SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 91
Descargar para leer sin conexión
เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
 สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และอธิบายการลาเลียงในร่างกายของสัตว์บางชนิด
 สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการลาเลียงสารในร่างกายของคน
 สืบค้นข้อมูล ศึกษา อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด
จุดประสงค์การเรียนรู้
 เพื่อให้เซลล์หรือทุกๆ เซลล์สามารถนาสารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ และสามารถนาสารที่เซลล์ไม่ต้องการมากาจัดออกนอกร่างกาย
 สัตว์ขนาดเล็ก โครงสร้างร่างกายไม่ซับซ้อน การลาเลียงสารอาศัยการแพร่ระหว่างเซลล์
กับสิ่งแวดล้อมหรือระหว่างเซลล์กับเซลล์
 สัตว์ชั้นสูง โครงสร้างร่างกายซับซ้อนจาเป็นจะต้องมีระบบลาเลียงสารที่มีประสิทธิภาพ
ความจาเป็นของการลาเลียงสาร
 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 ไม่มีอวัยวะที่ทาหน้าที่เป็นระบบลาเลียงสาร
 โมเลกุลอาหารหรือก๊าชต่างๆ จะแพร่เข้าออก
ระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์และสิ่งแวดล้อมโดยตรง
การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ที่ไม่มีระบบเลือด
โพรโตซัว
ฟองน้าและไฮดรา
 สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก
 การรับและกาจัดสารเกิดขึ้นโดยการแพร่ผ่าน
ช่องแกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastrovascular
Cavity) ทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและ
ระบบหมุนเวียน
 การรับและกาจัดสารเกิดขึ้นโดยการแพร่ผ่านช่อง แกสโตรวาสคิวลาร์
(Gastrovascular Cavity) ทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน
การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ที่ไม่มีระบบเลือด
หนอนตัวแบน (Flat worm)
 ไม่มีระบบเลือด
 ใช้การหมุนเวียนของเหลวใน Pseudo coelom
หนอนตัวกลม (P. Nematoda)
การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ไม่มีระบบเลือด
ดาวทะเล (P. Echinodermata)
 ใช้ระบบลาเลียงน้า (Water vascular system)
ในการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม
 มีท่อรัศมีที่แยกมาจากท่อวงแหวน เป็นทางน้าผ่าน
ทาหน้าที่ลาเลียงนั่นเอง
 มีระบบลาเลียงที่มีประสิทธิภาพสูงเรียกว่า ระบบหมุนเวียนเลือด (Circulatory system)
 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด (Open circulatory system): เลือดไหลออกจากหัวใจไป
ตามหลอดเลือด ผ่านช่องว่างลาตัว และที่ว่างระหว่างอวัยวะต่าง เลือด และน้าเหลืองจึง
ปนกันได้ เรียกว่า ฮิโมลิมพ์ (Haemolymph) พบในพวกอาร์โทรพอด มอลลัสก์ (ยกเว้น
ปลาหมึก) โพรโทคอร์เคต (เพรียงหัวหอม และแอมฟิออกซัส) และอาร์โทรพอด (แมลง
แมง กุ้ง กั้ง ปู ตะขาบ และกิ้งกือ)
