตร 19 พระคาถาอะภะยะปริตร 22 พระคาถาโอสถะปริตร 23 พระคาถามหาการุณิโก 26 คาสวดธัมมะจักร 28 สัพพมังคลคาถา 33 ความเป็นมาของบทสวดทิพย์มนต์ 35 เมื่อข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ถวายครูอาจารย์ 37 พญานาคริมฝั่งโขงมาอนุโมทนาบุญ 39 การสวดทิพยมนต์ 42 ในกรณีสวดให้คนป่วย 43 ในกรณีสวดสืบชะตาต่ออายุ 44 มหาอานิสงส์ของบทสวดต่างๆ 46
  • 5. บทเกริ่นนา ถอดความจากเทปบันทึกเสียง ของคณะศิษย์ท่านพ่อลี ต่อไปนี้จะได้เจริญทิพย์มนต์ของพระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) ก่อนที่จะสวดจะขอกล่าวถึงความเป็นมาที่ท่านพ่อลีท่าน ได้ปรารภไว้ ทิพย์มนต์นี้จะเป็นเครื่องจูงใจให้ผู้ปฏิบัติได้บรรลุถึงความบริสุทธิ์ และให้ผลดีแก่ผู้ท่องบ่น เพราะเป็นเรื่องในตัวของตัวเอง ธรรมดาคนที่เกิดมาย่อมอาศัยธาตุทั้งหก ธาตุเหล่านั้นสะสมขึ้นด้วยการ กระทาของตนเอง ดีบ้างชั่วบ้าง เมื่อเป็นเช่นนี้ ธาตุเหล่านั้นย่อมลงโทษแก่ผู้ อาศัยอยู่เปรียบเสมือนกับเด็ก มันเป็นสิ่งที่คอยรบกวนใจอยู่เสมอ ฉะนั้นการสวด มนต์ก็เท่ากับว่า เราเลี้ยงเด็กบารุงเด็กให้ได้รับความสมบูรณ์ เมื่อเด็กได้รับ ความสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว ผู้ใหญ่ย่อมได้รับความสะดวกสบาย ดังนั้นถ้า ใครเสกบ่นก็เท่ากับว่า เราเลี้ยงเด็กแล้วด้วยอาหาร เรากล่อมเด็กแล้วด้วยเพลง อันไพเราะ คือ พุทธคุณ อานาจพุทธคุณนี้อาจจะทาให้ธาตุของตนให้บริสุทธิ์ขึ้น เป็นธาตุกายสิทธิ์ เหมือนแร่ธาตุที่มีอยู่บนโลก ย่อมแล่น หรือดึงดูดถึงกันได้ทุก วินาที หรือเปรียบเสมือนสายไฟฟ้า ส่วนมนต์คาถาที่สวดเปรียบเหมือนกระแสไฟ เมื่อมุ่งไปทิศใดย่อมถึงที่นั้นๆ อาจจะทาให้ดินฟ้าอากาศเป็นมงคล เพราะมนต์ บทนี้เป็นมนต์กบิลฤาษีปนอยู่ด้วย ตามเรื่องที่เล่าไว้ดังนี้
  • 6. ในอดีตกาลมีฤาษีตนหนึ่งไปเจริญทิพย์มนต์อยู่ในป่าสัก ณ ประเทศอินเดีย ตามตานานเล่าว่าในป่านั้นเป็นมหามงคล เช่น ต้นไม้ทั้งหลายสับเปลี่ยนกันเกิด ดอกออกผลเปลี่ยนสลับกันอยู่ทุกฤดูกาล มีน้าใสสะอาด สัตว์ตัวไหนเจ็บป่วยวิ่ง ผ่านเข้าไปได้กินน้าในที่นั้น อาการป่วยนั้นจะสูญสิ้นไป ใบหญ้าและเถาวัลย์สด ชื่นอยู่เป็นนิจ สัตว์ที่ดุร้ายและโหดร้ายเบียดเบียนกัน เมื่อเข้าไปผ่านในสถานที่ นั้น ก็ราวกับว่าเป็นเพื่อนเป็นมิตรกันเอง สัตว์ทั้งหลายก็อาศัยป่านั้นอยู่โดยความ รื่นเริง กลิ่นโสโครก ซากสัตว์ต่างๆ ที่ตายในที่นั้นไม่ปรากฏ ถ้าหากว่าความตาย จะมาถึงตนก็ต้องดิ้นรนหนีไปตายที่อื่น ในที่นี้ พวกชาวศากยะสกุลวงศ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ไปตั้งเมือง หลวงอยู่ ณ ที่นั้น เรียกว่ากรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งยังเป็นบ้านเมืองมาจนทุกวันนี้ นี่เกิด จากความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งกบิลฤาษีได้ไปเจริญพุทธมนต์อยู่ในที่นั้น วิธีเจริญของฤาษีตนนั้น วาระแรกเขาได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ได้ เจริญมนต์บทนี้อยู่ตลอดเจ็ดวัน วาระที่สองเขาหันหน้าไปทางทิศอุดร วาระที่สาม เขาหันหน้าไปทางทิศใต้ วาระที่สี่เขาได้หันหน้าไปทางทิศตะวันตก วาระที่ห้าเขา ได้หันหน้าลงไปใต้พื้นปฐพี วาระที่หกเขาได้ยกมือแหงนหน้าขึ้นไปในอากาศทา จิตให้สะอาดเอารัศมีของดวงดาวเป็นนิมิตร วาระที่เจ็ดเขาได้เจริญอานาปา ปล่อยลมของเค้าเองออกทุกทิศ โดยอานาจแห่งกาลังจิตที่ประกอบด้วยพรหม วิหารทั้งสี่ ที่เรียกว่า ทิพย์มนต์ ดังนี้
