SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
แนวทางการบริหารจัดการโครงการ 
1
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ 
การเงิน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถนาไปปฏิบัติโดย 
ถูกต้อง 
2. เพื่อให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของแผนงาน/โครงการ 
ได้พบปะแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน 
2 
2
เนื้อหา 
การบริหารการเงินและการจัดทา บัญชี 
การจัดซ้อื/จ้าง และควบคุมวัสดุครุภัณฑ์ 
การจัดทา รายงานผลการดา เนินงานส่ง สสส. 
การฝึกปฏิบัติการจัดทา บัญชีโครงการ 
3 
3
การบริหารการเงิน 
4 
1 
การรับ-จ่ายเงิน 
มีความโปร่งใส 
ตรวจสอบได้ 
2 
การใช้จ่ายเงิน 
สนับสนุนเป็นไป 
ตามวัตถุประสงค์ 
3 
เอกสารหลักฐาน 
การจ่ายเงินมี 
ความสมบูรณ์ 
ครบถ้วน ถูกต้อง 
หลักการ 
4
การบริหารการเงิน 
1. การเปิดบัญชีโครงการ 
2. การรับเงิน 
3. การเก็บรักษาเงิน 
4. การเบิกจ่ายเงิน 
5. การยืมเงินทดรองจ่าย 
6. เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินที่สมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง 
7. การจัดทา บัญชี 
8. การจัดเก็บเอกสารหลักฐานการเงิน 
5 
5
การบริหารการเงิน 
การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารของแผนงาน/โครงการ 
1. เปิดบัญชีได้ทั้งประเภทออมทรัพย์และกระแสรายวัน 
2. เปิดในนามแผนงานหรือโครงการ โดยใช้ชื่อที่สื่อความหมายไม่ 
ยาวเกินไป 
3. มีผู้ลงนามถอนเงินหรือสั่งจ่าย 2 ใน 3 คน โดยให้ผู้จัดการ 
แผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้ลงนามหลัก 
4. งดใช้ ATM 
ผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการควรดูแลรักษาสมุดคู่ฝากและตรวจสอบยอดคงเหลือให้ถูกต้องโดยสม่าเสมอ 
โครงการย่อยใช้หลักเกณฑ์การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารเช่นเดียวกับแผนงาน ดังที่กล่าวข้างต้น 
6 
6
1. รับเงินอุดหนุน 
2. ดอกเบ้ยีเงินฝากธนาคาร 
3. เงินยืมจากแหล่งอื่นหรือแผนงาน/โครงการอื่น 
4. เงินค่าขายของที่เกิดจากแผนงาน/โครงการ 
5. เงินรับบริจาค 
6. อื่น ๆ 
7 
การรับเงิน 
การบริหารการเงิน 
7
1. เก็บโดยฝากธนาคารในนามโครงการ 
2. เก็บเป็นเงินสดในมือ 
8 
การเก็บรักษาเงิน 
การบริหารการเงิน 
8
การบริหารการเงิน 
9 
การเบิกจ่ายเงิน 
1. ต้องได้รับอนุมัติจากผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการ หรือผู้ 
ที่ได้รับมอบหมาย เป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง 
2. เม่อืจ่ายเงินแล้วควรประทับตรา “จ่ายแล้ว” บนเอกสารการจ่ายเงิน 
ทุกฉบับเพื่อป้องกันการเบิกจ่ายซา้ 
( Signature ) 
X 
9
การบริหารการเงิน 
เงินทดรองจ่าย หมายถึง เงินที่ผู้ปฏิบัติงานเบิกล่วงหน้าเพื่อใช้สา รองจ่าย 
ในกิจกรรมต่าง ๆ ของแผนงาน/โครงการ ซึ่งไม่สามารถกา หนดค่าใช้จ่ายได้ 
10 
การยืมเงินทดรองจ่าย 
10
การบริหารการเงิน 
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน 
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน ควรมีลักษณะดังนี้ 
1. ความสมบูรณ์หมายถึง มีความสมบูรณ์เกี่ยวกับ ชื่อและที่ 
อยู่ของผู้ขาย ผู้ซื้อ วันที่ รายการสินค้า จา นวน ราคา และลายมือชื่อ 
ผู้รับเงิน รวมทั้งผู้อนุมัติให้จ่ายได้ และผู้จ่ายเงิน 