 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (Closed circulatory system): เลือดจะไหลเวียนภายใน
ท่อของหลอดเลือดและหัวใจตลอดเวลา พบในสัตว์พวกแอนเนลิด เป็นพวกแรก
การลาเลียงสารในสัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อน
 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด
 หัวใจ (Heart): ส่วนของหลอดเลือดที่โป่ง
ออก
 ซ้ายและขวาของหัวใจโป่งออก มีรูเล็กๆ ที่
มีลิ้นปิด-เปิด เรียกว่า ออสเทีย (Ostia)
 หัวใจบีบตัว: เลือดไหลไปตามหลอดเลือด
และปะปนในช่องว่างในลาตัว
(Haemocel)
 หัวใจคลายตัว: ลิ้นหัวใจที่ Ostia เปิด
เลือดจากเนื้อเยื่อไหลเข้าสู่หัวใจ
 เลือดของแมลงไม่มีสีเนื่องจากไม่มี
hemoglobin และ hemocyanin
ระบบหมุนเวียนเลือดในแมลง
 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด
 ส่วนใหญ่มีหัวใจ 3 ห้อง สูบฉีดเลือดไหลออกจากเส้นเลือดไปสู่ช่องว่างลาตัวรอบ
อวัยวะต่างๆ จากนั้นไหลไปที่เหงือก (ฟอกเลือด) แล้วกลับสู่หัวใจทางเส้นเลือด
 เลือดมีสีน้าเงินหรือสีฟ้า เนื่องจากมี hemocyanin
ระบบหมุนเวียนเลือดในหอย
 ระบบหมุนเวียนเลือดเป็นวงจรเดี่ยว
(single circulation): เลือด
ไหลเวียนทั่งร่างกายครบรอบจะผ่าน
หัวใจครั้งเดียว หัวใจมี 2 ห้อง
 ระบบหมุนเวียนเลือด 2 วงจร
(double circulation): เลือดไหล
เข้าหัวใจ 2 ครั้ง ครั้งที่หนึ่งเพื่อนา
เลือดไปแลกเปลี่ยนแก๊ส ครั้งที่สอง
เพื่อนาเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของ
ร่างกาย พบในสัตว์ที่มี หัวใจ 3 ห้อง
4 ห้องไม่สมบูรณ์ และ 4 ห้อง
สมบูรณ์
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (CLOSED CIRCULATORY SYSTEM):
 พวกแรกที่มีระบบหมุนเวียนเลือด
แบบปิด
 เลือด: น้าเลือด+เม็ดเลือด
 Hemoglobin ละลายอยู่ในน้าเลือด
ทาหน้าที่ลาเลียง O2 ไปให้เซลล์
 ห่วงหลอดเลือดพองออกรอบๆ
หลอดอาหารประมาณ 5 ห่วง
เรียกว่า หัวใจเทียม (Pseudoheart)
ทาหน้าที่สูบฉีดเลือด
 การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่เนื้อเยื่อและ
หลอดเลือดฝอยใต้ผิวหนัง
ระบบหมุนเวียนเลือดในไส้เดือนดิน
อวัยวะสูบฉีดเลือด 3 แห่ง
Gill heart: มี 2 แห่ง ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดที่มี O2 ต่า จากอวัยวะภายในไปยังเหงือกเพื่อ
แลกเปลี่ยนแก๊ส
Systemic heart: มี 1 แห่ง หน้าที่สูบฉีดเลือดที่มี O2 สูงไปยังอวัยวะภายในและเนื้อเยื่อ
ต่างๆ
เลือดที่ส่งมาจาก Systemic heart เป็นเลือดที่ฟอกแล้วจากเหงือก
เลือดมีสีน้าเงิน เนื่องจากมี hemocyanin
ระบบหมุนเวียนเลือดในปลาหมึก
 มีหัวใจ 2 ห้อง : 1 Atrium และ 1 Ventricle
 เลือดที่ไหลผ่านหัวใจจะเป็นเลือดที่มี O2 ต่าเท่านั้น
 เลือดที่ใช้แล้วเข้าสู่หัวใจทาง Atrium และถูกส่งออกทาง Ventricle ไปยัง Gill เพื่อ
แลกเปลี่ยนแก๊ส