  • 7. เล่ามานี้ตามเรื่องของชาวอินเดียเล่าให้ฟัง ต่อจากก็นั้นก็ให้นึกถึงพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าที่บริสุทธิ์ด้วยคุณธรรมอันเลิศ จนพระองค์สามารถจะเสก ธาตุของพระองค์เองให้บริสุทธิ์ยิ่งกว่าธาตุใดใดทั้งหมดในโลก เช่น พระบรมธาตุ อันเป็นธาตุกายสิทธิ์มีปรากฏอยู่ในผู้เคารพนับถือ ได้ทราบว่าเสด็จมาบ้าง เสด็จ หนีบ้าง ซึ่งเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดอยู่มาก สิ่งเหล่านี้ก็สาเร็จมาจากดวงจิตอัน บริสุทธิ์นั่นเอง เมื่อจิตบริสุทธิ์แล้วธาตุทั้งหกก็พลอยบริสุทธิ์ไปด้วย เมื่อธาตุ เหล่านี้เนื่องอยู่ในโลกก็อาจทาโลกให้ได้รับความชุ่มเย็นไปด้วยก็ได้ เพราะธาตุ ทั้งหมดย่อมเนื่องถึงกัน ถ้าพวกเราพุทธบริษัทตั้งใจประพฤติปฏิบัติเช่นนั้น เชื่อแน่ว่าต้อง ได้รับผลดีตามจานวนของปริมาณ ถ้าหากว่าจิตมิได้ฝึกหัดในทางนี้ มัวเมาแต่ สะสมความชั่วใส่ตนแล้ว จิตก็ต้องเดือดร้อน อานาจแห่งความร้อนของดวงจิตก็ จะทาให้ธาตุในตัวทุกส่วนร้อนเป็นไฟไปด้วย ไฟเหล่านั้นก็จะต้องระบายไปในที่ ต่างๆทั่วโลก ความร้อนอันนี้เมื่อมีปริมาณมากขึ้นก็จะจับกลุ่มกันขึ้นเป็น เครื่องสนับสนุนช่วยแสงอาทิตย์ให้แรงกล้า แล้วก็ตามอากาศธาตุ ดิน น้า ไฟ ลมให้วิบัติเปลี่ยนแปลงไปโดยอาการต่างๆ เช่น ฤดูทั้งสามก็จะไม่คงที่ เมื่อเป็นเช่นนี้มนุษย์ที่อาศัยอยู่ก็จะต้องวิบัติ หรือเดือดร้อนไปตามกัน ขั้นที่สุด ของความชั่วก็จะทาให้โลกที่เราอาศัยอยู่นี้แตกสลายไป ที่เค้าเรียกว่า ไฟประลัย กัลป์ ไหม้โลก
  • 8. คนเราไม่ได้นึกคิดจึงเหมาให้ธรรมชาติเป็นเองเสียโดยมาก เมื่อเป็น เช่นนี้ก็ไม่ใช่นักเหตุผล เพราะสิ่งทั้งหลายต้องมีเหตุจึงมีผล โลกที่ปรากฏอยู่ย่อม สาเร็จมาจากดวงจิตเป็นตัวเหตุ จิตดี โลกต้องดี จิตชั่วโลกต้องชั่ว ฉะนั้นต่อไปนี้ จะได้เริ่มต้นเจริญทิพย์มนต์ ณ บัดนี้
  • 9. 1 พระคาถาทิพย์มนต์ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ, นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ, นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก
  • 10. 2 ทุติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ทุติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ตะติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้า ขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม
  • 11. 3 ตะติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้า ขอถึงพระธรรม ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม ตะติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้า ขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุจนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหังสัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
  • 12. 4 วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ) วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
  • 13. 5 ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ,อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตารักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
  • 14. 6 สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ เตโช จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ) เตโช จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ) เตโช จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,
  • 15. 7 สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ) ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
  • 16. 8 มะนุสสานัง ปิโย โหติ,อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ อาโป จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
  • 17. 9 อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ) อาโป จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ) อาโป จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
  • 18. 10 อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ) ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตารักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
  • 19. 11 อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ ปะฐะวี จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ) ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
  • 20. 12 โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโน พระปัญญาคุณ) ปะฐะวี จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ) ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,