2. ความครบถ้วน หมายถึง มีเอกสารการจ่ายเงินครบถ้วนตามที่ 
11 
จ่ายเงิน 
11
การบริหารการเงิน 
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน (ต่อ) 
 เบิกตามที่จ่ายจริง ไม่เกินกรอบอัตราค่าใช้จ่ายที่ สสส. กา หนด 
 เป็นการจ่ายในกิจกรรมของแผนงาน/โครงการเท่าน้นั 
 เป็นการจ่ายภายในวงเงินงบประมาณที่ขอตั้งไว้ 
ในกรณีจาเป็นสามารถปรับงบประมาณข้ามหมวด/กิจกรรมได้ 
ไม่เกิน 10% และแจ้งให้ สสส. ทราบพร้อมกับรายงานเงินงวด 
หากเกินกว่า 10% จะต้องขออนุมัติจากสสส. ก่อน 
12 
3. ความถูกต้อง หมายถึง 
12
13 
รูปแบบของ 
การบริหารการเงิน 
เอกสารการจ่ายเงิน 
1) บิลเงินสด หมายถึง เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน 
จากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ 
• ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย – ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ 
• วันที่ซื้อ 
• รายละเอียดรายการสินค้า จานวน ราคา 
• ลายมือชื่อผู้รับเงิน 
1) บิลเงินสด 
2) ใบเสร็จรับเงิน 
3) ใบสาคัญรับเงิน 
13
14 
ตัวอย่าง 
บิลเงินสด 
ระบุชื่อ-ที่อยู่โครงการ 
14
15 
รูปแบบของ 
การบริหารการเงิน 
เอกสารการจ่ายเงิน 
2) ใบเสร็จรับเงิน หมายถึงหมายถึง เอกสารหลักฐาน 
การจ่ายเงินจากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ 
• ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย – ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ 
• วันที่ซื้อ 
• รายละเอียดรายการสินค้า จานวน ราคา 
• ลายมือชื่อผู้รับเงิน 
1) บิลเงินสด 
2) ใบเสร็จรับเงิน 
3) ใบสาคัญรับเงิน 
15
16 
ตัวอย่าง 
ใบเสร็จรับเงิน 
ระบุชื่อ-ที่อยู่โครงการ 
16
17 
รูปแบบของ 
การบริหารการเงิน 
เอกสารการจ่ายเงิน 
3) ใบสาคัญรับเงิน หมายถึง หลักฐานการจ่ายเงินที่ไม่ 
สามารถขอหลักฐานการจ่ายเงินได้ 
• ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย (พร้อมเลขที่บัตรประชาชน) 
• วันที่ / รายละเอียดรายการจ่าย 
• ลายมือชื่อผู้รับเงิน และลงมือลายชื่อผู้จ่ายเงิน 
1) บิลเงินสด 
2) ใบเสร็จรับเงิน 
3) ใบสาคัญรับเงิน 
เพื่อให้การจ่ายเงิน โดยใช้เอกสารใบสาคัญรับเงินมีความ 
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรมีเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน เช่น รายงาน 
การประชุม ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม/ร่วมกิจกรรม 
17
การบริหารการเงิน 
18 
1) กรณีจ่ายค่าซื้อ 
สินค้าหรือบริการโดย 
ผู้รับเงินไม่สามารถออก 
บิลเงินสดหรือ 
ใบเสร็จรับเงินได้ 
ให้ใช้ใบสาคัญรับเงิน 
พร้อมแนบสาเนาบัตร 
ประจาตัวประชาชน 
เฉพาะที่มีวงเงินเกิน 
กว่า 5,000.- บาท 
18
การบริหารการเงิน 
19 
2) กรณีจ่าย 
ค่าตอบแทนต่าง ๆ 
เช่น ค่าตอบแทน 
ผู้เข้าร่วมประชุม ค่า 
วิทยากร ให้ใช้สาคัญรับ 
เงิน โดยระบุเลข 
ประจาตัวประชาชน แต่ 
ไม่ต้องแนบสาเนาบัตร 
ประจาตัวประชาชน 
19
การบริหารการเงิน 
20 
3) กรณีจ่ายเงินที่ไม่ 
สามารถเรียกหลักฐานการ 
รับเงินใด ๆ ได้ เช่น การ 
จ่ายค่า Taxi ค่าถ่าย 
เอกสาร (บางกรณี) ให้ 
เจ้าหน้าที่แผนงาน/ 
โครงการผู้จ่ายเงินจัดทา 
ใบสาคัญรับเงินโดยระบุ 
เลขประจาตัวประชาชน 
พร้อมลงชื่อในช่องผู้รับเงิน 
แต่ไม่ต้องแนบสาเนาบัตร 