 เลือดที่ออกจาก Gill เป็นเลือดที่มี O2 มากจะถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ระบบหมุนเวียนเลือดในปลา
 มีหัวใจ 3 ห้อง: 2 Atrium และ 1 Ventricle
 Right Atrium: รับเลือดที่ใช้แล้วซึ่งมี CO2 สูงจากหลอดเลือด Vein
 Left Atrium: รับเลือดที่ฟอกแล้วจาก lung ซึ่งมี O2 สูง
 เลือดจาก Atrium ทั้ง 2 ถูกส่งมาที่ Ventricle ซึ่งเลือดจะปะปนกันเล็กน้อย
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
 หัวใจ 4 ห้อง แต่ผนังกล้ามเนื้อกั้นห้อง
Ventricle ยังแบ่งไม่สมบูรณ์
 ถือว่ามีหัวใจ 4 ห้อง ไม่สมบูรณ์ ยกเว้น
จระเข้ที่มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์เลื้อยคลาน
 มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์: 2 Atrium และ 2 Ventricle
 มีประสิทธิภาพในการทางานสูงเพราะแยกเลือดที่มี O2 สูง และเลือดที่มี CO2 สูงออก
จากกันโดยเด็ดขาด
ระบบหมุนเวียนเลือดในนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์ต่างๆ
กิจกรรมที่ 6.6 การหมุนเวียนเลือดของปลา
 โครงสร้างของหัวใจ
 การเต้นของหัวใจ (conducting system)
 ความดันเลือด (Blood pressure)
 หลอดเลือด (Blood vessel)
 ส่วนประกอบของเลือด
 หมู่เลือดและการให้เลือด
โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนเลือดในคน
 ผนังหัวใจ: พัฒนามาจาก mesoderm หุ้มด้วย
pericardium
 กล้ามเนื้อหัวใจ: เนื้อเยื่อ 3 ชั้น:
 ชั้นนอก (epicardium): มีไขมัน มีหลอด
เลือดนาเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
เรียกว่า Coronary artery
 ชั้นกลาง (Myocardium): หนาที่สุด หัวใจ
แต่ละห้องหนาไม่เท่ากัน (ความหนา:
LV>RV>LA>RA) เพราะรับแรงดันไม่
เท่ากัน (แรงดัน : LV>RV>LA>RA) มี
Cardiac muscle
 ชั้นใน (Endocardium): เนื้อเยื่อบุผิว
กล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น
atrioventricular valve, semilunar
valve, chordae tendineae papillary
muscle
หัวใจ (HEART)
หัวใจ (HEART)
 มี 4 ห้อง: 2 Atrium และ 2 Ventricle
 Right Atrium (RA) : หัวใจห้องบนขวา ผนัง
บางที่สุด แรงดันน้อยที่สุด
 รับเลือดที่มี O2 ต่าจาก Superior vena
cava (หัวและแขน) และ Inferior vena
cava (ลาตัว และขา)
 ส่งเลือดที่มี O2 ต่าไปให้ RV
 ลิ้นประจาห้องคือ tricuspid valve
 Right Ventricle (RV) : หัวใจห้องล่างขวา
 รับเลือดที่มี O2 ต่าจาก RA ผ่านลิ้น
tricuspid valve
 ส่งเลือดที่มี O2 ต่าไปฟอกที่ปอดผ่านทาง
เส้นเลือด Pulmonary artery
 ลิ้นประจาห้องคือ Pulmonary
semilunar valve
ห้องหัวใจ
 Left Atrium (LA) : หัวใจห้องบนซ้าย ขนาด
เล็กที่สุด
 รับเลือดที่มี O2 สูงจากปอดผ่านทางเส้น
เลือด Pulmonary vein
 ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปให้ LV
 ลิ้นประจาห้องคือ bicuspid valve หรือ
mitral valve
 Left Ventricle (LV) : หัวใจห้องล่างซ้าย ผนัง