  • 21. 13 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินังปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ
  • 22. 14 อากาสา จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ) อากาสา จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ) อากาสา จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
  • 23. 15 ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานัง พระกรุณาคุณ) ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตารักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
  • 24. 16 ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ วิญญาณัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติฯ (ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหัง สัมมาสัมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)
  • 25. 17 วิญญาณัญจะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ (ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสัมปันโนพระปัญญาคุณ) วิญญาณัญ จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง, สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สัตถา เทวมนุสสานังพระกรุณาคุณ)
  • 26. 18 ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินังปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
  • 27. 19 สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ พระคาถาโพชฌังคปริตร โพชฌังโค สติสังขาโต, ธัมมานัง วิจะโย ตะถา, วิริยัมปีติปัสสัทธิ- โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร, สะมาธุเปกขะโพชฌังคา, สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา, ภาวิตา พะหุลีกะตา, สังวัตตันติ อภิญญายะ, นิพพานายะ จะ โพธิยา, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, โสตถิ เต โหตุสัพพะทา. เอกัสมิง สะมะเย นาโถ, โมคคัลลานัญจะ กัสสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา,
  • 28. 20 โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ, เต จะ ตัง อะภินันทิตวา, โรคา มุจจิงสุง ตังขะเณ, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. เอกะทา ธัมมะราชาปิ, เคลัญเญนาภิปีฬิโต, จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง, สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา, ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง, มัคคาหะตะกิเลสา วะ, ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
  • 29. 21 บทแปล โพชฌังคปริตร โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค์ วิริยะสัม โพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ และอุเบกขาสัม โพชฌงค์ ๗ ประการเหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้า ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้ ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ ตรัสรู้ และเพื่อนิพพาน ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระมหากัสส ปะเป็นไข้ ได้รับความลาบาก จึงทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชมยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌงคธรรม โรคก็หายได้ในบัดดล ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ ในครั้งหนึ่ง องค์พระธรรมราชาเอง (พระพุทธเจ้า) ทรงประชวรเป็นไข้หนัก รับสั่งให้ พระจุนทะเถระ กล่าวโพชฌงค์นั้นนั่นแลถวายโดยเคารพ ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย หายจากพระประชวรนั้นได้โดยพลัน ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ ก็อาพาธทั้งหลายนั้น ของพระผู้ทรงคุณอันยิ่งใหญ่ทั้ง ๓ องค์นั้น หายแล้วไม่กลับ เป็นอีก ดุจดังกิเลส ถูกอริยมรรคกาจัดเสียแล้ว ถึงซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ เทอญ.