ประจาตัวประชาชน 
เนื่องจากเป็นเจ้าหน้าที่ของ 
แผนงาน/โครงการ 
20
การบริหารการเงิน 
การจัดทาบัญชี 
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทา บัญชี 
1. เพื่อให้ผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการมีข้อมูลสา หรับใช้ 
ในการบริหารแผนงาน/โครงการ 
 ข้อมูลสถานะการเงินของแผนงาน/โครงการว่ามีเงินสด 
หรือเงินฝากธนาคารเหลืออยู่เท่าไร 
 ใช้ไปในกิจกรรมใด เป็นเงินเท่าไร 
 แต่ละกิจกรรมมีงบประมาณคงเหลือเท่าไร 
2. เป็นแหล่งข้อมูลสา หรับนา ไปจัดทา รายงานต่างๆ เช่น รายงานเงินงวด 
(ง.1 – ง.3) รายงานบันทึกข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ (ป.1) 
21 
21
สสส. ได้ออกแบบสมุดบัญชีอย่างง่ายในรูปแบบของ MS Excel 
22 
การจัดทาบัญชี (ต่อ) 
การบริหารการเงิน 
1. ผู้จัดทา บัญชีบันทึกรายการใน 
สมุดเงินสด เงินฝากธนาคาร และบัญชีแยกประเภท (บน. 1) 
2. รายการที่บันทึกจะถูกสรุปไปยัง 
สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ (บน.2) 
สรุปการใช้จ่ายเงินจาแนกรายกิจกรรมและหมวดรายจ่าย(บน. 3) 
กระทบยอดเงินสดเงินฝากธนาคาร เช็ครายการ (บน. 4) 
รายงานการเงิน (ง.1 – ง.3) 
22
การบริหารการเงิน 
การเก็บเอกสารทางการเงิน การบัญชี และพัสดุ 
 ควรเก็บไว้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเพื่อประโยชน์ในการ 
ค้นหาและตรวจสอบ 
 เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 
23 
23
การจัดซื้อ/จัดจ้างและการควบคุมวัสดุและครุภัณฑ์ 
หลักการในการจัดหา 
พัสดุของ สสส. 
24 
2 
1 4 
3 
ความคุ้มค่า 
ในการจ่ายเงิน 
ความโปร่งใส 
ความรับผิดชอบต่อ 
ผลสาเร็จของงาน 
ความมีประสิทธิภาพ 
และประสิทธิผล 
24
วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
25 
1. วิธีตกลงราคา 
วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
วงเงินเกิน 
5 แสนบาท 
วงเงินไม่เกิน 
5 แสนบาท 
2. วิธีเปรียบเทียบราคา 
3. วิธีคัดเลือก 
25
26 
เนื้อหาการฝึกอบรม 
วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
1.1 สอบราคาพัสดุ 
1.2 ตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง 
วงเงินเกิน 5 หมื่นบาท 
แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับอย่าง 
น้อย 3 คน 
วิธีตกลงราคา 
วิธีเปรียบเทียบราคา 
2.1 แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคล 
กาหนดรายละเอียดพัสดุ/งานไม่ 
น้อยกว่า 3 คน 
2.2 เปรียบเทียบราคาพัสดุ อย่างน้อย 
2 ราย 
แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับไม่น้อย 
กว่า 3 คน 
1 
2 
26
27 
เนื้อหาการฝึกอบรม 
วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
3.1 แต่งตั้งคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 
คน กาหนดรายละเอียด สารวจ 
ข้อมูล 
3.2 หากเห็นเป็นงานเฉพาะ ให้พิจารณา 
จ้างผู้ออกแบบ ที่ปรึกษา หรือผู้ 
ควบคุมงานเป็นการเฉพาะได้ 
แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับไม่น้อย 
กว่า 3 คน 
3 วิธีคัดเลือก 
27
28 
เนื้อหาการฝึกอบรม 
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
$ 
$ 
$ 
ใบขอซื้อ 
ผู้ขอซื้อ ผู้รับผิดชอบ 
โครงการ 
พิจารณาวงเงินเพื่อกาหนดวิธีการจัดซื้อ 
จัดซื้อ/จัดจ้าง 
ตรวจรับ 
พิจารณาอนุมัติ 