หนาที่สุด แรงดันน้อยที่สุด
 รับเลือดที่มี O2 สูงจาก LA ผ่านลิ้น
bicuspid valve
 ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปเลี้ยงทั่วร่างกายผ่าน
ทางเส้นเลือด aorta
 ลิ้นประจาห้องคือ aortic semilunar
valve
ห้องหัวใจ
ลิ้นหัวใจ
 Tricuspid valve:
 อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Right
Atrium กับ Right
Ventricle
 ลักษณะเป็น 3 แผ่น
 ฝังตัวอยู่ในผนังหัวใจห้อง
Ventricle โดยอาศัย
chordae tendineae เป็น
ตัวยืด เพื่อควบคุมการเปิด
ปิดลิ้น
 ป้องกันไม่ให้เลือดใน
Ventricle ไหลย้อนกลับขึ้น
สู่ Atrium
ลิ้นหัวใจ
 Pulmonary valve หรือ
Semilunar valve :
 อยู่ที่โคนของหลอดเลือด
Pulmonary artery
 ลักษณะเป็นถุงรูป
พระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3
ใบบรรจบกัน ไม่ยึด
ติดกันด้วย chordae
tendineae
 หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดไหล
กลับลงสู่ Right
Ventricle
ลิ้นหัวใจ
 Bicuspid valve หรือ Mitral
valve:
 อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Left
Atrium และ Left
Ventricle
 คล้ายกับ Tricuspid
valve แต่มี 2 แผ่น ยึด
ติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
chordae tendineae
 หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดใน
Left Ventricle ไหล
ย้อนกลับขึ้นไปที่ Left
Atrium
ลิ้นหัวใจ
 Aortic valve หรือ
Semilunar valve :
 อยู่ที่โคนของหลอดเลือด
Aorta
 ลักษณะเป็นวงรูป
พระจันทร์ครึ่งเสี้ยว
 หน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือด
ไหลย้อนกลับลงมาใน
Left Ventricle
หัวใจ (HEART) : ลิ้นหัวใจ
papillary muscle
กิจกรรมที่ 6.7 หัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
 การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ
หัวใจเป็นจังหวะสม่าเสมอ เรียกว่า ชีพ
จร
 อัตราการเต้นของหัวใจ: วัดจาก
หลอดเลือดแดงหรือ artery เป็นจานวน
ครั้งต่อนาที
 ขณะกล้ามเนื้อหัวใจหดและคลายตัว
เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า
 เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
ของหัวใจเรียกว่า Electrocardiogram
หรือ ECG หรือ EKG (เครื่องตรวจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ)  ใช้ตรวจสอบการ
เต้นของหัวใจ วินิจฉัยโรคเกี่ยวกับหัวใจ
การทางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
 วัดที่ artery ที่ข้อมือ/เท้า ต้นคอ ขมับ
 72 ครั้ง/นาที ขึ้นอยู่กับกิจกรรม อายุ เพศ
วัย (ถ้านักเรียนอายุ 17 ปีหัวใจของ
นักเรียนเต้นมาแล้วกี่ครั้ง??)
 CO = SV x HR
 CO (cardiac Output) = ปริมาตร
เลือดที่ออกจาก ventricle ใน 1 นาที
 SV (Stroke Volume) = ปริมาตร
เลือดที่ออกจาก ventricle ใน 1 ครั้ง
 HR (Heart Rate) = อัตราการเต้น
ของหัวใจกี่ครั้งใน 1 นาที