  • 30. 22 พระคาถาอะภะยะปริตร ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ, โยจามะนาโปสะกุณัสสะ สัทโธ, ปาปัคคะโห ทุส สุปินัง อะกันตัง, พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ, โยจามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโธ, ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง, ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โยจามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโธ, ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง, สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ คาแปล อภัยปริตร นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด
  • 31. 23 บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่ ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระพุทธเจ้า ฯ นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่ ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระธรรมเจ้า ฯ นิมิตอันเป็นลางชั่วร้ายอันใด สิ่งอวมงคลอันใด เสียงนกที่ไม่ชอบใจอันใด สิ่งที่น่าตกใจอันใด บาปร้าย เคราะห์ร้ายอันใด ฝันร้ายอันใด สิ่งไม่พึงปรารถนาอันใด ที่มีอยู่ ขอสิ่งเหล่านั้นจงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่ง พระสังฆเจ้า ฯ พระคาถาโอสถะปริตร สักกัตตะวา พุทธะระตะนัง, เพราะทาความเคารพพระพุทธรัตนะ โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ
  • 32. 24 หิตัง เทวะมะนุสสานัง, เป็นประโยชน์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พุทธะเตเชนะ โสตถินา, ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้า นัสสันตุปัททะวา สัพเพ, ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต, ขอทุกข์ทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี สักกัตตะวา ธัมมะระตะนัง, เพราะทาความเคารพพระธรรมรัตนะ โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ ปะริฬาหูปะสะมะนัง, เป็นเครื่องระงับความกระวนกระวาย ธัมมะเตเชนะ โสตถินา, ด้วยเดชแห่งพระธรรมรัตนะ
  • 33. 25 นัสสันตุปัททะวา สัพเพ, ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป ภะยา วูปะสะเมนตุ เต, ขอภัยทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี สักกัตตะวา สังฆะระตะนัง, เพราะทาความเคารพพระสงฆรัตนะ โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง, เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ สังฆะเตเชนะ โสตถินา, ด้วยเดชแห่งพระสงฆ์ นัสสันตุปัททะวา สัพเพ, ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
  • 34. 26 โรคา วูปะสะเมนตุ เต, ขอโรคทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี พระคาถามหาการุณิโก มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ (สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ ทรงประกอบด้วยพระมหากรุณา ทรงบาเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า) ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ (ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะในชัยมงคลพิธี
  • 35. 27 ดุจพระจอมมุนีผู้ยังความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ชาวศากยะ ทรงมีชัยชนะมาร ณ โคนต้นมหาโพธิ์ทรงถึงความเป็นเลิศยอดเยี่ยม ทรงปีติปราโมทย์อยู่เหนืออชิตบัลลังก์อันไม่รู้พ่าย ณ โปกขรปฐพี อันเป็นที่อภิเษกของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ฉะนั้นเถิด) สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ (เวลาที่กาหนดไว้ดี งานมงคลดี รุ่งแจ้งดี ความพยายามดี ชั่วขณะหนึ่งดี ชั่วครู่หนึ่งดี การบูชาดี แด่พระสงฆ์ผู้บริสุทธิ์ กายกรรมอันเป็นกุศล วจีกรรมอันเป็นกุศล มโนกรรมอันเป็นกุศล ความปรารถนาดีอันเป็นกุศล ผู้ได้ประพฤติกรรมอันเป็นกุศล ย่อมประสบความสุขโชคดี เทอญ)
  • 36. 28 คาสวดธัมมะจักร ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
  • 37. 29 ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา, พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหมปาริสัชชา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่า ชั้นปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
  • 38. 30 พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหมปโรหิตา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นพรหมปาริสัชชาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่มหาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าพรหมปโรแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่ปริตตาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นมหาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อัปมาณาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นปริตตาภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่น ฯ
  • 39. 31 อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อาภัสสราพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอัปมาณาภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อัปมาณาภาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอาภัสสราพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุภกิณหกาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอัปปมาณสุภาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่เวหัปผลาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นสุภกิณหกาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
  • 40. 32 เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อวิหาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอตัปปาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อตัปปาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอวิหาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุทัสสาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นอตัปปาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่สุทัสสีพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นสุทัสสาพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
  • 41. 33 สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา, อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่อกนิฎฐกาพรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้า เหล่าชั้นสุทัสสีพรหมแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ สัพพมังคลคาถา ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะพุทธานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