แต่งตั้ง 
คณะกรรมการ 
จัดหา 
มากกว่า 5 หมื่น 
แต่งตั้ง 
คณะกรรมการตรวจ 
รับ 
เกิน 5 แสนบาท 
2. วิธีเปรียบเทียบราคา 
3. วิธีคัดเลือก 
ไม่เกิน 5 แสนบาท 
1. วิธีตกลงราคา 
ใบสัง่ซื้อ 
ทะเบียนครุภัณฑ์ 
ทะเบียนคุมวัสดุ 
28
การควบคุมครุภัณฑ์ 
ครุภัณฑ์หมายถงึ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรหรือมีอายุใช้งานมากกว่า 1 ปี 
และมีราคาตั้งแต่5,000 บาทข้นึไป 
1. จัดทาทะเบียนครุภัณฑ์ 
2. ให้รหัสที่ตัวครุภัณฑ์ 
3. ดูแลรักษาให้อยู่ในสถานที่ที่เหมาะสมปลอดภัย 
4. สารวจตรวจนับทุก 6 เดือน 
29 
29
การจัดการครุภัณฑ์เม่อืสิ้นสุดโครงการ 
30 
1. จาหน่ายโดยวิธีขาย 
2. โอนให้กับโครงการอื่น 
3. จา หน่ายโดยการแลกเปลี่ยน แปรสภาพหรือทา ลาย 
30
การจัดการครุภัณฑ์เม่อืสิ้นสุดโครงการ (ต่อ) 
1. จาหน่ายโดยวิธีขาย 2. โอนให้กับโครงการอื่น 3. จา หน่ายโดยการ 
31 
แลกเปลี่ยน แปรสภาพ 
หรือทา ลาย 
ตั้งกรรมการขาย โอนให้หน่วยงานราชการ หรือ 
หน่วยงานสาธารณะ หรือ 
โครงการอื่น 
แลกเปลี่ยน ในกรณีที่เป็น 
ประโยชน์แก่สนง. และมีมูลค่า 
เท่าเทียมกัน 
จัดทาบันทึกการขาย ราคา 
เหตุผล 
จัดทาบันทึกการส่งมอบไว้เป็น 
หลักฐานให้ชัดเจน 
แปรสภาพ หรือทาลายในกรณีที่ 
เป็นประโยชน์ต่อ สนง. 
จัดทาบันทึกการจาหน่าย 
และ โอนเงินคืน สสส. 
แนบทะเบียนพัสดุส่งคืนสสส. แนบทะเบียนพัสดุส่งคืนสสส. 
31
การควบคุมวัสดุ 
วัสดุหมายถงึสิ่งของที่มีความหมดเปลืองไปจากการใช้ เช่น สื่อรณรงค์ 
สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ฯลฯ 
1. จัดทาทะเบียนคุมวัสดุ หรือ Stock Card 
2. เก็บรักษาให้ปลอดภัยและเป็นระเบยีบ 
3. ควรตรวจนับทุกเดือน 
32 
32
รายงานที่แผนงาน/โครงการต้องจัดทาและส่งให้ สสส. 
รายงานด้านการเงิน (ง) รายงานผลการดาเนินงาน (ส) 
33 
33
รายงานที่แผนงาน/โครงการต้องจัดทาและส่งให้ สสส. 
งวดปกติ งวดปิดโครงการ 
รายงานการเงิน ประกอบด้วย 
ง.1 รายงานการเงินของแผนงาน/โครงการ 
ง.2 รายละเอียดรายจ่ายแยกตามประเภท 
ค่าใช้จ่าย 
บน.2 สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ 
บน.3 สรุปค่าใช้จ่ายจาแนกรายกิจกรรม 
และหมวดรายจ่าย 
-สา เนาสมุดบัญชีธนาคารแสดงรายการ 
เคลื่อนไหวการเบิกถอน 
-สา เนาใบผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 
34 
รายงานการเงิน ประกอบด้วย 
ง.1 รายงานการเงินของแผนงาน/โครงการ 
ง.2 รายละเอียดรายจ่ายแยกตามประเภท 
ค่าใช้จ่าย 
บน.2 สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ 
บน.3 สรุปค่าใช้จ่ายจาแนกรายกิจกรรมและ 
หมวดรายจ่าย 
ง.3 รายงานการเงินปิดโครงการ 
-สาเนาสมุดบัญชีธนาคารแสดงรายการ 
เคลื่อนไหวการเบิกถอน 
-สาเนาใบผู้สอบบัญชีอนุญาต 
รายงานผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย 
1.รายงานความก้าวหน้าประจา งวดที่ 
2.สรุปรายงานความก้าวหน้าโครงการย่อย 
รายงานผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย 
1.รายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมแผ่นซีดี 
หมายเหตุ การนา ส่งผลงานศึกษาได้จากสัญญารับทุนที่ทาร่วมกัน 
34
สอบถามเพิ่มเติม 
โทร. : 0-2343-1500 
การเงิน : kanyapak@thaihealth.or.th # 3406 
บัญชี : suthisa@thaihealth.or.th #3408 
การจัดซื้อ จัดจ้าง : chatpol@thaihealth.or.th # 1006 
35