HEART RATE = PULSE (ชีพจร)
องค์ประกอบ
 P wave : atrium
systole
 QRS complex :
ventricle systole และ
atrium diastole
 T wave : ventricle
diastole
การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ELECTROCARDIOGRAM : EKG)
 cardiac muscle ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถกระตุ้นได้เอง (self-excitable)
 sinoatrial (SA) node ควบคุมอัตราและเวลาในการบีบตัวของหัวใจ
 SA node วางตัวอยู่บนผนังของ atrium ขวาใกล้กับบริเวณที่ superior vena cava
 Atrioventricular (AV) node วางตัวอยู่บนผนังของหัวใจระหว่าง atrium และ
ventricle ขวา
จังหวะการเต้นของหัวใจ (HEART’S RHYTHMIC BEAT)
 SA node นากระแสความรู้สึก
ได้เอง เพราะมีผู้ให้จังหวะคือ
pace marker
 SA node ผลิตกระแสไฟฟ้า
กระจายทั่ว atrium
atrium บีบตัวไล่เลือดไปที่
ventricle ส่งกระแส
ประสาทต่อไปที่ AV node ที่
ฐานของ atrium ขวา
 กระแสไฟฟ้าถูกหน่วงอยู่ที่ AV
node เพื่อให้แน่ใจว่า
ventricle รับเลือดเรียบร้อย
แล้ว
กลไกการเต้นของหัวใจ
 กระแสไฟฟ้าจะผ่านต่อลงไปทาง
AV bundle (septum)  แยก
ไป right & left bundle
branches
 กระแสไฟฟ้าจะถูกส่งต่อเข้าสู่หัวใจ
ของ ventricle ผ่านทาง
purkinje fibers อย่างรวดเร็ว
 ventricle บีบตัวไล่เลือดออก
จากหัวใจ
กลไกการเต้นของหัวใจ
 สามารถใช้ stethoscope ฟัง
เสียงของหัวใจได้โดยจะได้ยิน
เสียง lub-dup, lub-dup, lub-
dup
 Lub: เป็นเสียงของเลือดที่
กระแทก AV valve เมื่อ
ventricle บีบตัว
 Dup: เป็นเสียงของเลือดที่
กระแทก semilunar valve เมื่อ
ventricle คลายตัว
เสียงของหัวใจ
 แรงดันที่ทาให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือด
 วัดที่ artery บริเวณแขนด้านบน
 systolic pressure : ความดันสูงสุดขณะ
หัวใจบีบตัว คนปกติมีค่า 120 mmHg
 diastolic pressure : ความดันต่าสุด
ขณะหัวใจคลายตัว คนปกติมีค่า 80 mmHg
 บันทึกค่าความดัน 2 ค่าเป็น 120/80
mmHg
 นอนราบกับพื้น ความดันปลายเท้า
ใกล้เคียงความดันที่อก เลือดหมุนเวียนใน
แนวนอน
 ยืนความดันบริเวณขาสูงที่สุด และศีรษะ
น้อยที่สุด เพราะเลือดไหลลงตามแรงดึงดูด
ของโลก
BLOOD PRESSURE : BP
 ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด : เพศ
อายุ ภาวะอารมณ์ น้าหนักร่างกาย
อาหาร สารที่ร่างกายได้รับ
 ความดันเลือดต่า (Hypotension):
ความดันเลือดในขณะพักต่ากว่า
ความดันปกติ
 ความดันเลือดสูง
(Hypertension): ความดันเลือด
ในขณะพักสูงกว่าความดันปกติ
เนื่องจากเส้นเลือดขาดความยืดหยุ่น
โรคไต เบาหวาน ภาวะขาดการออก
กาลังกาย
ความผิดปกติเกี่ยวกับความดันเลือด
 ระบบประสาทอัตโนวัติ : เส้นประสาทซิมพาเทติกเร่งการเต้นของหัวใจ เส้นประสาทพารา
ซิมพาเทติกยับยั้งการทางานของหัวใจ
 ศูนย์ควบคุมการทางานของหัวใจ : สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา
 ฮอร์โมน : เอพิเนฟรินจากต่อมหมวกไตส่วนในและไทรอกซินจากต่อมไทรอยด์ ทาให้หัว
ใจเต้นแรงและเร็ว
การควบคุมการทางานของหัวใจ
กิจกรรมที่ 6.8 อัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดเลือด (BLOOD VESSEL)
โครงสร้างของผนังหลอดเลือด
หลอดเลือด (BLOOD VESSEL)
 Arterial system : ทิศทางออกจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย
 Venous system : ออกจากปอด และส่วนต่างๆ ของร่างกายและมีทิศทางเข้าสู่หัวใจ
 Capillaries system : แทรกตามเนื้อเยื่อ และเชื่อมระหว่าง Arterial system กับ
Venous system
 เรียงลาดับจากหัวใจต่อเนื่องไปจากใหญ่ไปเล็ก : Aorta  Artery  Arteriole
ระบบอาร์เทอรี (ARTERIAL SYSTEM)
 ชั้นนอกสุด: เป็นเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันมีหลอดเลือดซาวา
โซรัมมาเลี้ยงผนังหลอด
เลือด
 ชั้นกลาง: ชั้นกล้ามเนื้อเรียบ
และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี
Elastic fibers ทาให้
ยืดหยุ่นได้ดี
 ชั้นในสุด: เนื้อเยื่อบุผิวแบน
บางและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี
Elastic fibers
โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดเลือดระบบอาร์เทอรี
 ขนาดเล็ก ผนังบาง
 ประกอบด้วยเซลล์เอนโด
ทีเลียล เรียงตัวชั้นเดียว
 ไม่มีกล้ามเนื้อและเส้นใยอิ
ลาสติน
 สานกันเป็นร่างแหตาม
เนื้อเยื่อ เชื่อมต่อระหว่าง
อาร์เทอริโอลและเวนูล
 ทาหน้าที่แลกเปลี่ยน
อาหาร แก๊ส และสาร
ต่างๆ
ระบบหลอดเลือดฝอย (CAPILLARY)
 หน้าที่นาเลือดจากปอดและส่วนต่างๆ
ของร่างกายกลับเข้าหัวใจ
 Vena cavaVeinVenule
 ผนัง 3 ชั้น และบางกว่า อาร์เทอรี
เนื่องจากกล้ามเนื้อน้อยกว่า
 แรงดันเลือดในหลอดเลือดเวนต่ากว่า
อาร์เทอรี ใกล้หัวใจแรงดันเลือดจะต่า
เนื่องจากอยู่ห่างแรงบีบของหัวใจ
 ผนังยืด ขยายได้
 หลอดเลือนเวนขนาดใหญ่จะมีลิ้นกั้น
เป็นระยะ ป้องกันไม่ให้เลือดไหล
ย้อนกลับ ยกเว้น pulmonary vein
หลอดเลือดเวน
หลอดเลือดเวน
 เรียงลาดับจากหัวใจต่อเนื่องไปจากใหญ่ไปเล็ก : Vena cavaVeinVenule
 veinใหญ่ๆจะมี one-way valve กั้น ที่ยอมให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจเท่านั้น
หลอดเลือดเวน
ความดันเลือดในหลอดเลือดต่างๆ
 ให้นักเรียนเปรียบเทียบหลอดเลือดอาร์เทอรี เวน และหลอดเลือดฝอยในหัวข้อ
 1. ทิศทางการไหลของเลือดในหลอดเลือด
 2. ลักษณะของเลือดในหลอดเลือด
 3. ลิ้นในหลอดเลือด
 4. ความหนาของผนังหลอดเลือด
 5. ปริมาณเลือดในหลอดเลือด
 6. การมองเห็นจากภายนอก
 7. ความเร็วของกระแสเลือดในหลอดเลือด
 8. การไหลของเลือดในหลอดเลือด
 9. แรงดันเลือด
หลอดเลือด
กิจกรรมที่ 6.9 ทิศทางการไหลของเลือดในหลอดเลือดเวน
 เลือดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
 พลาสมา (plasma): ของเหลว = น้าเลือด
 เซลล์เม็ดเลือด (blood corpuscle): เซลล์เม็ด
เลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเพลตเลต
ส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบของเลือด
 ของเหลวใส
 หน้าที่ลาเลียงสาร
 H2O 90% : ตัวพาเซลล์เม็ดเลือดให้
หมุนเวียนในหลอดเลือด
 Protein: albumin ทาให้เกิด
แรงดันออสโมซิส, α-globulin เป็น
ตัวพา bilirubin ไปที่ตับ, ß-
globulin เป็นส่วนประกอบของ
antibody, fibrinogen และ
prothrombin เกี่ยวข้องกับการ
แข็งตัวของเลือด
 น้าตาล ไขมัน แอนติบอดี เซรัม
และของเสีย
ส่วนประกอบของเลือด : พลาสมา (PLASMA)
สร้างจากไขกระดูก (bone
marrow)
ในไขกระดูก: มีนิวเคลียส,
เข้าหลอดเลือด นิวเคลียสของ
RBC และ platelets สลายไป
Red blood cell : RBC หรือ
erythrocyte
White blood cell : WBC
หรือ leucocyte
platelets
ส่วนประกอบของเลือด : เซลล์เม็ดเลือด (BLOOD CELL)
 รูปร่าง : กลม ตรงกลางบุ๋ม พื้นผิวเป็นโปรตีน
Hemoglobin มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ
 ระยะเอ็มบริโอ : สร้างจากถุงไข่แดง (yolk
sac), ม้าม (spleen), ตับ ต่อมน้าเหลือง ไข
กระดูก
 หลังคลอด สร้างที่ไขกระดูก
 ขณะสร้าง : เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส
 อายุ: 100-120 วัน
 โตเต็มที่ : นิวเคลียสสลายพร้อมไมโทคอนเด
รียและไรโบโซม
 ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดง: ตับ ม้าม
 หน้าที่: ขนส่ง O2 ลาเลียง O2 ไปเลี้ยงร่างกาย
โดย O2 จับกับ hemoglobin ได้เป็น
oxyhemoglobin
RED BLOOD CELL
 โตกว่า จานวนน้อยกว่าเม็ดเลือดแดง มี
นิวเคลียส
 อายุ: 2-3 วัน
 สร้างจาก: ไขกระดูก ม้าม ต่อมไทมัส ต่อม
น้าเหลือง
 ถูกทาลาย: โดยเชื้อโรค
 จานวนเพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อ (infection)
 เด็ก > ผู้ใหญ่
 หน้าที่: ป้องกันหรือทาลายเชื้อโรคและ
ต่อต้านสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดย
วิธี phagocytosis
 แบ่งเป็น 2 ชนิด: granulocyte และ
agranulocyte
WHITE BLOOD CELL
 อยู่ในไซโทพลาซึม มีนิวเคลียสใหญ่คอดเป็นพู (lobe) มี 3
ชนิด
 Neutrophil: แกรนูลละเอียด ติดสีชมพู นิวเคลียสแยก
เป็นพู หน้าที่จับแบคทีเรีย โดย phagocytosis มี
lysosome มาย่อยเรียกว่า microphage
 Basophil: แกรนูลใหญ่ ย้อมติดสีม่วง นิวเคลียสคล้ายตัว
S ทาหน้าที่สร้าง histamine serotonin (ทาให้กล้ามเนื้อ
ผนังหลอดเลือดหดตัว) และเฮปารีน (ทาให้เลือดในหลอด
เลือดเหลวตลอดเวลา) หน้าที่กินแบคทีเรีย ช้ามาก
GRANULOCYTE
Eosinophil/acidophil: แกรนูลน้อย
ย้อมติดสีชมพู นิวเคลียส 2 พู หน้าที่จับ
แบคทีเรีย โดย phagocytosis กาจัด
ฤทธิ์ของ histamin ที่ปล่อยออกมาจาก
โรคภูมิแพ้
GRANULOCYTE
 นิวเคลียสใหญ่ มี 2 ชนิด
 Lymphocyte: นิวเคลียสกลม เกือบเต็ม
เซลล์ เคลื่อนที่ได้ หน้าที่สร้างแอนติบอดี
สร้างสารต่อต้านสิ่งแปลกปลอม