  • 42. 34 รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะธัมมานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพ แห่งพระธรรมทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะสังฆานุภาเวนะสะทา ด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ทั้งปวง โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
  • 43. 35 ความเป็นมาของบทสวดทิพย์มนต์ คัดลอก และปรับปรุง จากบทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม ผู้เขียนได้ขออนุญาต หลวงปู่หลอด ผู้เมตตาสอนบทสวดทิพย์มนต์ให้แก่ ผู้เขียน เพื่อนามาตีพิมพ์ไว้ในหนังสือ เพื่อประโยชน์และแผ่อานิสงส์ ให้ผู้ที่มีความ สนใจสวดโดยทั่วกัน ย้อนไปเมื่อ พ.ศ. 2500 หลวงปู่หลอดได้เดินทางจากป่า มาสู่กรุงเทพฯ เป็น ครั้งแรก ท่านได้มาจาพรรษาอยู่ที่ วัดอโศการาม ของ ท่านพ่อลี ศิษย์ของ หลวงปู่มั่น ซึ่งมีกิตติศัพท์โด่งดังมาก ท่านพ่อลีได้จัดงานฉลองกึ่งพุทธกาลขึ้นทีวัดอโศการาม ได้ มีพิธีใหญ่โตหลายประการ อาทิเช่น การจัดให้มีการบวชพระ 2,500 รูป บวชชีพ ราห์ม 2,500 คน โดยที่ทางวัดเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ปรากฏว่า มีศรัทธาชาว พุทธหลั่งไหลเข้ามาขอบวช มาปฏิบัติธรรม มาฟังเทศน์ มาบริจาคทรัพย์ทาทานสนั่น หวั่นไหว เป็นเวลา 15 วัน 15 คืน ผู้คนหลั่งไหลกันมาชุมนุมนับหมื่น ๆ คน หลวงปู่หลอดเล่าว่า เฉพาะผ้าที่นามาตัดเป็นผ้าไตร ผ้าขาวนั้น เป็นจานวน พัน ๆ ม้วน คนที่ตัดผ้าตัดกันจนแทนเป็นลม โรงทานเลื้ยงไม่อั้น ข้าวปลาอาหารขน กันมามากมาย ขนาดต้องใช้รถสิบล้อขนมา ทุกอย่างในงานฟรีหมด หมดเงินค่าบวช พระ บวชเณร เฉพาะงานนั้นเป็นสิบล้าน นั่นคือ 36 ปีที่ผ่านมา
  • 44. 36 ถ้าหากเรานับในสมัยนี้ไม่ต่ากว่า 100 ล้านบาท พระภิกษุสายหลวงปู่มั่นต่างก็ หลั่งไหลเข้ามาในงานนี้เนืองแน่น ที่พิเศษสุดก็คือ พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธ 25 ศตวรรษ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สวดพุทธาภิเษก 15 วัน 15 คืน สวดมนต์กัน สนั่นทั้งวัดอโศการาม และบทสวดพิเศษที่ถูกบรรจุลงไป ก็คือ บททิพย์มนต์ นั่นเอง ซึ่งท่านพ่อลี เป็นผู้ค้นพบจากพระไตรปิฎก ท่านนามาศึกษา และนามาให้พระเณร แม่ชี ที่วัดอโศการามได้สวดกัน หลังจากทาวัตรเช้า วัตรเย็นแล้ว ท่านจะให้สวดทิพย์ มนต์ต่อไปเป็นกิจวัตรทุกวัน และเมื่อมีงานพุทธาภิเษกก็จะนาบทสวดทิพย์มนต์ มาร่วมสวดทุกครั้งไป ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าสมณโคดม เสวยพระชาติเป็นฤาษีอยู่ในป่า ท่านได้ สวด ทิพย์มนต์ เป็นประจาทุกวัน มีสิ่งที่น่าอัศจรรย์เกิดขึ้นคือ บรรดาสัตว์ต่าง ๆ ที่ อาศัยอยู่ในป่านั้น เมื่อได้เข้ามาอยู่ในบริเวณที่พานักของพระฤาษี เสือ หมี เก้ง กวาง เหล่านี้ จะกลายเป็นมิตรกันทันที ไม่มีการไล่ล่า ทาลายกัน สัตว์เล็กและสัตว์ ใหญ่ ต่างพากันเป็นมิตรต่อกัน ด้วยอานุภาพแห่งทิพย์มนต์ ที่แผ่ออกไปทุกวันในเขต ที่พระฤาษีบาเพ็ญอยู่
  • 45. 37 เมื่อข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ถวายครูอาจารย์ คัดลอก และปรับปรุงมาจาก บทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม เมื่อปี 2535 หลวงปู่หลอดแห่งวัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนา) ได้อบรมการ ภาวนาแก่ข้าพเจ้าและหมู่คณะคราวใด ท่านจะชอบให้ข้าพเจ้าสวดทิพย์มนต์ด้วย ทุกครั้ง ข้าพเจ้าจึงพยายามสวดให้ขึ้นใจ คราใดที่หลวงปู่หลอดมีอาพาธ เช่นเป็น หวัด หรือเป็นไข้ใด ๆ ข้าพเจ้ามักสวดทิพย์มนต์ถวาย รวมทั้งแนะนาหมู่คณะสวด ทิพย์มนต์ นั่งสมาธิ ภาวนา แผ่ส่งบุญนานาชนิด