More Related Content

What's hot

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผันbigiga
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น5614คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56krupornpana55
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocciJutaratDew
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผัน
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น5614คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
14คำสั่งพิจารณากลั่นกรองนักเรียนเรียนซ้ำชั้น56
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocci
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสนายสมเพชร เชื้อหมอ
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงิน
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงินแบบฟอร์มใบสำคัญรับเงิน
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงินNan NaJa
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย Nan Nutkritta Klaijaeng
 
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม โดย ธงชัย ส...
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม  โดย ธงชัย ส...การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม  โดย ธงชัย ส...
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม โดย ธงชัย ส...Nithimar Or
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายในAttachoke Putththai
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าApichaya Savetvijit
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ประพันธ์ เวารัมย์
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีlogbaz
 

Viewers also liked (20)

เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงิน
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงินแบบฟอร์มใบสำคัญรับเงิน
แบบฟอร์มใบสำคัญรับเงิน
 
แบบใบสำคัญรับเงิน
แบบใบสำคัญรับเงินแบบใบสำคัญรับเงิน
แบบใบสำคัญรับเงิน
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
 
Inventory
InventoryInventory
Inventory
 
Sales
SalesSales
Sales
 
Manager
ManagerManager
Manager
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
ระบบการซื้อ
ระบบการซื้อระบบการซื้อ
ระบบการซื้อ
 
Ekidigitala 2015
Ekidigitala 2015Ekidigitala 2015
Ekidigitala 2015
 
General Ledger
General LedgerGeneral Ledger
General Ledger
 
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม โดย ธงชัย ส...
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม  โดย ธงชัย ส...การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม  โดย ธงชัย ส...
การเขียนแผนงาน/โครงการ ในงานสร้างเสริม ป้องกันโรค กองทุนทันตกรรม โดย ธงชัย ส...
 
Mobile Training Chula eBook
Mobile Training Chula eBookMobile Training Chula eBook
Mobile Training Chula eBook
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชี
 

Similar to การบริหารจัดการโครงการสสส.

บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลwasan
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่  คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่ nanapholua
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfWattanaNanok
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
พ้อยทดสอบเขียนบล็อค
พ้อยทดสอบเขียนบล็อคพ้อยทดสอบเขียนบล็อค
พ้อยทดสอบเขียนบล็อคpitcha13
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

Similar to การบริหารจัดการโครงการสสส. (20)

Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
8.p211 216
8.p211 2168.p211 216
8.p211 216
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่  คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
7.p 126 -p_210
7.p 126 -p_2107.p 126 -p_210
7.p 126 -p_210
 
พ้อยทดสอบเขียนบล็อค
พ้อยทดสอบเขียนบล็อคพ้อยทดสอบเขียนบล็อค
พ้อยทดสอบเขียนบล็อค
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 

More from Thira Woratanarat

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดThira Woratanarat
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public healthThira Woratanarat
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Thira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์Thira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future directionThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 

More from Thira Woratanarat (20)

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
 
Thailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 SituationThailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 Situation
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public health
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future direction
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 

การบริหารจัดการโครงการสสส.

  • 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ การเงิน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถนาไปปฏิบัติโดย ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของแผนงาน/โครงการ ได้พบปะแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน 2 2
  • 3. เนื้อหา การบริหารการเงินและการจัดทา บัญชี การจัดซ้อื/จ้าง และควบคุมวัสดุครุภัณฑ์ การจัดทา รายงานผลการดา เนินงานส่ง สสส. การฝึกปฏิบัติการจัดทา บัญชีโครงการ 3 3
  • 4. การบริหารการเงิน 4 1 การรับ-จ่ายเงิน มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 2 การใช้จ่ายเงิน สนับสนุนเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ 3 เอกสารหลักฐาน การจ่ายเงินมี ความสมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง หลักการ 4
  • 5. การบริหารการเงิน 1. การเปิดบัญชีโครงการ 2. การรับเงิน 3. การเก็บรักษาเงิน 4. การเบิกจ่ายเงิน 5. การยืมเงินทดรองจ่าย 6. เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินที่สมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง 7. การจัดทา บัญชี 8. การจัดเก็บเอกสารหลักฐานการเงิน 5 5
  • 6. การบริหารการเงิน การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารของแผนงาน/โครงการ 1. เปิดบัญชีได้ทั้งประเภทออมทรัพย์และกระแสรายวัน 2. เปิดในนามแผนงานหรือโครงการ โดยใช้ชื่อที่สื่อความหมายไม่ ยาวเกินไป 3. มีผู้ลงนามถอนเงินหรือสั่งจ่าย 2 ใน 3 คน โดยให้ผู้จัดการ แผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้ลงนามหลัก 4. งดใช้ ATM ผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการควรดูแลรักษาสมุดคู่ฝากและตรวจสอบยอดคงเหลือให้ถูกต้องโดยสม่าเสมอ โครงการย่อยใช้หลักเกณฑ์การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารเช่นเดียวกับแผนงาน ดังที่กล่าวข้างต้น 6 6
  • 7. 1. รับเงินอุดหนุน 2. ดอกเบ้ยีเงินฝากธนาคาร 3. เงินยืมจากแหล่งอื่นหรือแผนงาน/โครงการอื่น 4. เงินค่าขายของที่เกิดจากแผนงาน/โครงการ 5. เงินรับบริจาค 6. อื่น ๆ 7 การรับเงิน การบริหารการเงิน 7
  • 8. 1. เก็บโดยฝากธนาคารในนามโครงการ 2. เก็บเป็นเงินสดในมือ 8 การเก็บรักษาเงิน การบริหารการเงิน 8
  • 9. การบริหารการเงิน 9 การเบิกจ่ายเงิน 1. ต้องได้รับอนุมัติจากผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการ หรือผู้ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง 2. เม่อืจ่ายเงินแล้วควรประทับตรา “จ่ายแล้ว” บนเอกสารการจ่ายเงิน ทุกฉบับเพื่อป้องกันการเบิกจ่ายซา้ ( Signature ) X 9
  • 10. การบริหารการเงิน เงินทดรองจ่าย หมายถึง เงินที่ผู้ปฏิบัติงานเบิกล่วงหน้าเพื่อใช้สา รองจ่าย ในกิจกรรมต่าง ๆ ของแผนงาน/โครงการ ซึ่งไม่สามารถกา หนดค่าใช้จ่ายได้ 10 การยืมเงินทดรองจ่าย 10
  • 11. การบริหารการเงิน เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน ควรมีลักษณะดังนี้ 1. ความสมบูรณ์หมายถึง มีความสมบูรณ์เกี่ยวกับ ชื่อและที่ อยู่ของผู้ขาย ผู้ซื้อ วันที่ รายการสินค้า จา นวน ราคา และลายมือชื่อ ผู้รับเงิน รวมทั้งผู้อนุมัติให้จ่ายได้ และผู้จ่ายเงิน 2. ความครบถ้วน หมายถึง มีเอกสารการจ่ายเงินครบถ้วนตามที่ 11 จ่ายเงิน 11
  • 12. การบริหารการเงิน เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน (ต่อ)  เบิกตามที่จ่ายจริง ไม่เกินกรอบอัตราค่าใช้จ่ายที่ สสส. กา หนด  เป็นการจ่ายในกิจกรรมของแผนงาน/โครงการเท่าน้นั  เป็นการจ่ายภายในวงเงินงบประมาณที่ขอตั้งไว้ ในกรณีจาเป็นสามารถปรับงบประมาณข้ามหมวด/กิจกรรมได้ ไม่เกิน 10% และแจ้งให้ สสส. ทราบพร้อมกับรายงานเงินงวด หากเกินกว่า 10% จะต้องขออนุมัติจากสสส. ก่อน 12 3. ความถูกต้อง หมายถึง 12
  • 13. 13 รูปแบบของ การบริหารการเงิน เอกสารการจ่ายเงิน 1) บิลเงินสด หมายถึง เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน จากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ • ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย – ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ • วันที่ซื้อ • รายละเอียดรายการสินค้า จานวน ราคา • ลายมือชื่อผู้รับเงิน 1) บิลเงินสด 2) ใบเสร็จรับเงิน 3) ใบสาคัญรับเงิน 13
  • 14. 14 ตัวอย่าง บิลเงินสด ระบุชื่อ-ที่อยู่โครงการ 14