ให้ท่านทุเลาจากอาการอาพาธ บางครั้งท่านสั่งให้ข้าพเจ้าสวดถวายให้เฉพาะ และช่วงที่ไถ่ชีวิตโคกระบือ ถวายกุศล ให้หลวงปู่ครูบาอาจารย์ ข้าพเจ้าได้สวดทิพย์มนต์ถวายให้จานวนหลายสิบรูป รวมทั้งสวดถวายสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ในคราวเสด็จประเทศ จีนแดงด้วย วันหนึ่ง ในเดือนสิงหาคม 2535 ได้มีโอกาสเดินทางไปภาคอิสาน ได้กราบ นมัสการ หลวงปู่บัวพา แห่ง วัดป่าพระสถิตย์ อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ช่วงนั้น หลวงปู่บัวพามีอาพาธมาก หมอได้ให้ออกซิเจนและเจาะช่องท้อง เพื่อให้ อาหารทางสายยาง ผู้เขียนและคณะมีความสลดใจมาก จึงกราบเรียนกับท่านว่า น่า เสียดายเหลือเกินที่เรามาพบท่านช้าเกินไป แต่ด้วยจิตเป็นกุศล ปรารถนาให้ท่าน หมดเวทนาลง จึงได้ชวนกันสวดทิพย์มนต์ที่ข้างเตียงท่าน ขณะที่สวดอยู่นั้น ผู้เขียน
  • 46. 38 ก็มองเห็นอาการปิติของท่านอย่างชัดเจน มือท่านสั่นไหวตลอด ใบหน้าแล้วแววตา แสดงความ ปิติออย่างสุดซึ้ง และผู้เขียนได้ไปจัดการซื้อปลาที่ตลาด ใส่กะละมังมา ร้อยกว่าตัว ปลาดุกขนาดเท่าลาแขน ให้ท่านได้อนุโมทนา แล้วนาไปปล่อยที่แม่น้า โขงใกล้ ๆ วัดท่าน และได้ขออนุญาตโทรศัพท์ทางไกลจากวัดของท่านมายังโรงฆ่า สัตว์ปทุมธานี เพื่อขอไถ่ชีวิตกระบือ 1 ตัว เวลานั้น ท่านเกิด ปิติมาก ขยับตัวโบกมือ ไปมา ผู้เขียนรู้สึกสงสารท่านจับใจ ได้กราบลาท่านขับรถกลับกรุงเทพฯ แล้วได้เล่า เรื่องการเดินทางไปนมัสการ หลวงปู่บัวพา และเล่าอาการต่าง ๆ ของท่านให้ หลวงปู่ หลอดฟัง หลวงปู่หลอดได้เอ่ยขึ้นว่า “หลวงปู่บัวพานั้นเกิดปิติมาก ได้กล่าวว่า 5 ปีที่นอน อาพาธ มีเวทนามาก ยังไม่เคยมีใครมาถวายกุศลให้เช่นนี้มาก่อนเลย รู้สึกปิติมาก และดีใจที่คณะของข้าพเจ้าได้รับการอบรมจากหลวงปู่หลอดให้รู้ภาษา ซึ่งการถวาย กุศลให้กับครูอาจารย์นั้น ลูกศิษย์น้อยคนจะเข้าใจและถวายกุศลเป็น” ข้าพเจ้ารู้สึกดีใจมากที่หลวงปู่บัวพาได้สื่อข้อความมายังหลวงปู่หลอด เวลา นั้น เรายังสวดทิพย์มนต์ไม่เก่ง ต้องดูตารากัน ข้าพเจ้าได้มีโอกาสนมัสการ หลวงปู่เทศก์ วัดหินหมากเป้ง อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดนองคาย ข้าพเจ้าเล่าให้ หลวงปู่เทศก์ฟัง ว่า กาลังหัดสวดทิพยมนต์ เพื่อ ถวายกุศลให้ครูอาจารย์ และวันนี้ จะมาภาวนาที่วัดหินหมากเป้งและค้าง 1 คืน จะ สวดทิพย์มนต์ถวาย จะให้สวดที่กุฏิเวลานี้ หรือจะให้คณะผู้เขียนไปสวดที่กุฏิแม่ชี ท่านว่า “ไปสวดที่กุฏิก็แล้วกัน”
  • 47. 39 ผู้เขียนจึงนิมนต์ท่าน “หลวงปู่ตามไปฟังพวกหนูสวดมนต์ให้ที่กุฏินะคะ” ท่านพยักหน้ายิ้ม ๆ พญานาคริมฝั่งโขงมาอนุโมทนาบุญ คัดลอก และปรับปรุง จากบทความของแอดมิน เว็บบอร์ด วัดอโศการามดอทคอม เมื่ออาบน้าเสร็จ คณะของข้าพเจ้าก็มานั่งล้อมวงกันอยู่ในกลดสีขาว แล้วเริ่ม นิมนต์ครูบาอาจารย์ เชิญเทวดาทั้งหลาย และเหล่าพญานาคทั้งหมดแม่น้าโขง และ หลวงปู่เทศก์มาอนุโมทนาบุญ เสียงสวดมนต์จากคณะ 4 คน กังวานไปทั่วท้อง แม่น้าโขงอันเงียบสงบ เมื่อสวดจบ ก็นั่งสมาธิตั้งจิตแผ่ส่วนบุญกุศลพุ่งตงรงไปยัง หลวงปู่เทศก์ ขณะที่หลับตาส่งจิตถึงหลวงปู่เทศก์อยู่ ข้าพเจ้าได้ยินเสียงคนลุยน้ามา มีเสียงคุยกัน คล้ายภาษาลาว ประมาณ 7-8 คน ที่ริมตลิ่งชายแม่น้าโขง และกาลัง เดินเข้ามายังกุฏิริมน้าของเรา ซึ่งยกพื้นสูงจากริมตลิ่งประมาณ 4 เมตร ข้าพเจ้าหูไว มาก จึงเปิดตามมองผ่านไปในความมืด ผ่านต้นอ้อต้นไม้ขึ้นรก ๆ ใต้กุฏิ เวลานั้น พวกเรานั่งสวดมนต์ภาวนาที่ระเบียงกุฏิริมแม่น้าโขงและปิดไฟมืดเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นคนหลายคน แต่มองไม่ถนัด เพราะต้นไม้กอหญ้าบังอยู่ เสียงคุย กันนั้นดังมาก ข้าพเจ้าจึงสะกิดคณะให้เปิดตา ฟังและสังเกตการณ์ว่า จะเป็นโจร ผู้ร้าย มาปล้นกุฏิเราหรือเปล่า เมื่อฟังอยู่ครู่หนึ่ง ก็ได้ยินเสียงนั้นใกล้ ๆ เข้ามา และ แสงไฟก็สาดส่องมายังบริเวณระเบียงกุฏิ ข้าพเจ้าและคณะหลบวูบอาศัยเอาต้นไม้