  • 15. 15 รูปแบบของ การบริหารการเงิน เอกสารการจ่ายเงิน 2) ใบเสร็จรับเงิน หมายถึงหมายถึง เอกสารหลักฐาน การจ่ายเงินจากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ • ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย – ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ • วันที่ซื้อ • รายละเอียดรายการสินค้า จานวน ราคา • ลายมือชื่อผู้รับเงิน 1) บิลเงินสด 2) ใบเสร็จรับเงิน 3) ใบสาคัญรับเงิน 15
  • 16. 16 ตัวอย่าง ใบเสร็จรับเงิน ระบุชื่อ-ที่อยู่โครงการ 16
  • 17. 17 รูปแบบของ การบริหารการเงิน เอกสารการจ่ายเงิน 3) ใบสาคัญรับเงิน หมายถึง หลักฐานการจ่ายเงินที่ไม่ สามารถขอหลักฐานการจ่ายเงินได้ • ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย (พร้อมเลขที่บัตรประชาชน) • วันที่ / รายละเอียดรายการจ่าย • ลายมือชื่อผู้รับเงิน และลงมือลายชื่อผู้จ่ายเงิน 1) บิลเงินสด 2) ใบเสร็จรับเงิน 3) ใบสาคัญรับเงิน เพื่อให้การจ่ายเงิน โดยใช้เอกสารใบสาคัญรับเงินมีความ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรมีเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน เช่น รายงาน การประชุม ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม/ร่วมกิจกรรม 17
  • 18. การบริหารการเงิน 18 1) กรณีจ่ายค่าซื้อ สินค้าหรือบริการโดย ผู้รับเงินไม่สามารถออก บิลเงินสดหรือ ใบเสร็จรับเงินได้ ให้ใช้ใบสาคัญรับเงิน พร้อมแนบสาเนาบัตร ประจาตัวประชาชน เฉพาะที่มีวงเงินเกิน กว่า 5,000.- บาท 18
  • 19. การบริหารการเงิน 19 2) กรณีจ่าย ค่าตอบแทนต่าง ๆ เช่น ค่าตอบแทน ผู้เข้าร่วมประชุม ค่า วิทยากร ให้ใช้สาคัญรับ เงิน โดยระบุเลข ประจาตัวประชาชน แต่ ไม่ต้องแนบสาเนาบัตร ประจาตัวประชาชน 19
  • 20. การบริหารการเงิน 20 3) กรณีจ่ายเงินที่ไม่ สามารถเรียกหลักฐานการ รับเงินใด ๆ ได้ เช่น การ จ่ายค่า Taxi ค่าถ่าย เอกสาร (บางกรณี) ให้ เจ้าหน้าที่แผนงาน/ โครงการผู้จ่ายเงินจัดทา ใบสาคัญรับเงินโดยระบุ เลขประจาตัวประชาชน พร้อมลงชื่อในช่องผู้รับเงิน แต่ไม่ต้องแนบสาเนาบัตร ประจาตัวประชาชน เนื่องจากเป็นเจ้าหน้าที่ของ แผนงาน/โครงการ 20
  • 21. การบริหารการเงิน การจัดทาบัญชี วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทา บัญชี 1. เพื่อให้ผู้จัดการแผนงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการมีข้อมูลสา หรับใช้ ในการบริหารแผนงาน/โครงการ  ข้อมูลสถานะการเงินของแผนงาน/โครงการว่ามีเงินสด หรือเงินฝากธนาคารเหลืออยู่เท่าไร  ใช้ไปในกิจกรรมใด เป็นเงินเท่าไร  แต่ละกิจกรรมมีงบประมาณคงเหลือเท่าไร 2. เป็นแหล่งข้อมูลสา หรับนา ไปจัดทา รายงานต่างๆ เช่น รายงานเงินงวด (ง.1 – ง.3) รายงานบันทึกข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ (ป.1) 21 21
  • 22. สสส. ได้ออกแบบสมุดบัญชีอย่างง่ายในรูปแบบของ MS Excel 22 การจัดทาบัญชี (ต่อ) การบริหารการเงิน 1. ผู้จัดทา บัญชีบันทึกรายการใน สมุดเงินสด เงินฝากธนาคาร และบัญชีแยกประเภท (บน. 1) 2. รายการที่บันทึกจะถูกสรุปไปยัง สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ (บน.2) สรุปการใช้จ่ายเงินจาแนกรายกิจกรรมและหมวดรายจ่าย(บน. 3) กระทบยอดเงินสดเงินฝากธนาคาร เช็ครายการ (บน. 4) รายงานการเงิน (ง.1 – ง.3) 22
  • 23. การบริหารการเงิน การเก็บเอกสารทางการเงิน การบัญชี และพัสดุ  ควรเก็บไว้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเพื่อประโยชน์ในการ ค้นหาและตรวจสอบ  เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 23 23
  • 24. การจัดซื้อ/จัดจ้างและการควบคุมวัสดุและครุภัณฑ์ หลักการในการจัดหา พัสดุของ สสส. 24 2 1 4 3 ความคุ้มค่า ในการจ่ายเงิน ความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อ ผลสาเร็จของงาน ความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 24
  • 25. วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 25 1. วิธีตกลงราคา วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง วงเงินเกิน 5 แสนบาท วงเงินไม่เกิน 5 แสนบาท 2. วิธีเปรียบเทียบราคา 3. วิธีคัดเลือก 25