  • 48. 40 และ ลูกกรงระเบียงบังตัว เสียงนั้นทานองว่า จะหาทางขึ้นมาที่กุฏิของเรา และ หาทางไม่พบ เพราะมืดมาก และต้นอ้อขึ้น เต็มไปหมด ครู่หนึ่งเสียงนั้นค่อย ๆ ห่าง ไป ทานองว่าชวนกันกลับบ้าน เราจึงอพยพเข้าไปนอนในห้องกัน ในคณะที่มามีคนป่วยเป็นหวัด 2 คน อีก 1 คน นอนภาวนา ส่วนข้าพเจ้านั่ง ภาวนาอยู่ในกลด ขณะนั่งอยู่นั้น ก็เกิดนิมิตรเป็นพญานาค 5 เศียร โผล่จากผิวน้ามี 5 ตัว ข้าพเจ้าตกตะลึงแต่คิดว่า เป็นนิมิตร จึงกาหนดนิ่งอยู่ ภาวนาไปเรื่อย ๆ ประมาณ 10 นาที ก็ได้ยินเสียงคล้ายเชือกเส้นใหญ่มากถูลากคลูดมากับพื้นดิน ตรง มายังกุฏิ ข้าพเจ้าคิดว่า พวกโจรมันมาอีกแล้ว คราวนี้เอาเชือกเส้นใหญ่มาด้วย คง จะเอามาไต่ขึ้นกุฏิของเราเพราะกุฏิสูง จากตลิ่งมากก็นั่งนิ่งหลับตากอยู่อย่างนั้น และสิ่งที่ไม่คาดฝันก็เกิด ได้มีเสียงคล้ายคนเหยียบที่ราวระเบียงและกระโดดตุ๊บลง มาที่พื้นระเบียง ดังสนั่นหวั่นไหว และวิ่งไปพื้นพื้นระเบียงด้วยความเร็ว เสียงดังสนั่น โครมคราม พื้นระเบียงแทบพังลงไป ข้าพเจ้าตกใจปิดตานั่งฟังเงียบและปลุกคณะ ให้รับทราบ เหตุการณ์คืนนั้น มีคนเดินรอบกุฏิตลอดเวลา เพื่อน 2 คน อาสาจะอยู่ ยามระวังภัยเพื่อให้ข้าพเจ้าได้นอนหลับ เพราะข้าพเจ้าทาหน้าที่ขับรถมาได้ 2 วัน 2 คืน เพลียมาก ข้าพเจ้าจึงส่งจิตหา หลวงปู่เทศก์ ให้ช่วยด้วย เพราะโจรบุกกุฏิ เพ่งไปสักครูก็ หลับไปด้วยความอ่อนเพลีย นิมิตเห็น หลวงปู่เทศก์ มาเยี่ยมที่กุฏิ ท่านมาเปิดประตู และเดินไปมาที่กุฏิข้าพเจ้า ประมาณตีสาม เกิดฝนตกหนัก ฟ้าผ่า สนั่นหวันไหว ฝน สาดเข้ามาถึงระเบียงกุฏิ จนน้าท่วมขัง ข้าพเจ้าตื่นขึ้นมาพร้อมระลึกได้ว่า
  • 49. 41 หลวงปู่เทศก์ มาเยี่ยมและดีใจที่ฝนตกหนักโจรผู้ร้ายได้หนีไป วันต่อมาได้เล่าให้ หลวงปู่เทศก์ ฟังว่า มีผู้ร้ายมาที่กุฏิเรา พากันกระโดดและ วิ่งเสียงดังสนั่นอยู่ที่ ระเบียงจนระเบียงแทบพัง มากันประมาณ 7-8 คน เอาไฟฉาย ส่องดูพวกเรา แต่ไปฉายดวงใหญ่มาก ข้าพเจ้าจึงถาม หลวงปู่เทศก์ ว่า “คน 7-8 คน ที่พูดคล้ายภาษาลาวนั้น คือโจรจากฝั่งลาว หรือผีหลอก ท่านว่า “ ไม่ใช่ เป็นพญานาคมาหาเยี่ยมโมทนาบุญ “ คณะพวกเรา 4 คน ตกตลึง จึงถามท่านว่า “ในแม่น้าโขงมีพญานาคมากหรือคะ ?” ท่านว่า ”มีมาก” พวกเราตื่นเต้นกันมาก เสียงเชือกนั้นที่แท้จริงคือ เสียงพญานาค เลื้อยมาตาม พื้นดิน และเสียงโครมคราม คล้ายคนวิ่งก็คือกิริยาเลื้อยของพญานาค ซึ่งครูบา อาจารย์หลายท่าน ได้ติดตามดูข้าพเจ้าตลอด เช่น หลวงพ่อวัดพลับ บอกว่า กระบอกไฟฉาย นั้น คือ ดวงตาของพญานาคต่างหาก และลาตัวขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ฟุต ยาว 20 ถึง 30 เมตร หลวงปู่หลอด ก็หัวเราะ เมื่อข้าพเจ้ายัง ไม่เชื่อว่า กลุ่มคน 7-8 คน นั้นคือพญานาค จาแลงกายขึ้น บนบก และมาเยี่ยมพวก เราถึงกุฏิ และฝนตก ฟ้าผ่า คืนนั้น พวกเราแทบไม้ได้นอน เพราะกลัวผู้ร้าย แท้จริง คือ พญานาคจากฝั่งโขง มาเยี่ยมและอนุโมทนาบุญ ที่ข้าพเจ้าและหมู่คณะร่วมกัน สวดทิพย์มนต์ แผ่ให้หลวงปู่เทศก์ มีอายุ วรรณะ สุข พละ อีกทั้ง ยังกาหนดเรียก