  • 26. 26 เนื้อหาการฝึกอบรม วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 1.1 สอบราคาพัสดุ 1.2 ตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วงเงินเกิน 5 หมื่นบาท แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับอย่าง น้อย 3 คน วิธีตกลงราคา วิธีเปรียบเทียบราคา 2.1 แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคล กาหนดรายละเอียดพัสดุ/งานไม่ น้อยกว่า 3 คน 2.2 เปรียบเทียบราคาพัสดุ อย่างน้อย 2 ราย แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับไม่น้อย กว่า 3 คน 1 2 26
  • 27. 27 เนื้อหาการฝึกอบรม วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง 3.1 แต่งตั้งคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน กาหนดรายละเอียด สารวจ ข้อมูล 3.2 หากเห็นเป็นงานเฉพาะ ให้พิจารณา จ้างผู้ออกแบบ ที่ปรึกษา หรือผู้ ควบคุมงานเป็นการเฉพาะได้ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับไม่น้อย กว่า 3 คน 3 วิธีคัดเลือก 27
  • 28. 28 เนื้อหาการฝึกอบรม ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง $ $ $ ใบขอซื้อ ผู้ขอซื้อ ผู้รับผิดชอบ โครงการ พิจารณาวงเงินเพื่อกาหนดวิธีการจัดซื้อ จัดซื้อ/จัดจ้าง ตรวจรับ พิจารณาอนุมัติ แต่งตั้ง คณะกรรมการ จัดหา มากกว่า 5 หมื่น แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจ รับ เกิน 5 แสนบาท 2. วิธีเปรียบเทียบราคา 3. วิธีคัดเลือก ไม่เกิน 5 แสนบาท 1. วิธีตกลงราคา ใบสัง่ซื้อ ทะเบียนครุภัณฑ์ ทะเบียนคุมวัสดุ 28
  • 29. การควบคุมครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์หมายถงึ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรหรือมีอายุใช้งานมากกว่า 1 ปี และมีราคาตั้งแต่5,000 บาทข้นึไป 1. จัดทาทะเบียนครุภัณฑ์ 2. ให้รหัสที่ตัวครุภัณฑ์ 3. ดูแลรักษาให้อยู่ในสถานที่ที่เหมาะสมปลอดภัย 4. สารวจตรวจนับทุก 6 เดือน 29 29
  • 30. การจัดการครุภัณฑ์เม่อืสิ้นสุดโครงการ 30 1. จาหน่ายโดยวิธีขาย 2. โอนให้กับโครงการอื่น 3. จา หน่ายโดยการแลกเปลี่ยน แปรสภาพหรือทา ลาย 30
  • 31. การจัดการครุภัณฑ์เม่อืสิ้นสุดโครงการ (ต่อ) 1. จาหน่ายโดยวิธีขาย 2. โอนให้กับโครงการอื่น 3. จา หน่ายโดยการ 31 แลกเปลี่ยน แปรสภาพ หรือทา ลาย ตั้งกรรมการขาย โอนให้หน่วยงานราชการ หรือ หน่วยงานสาธารณะ หรือ โครงการอื่น แลกเปลี่ยน ในกรณีที่เป็น ประโยชน์แก่สนง. และมีมูลค่า เท่าเทียมกัน จัดทาบันทึกการขาย ราคา เหตุผล จัดทาบันทึกการส่งมอบไว้เป็น หลักฐานให้ชัดเจน แปรสภาพ หรือทาลายในกรณีที่ เป็นประโยชน์ต่อ สนง. จัดทาบันทึกการจาหน่าย และ โอนเงินคืน สสส. แนบทะเบียนพัสดุส่งคืนสสส. แนบทะเบียนพัสดุส่งคืนสสส. 31
  • 32. การควบคุมวัสดุ วัสดุหมายถงึสิ่งของที่มีความหมดเปลืองไปจากการใช้ เช่น สื่อรณรงค์ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ฯลฯ 1. จัดทาทะเบียนคุมวัสดุ หรือ Stock Card 2. เก็บรักษาให้ปลอดภัยและเป็นระเบยีบ 3. ควรตรวจนับทุกเดือน 32 32
  • 34. รายงานที่แผนงาน/โครงการต้องจัดทาและส่งให้ สสส. งวดปกติ งวดปิดโครงการ รายงานการเงิน ประกอบด้วย ง.1 รายงานการเงินของแผนงาน/โครงการ ง.2 รายละเอียดรายจ่ายแยกตามประเภท ค่าใช้จ่าย บน.2 สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ บน.3 สรุปค่าใช้จ่ายจาแนกรายกิจกรรม และหมวดรายจ่าย -สา เนาสมุดบัญชีธนาคารแสดงรายการ เคลื่อนไหวการเบิกถอน -สา เนาใบผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 34 รายงานการเงิน ประกอบด้วย ง.1 รายงานการเงินของแผนงาน/โครงการ ง.2 รายละเอียดรายจ่ายแยกตามประเภท ค่าใช้จ่าย บน.2 สรุปภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณ บน.3 สรุปค่าใช้จ่ายจาแนกรายกิจกรรมและ หมวดรายจ่าย ง.3 รายงานการเงินปิดโครงการ -สาเนาสมุดบัญชีธนาคารแสดงรายการ เคลื่อนไหวการเบิกถอน -สาเนาใบผู้สอบบัญชีอนุญาต รายงานผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย 1.รายงานความก้าวหน้าประจา งวดที่ 2.สรุปรายงานความก้าวหน้าโครงการย่อย รายงานผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย 1.รายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมแผ่นซีดี หมายเหตุ การนา ส่งผลงานศึกษาได้จากสัญญารับทุนที่ทาร่วมกัน 34
  • 35. สอบถามเพิ่มเติม โทร. : 0-2343-1500 การเงิน : kanyapak@thaihealth.or.th # 3406 บัญชี : suthisa@thaihealth.or.th #3408 การจัดซื้อ จัดจ้าง : chatpol@thaihealth.or.th # 1006 35

Editor's Notes

  1. แก้วิธีจัดซื้อข้างล่าง ดูคู่มือประกอบ!!!!