 มี 2 ชนิด คือ T-cell (สร้างที่กระดูก เจริญ
ที่ต่อมไทมัส) และ B-cell (สร้างและเจริญ
ในไขกระดุก)
 Monocyte: ใหญ่ที่สุด นิวเคลียสรีคล้าย
รูปไตเกือบเต็มเซลล์ ทาลายสิ่ง
แปลกปลอม เคลื่อนที่ได้โดยวิธี
phagocytosis ทางานร่วมกับ
Neutrophil กินสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่
เรียกว่า macrophage
 เม็ดเลือดขาวสามาเคลื่อนที่ผ่านผนังหลอด
เลือดออกมาที่เนื้อเยื่อได้
AGRANULOCYTE
WHITE BLOOD CELL
WHITE BLOOD CELL
 รูปร่างไม่แน่นอน ชิ้นเล็กๆ ในน้า
เลือด
 เกิดจาก: cytoplasm และ
megakaryocyte ในไขกระดูก
 megakaryocyte 1 cell สร้าง
platelets ได้ 3,000-4,000
platelets
 ไม่มีนิวเคลียส
 เลือด 1 ml มี 250,000 platelets
 อายุ: ประมาณ 7-10 วัน
PLATELETS
กลไกการแข็งตัวของเลือด
Thromboplastin Thrombin Fibrin
 ขั้นที่ 1 : Thromboplastin จาก platelet และเนื้อเยือที่ได้รับอันตราย
 ขั้นที่ 2 : Thromboplastin เปลี่ยน Prothrombin ให้เป็น Thrombin โดยอาศัย
Ca2+ และปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดใน plasma
 ขั้นที่ 3 : Thrombin ไปเปลี่ยน Fibrinogen เป็น Fibrin
 ขั้นที่ 4 : Fibrin เส้นเล็กๆ รวมตัวเป็นเส้นใยไฟบริน และไปประสานกันเป็นร่างแห
และมี platelet เม็ดเลือดต่างๆ มาเกาะติดอยู่ภายใน เกิดเป็นก้อนแข็งร่างแห Fibrin
หดตัวรัดเข้าช่วยตึงบาดแผลให้เข้าชิดกันและปิดปากแผล
 หลังการแข็งตัวของเลือด: ของเหลวในร่างแหไฟบรินถูกบีบออกข้างนอก เป็นน้าใสๆ
เรียกว่า Serum ซึ่งไม่มี Fibrinogen หรือ Fibrin
กลไกการแข็งตัวของเลือด (BLOOD CLOTTING)
 เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดงมีสารไกลโคโปรตีน (Antigen) หลายชนิด ทาให้จาแนกหมู
เลือดในร่างกายออกเป็นหมู่ต่างๆ เช่น ระบบ ABO ระบบ Rh และระบบ MN
 Antibody อยู่ใน plasma
หมู่เลือดและการให้เลือด
หมู่เลือดระบบ ABO
การตรวจสอบหมู่เลือด
หมู่เลือด Anti-A serum Anti-B serum
O - -
A + -
B - +
AB + +
- หมายถึง ไม่เกิดการตกตะกอนของเลือด
+ หมายถึง เกิดการตกตะกอนของเลือด
การให้และรับเลือด
 Rh+: มี Antigen Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มี Antibody Rh ในพลาสมา
 Rh-: ไม่มีทั้ง Antigen Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง และ Antibody Rh ในพลาสมา
แต่สามารถสร้าง antibody ได้เมื่อได้รับการกระตุ้นจาก Antigen
 Rh- รับเลือดได้จากคนที่มี Rh- เหมือนกันเท่านั้น
 Rh+ รับเลือดได้ทั้งชนิด Rh+ และ Rh-
หมู่เลือดระบบ RH
หมู่เลือดระบบ RH
 ถ้าผู้รับเลือด Rh- ได้รับเลือด Rh+ เข้าไป ร่างกายของผู้รับจะสร้าง Antibody Rh ขึ้น ใน
ตอนแรกยังไม่เป็นอันตราย แต่ถ้าได้รับเลือด Rh+ ในครั้งต่อไป Antibody Rh ในร่างกาย
ผู้รับจะต่อต้าน Antigen Rh ของผู้ให้ทาให้เป็นอันตราย
 ถ้ามารดามี Rh- แต่ลูกมี Rh+ เลือดจากทารก Rh+ ผ่านเข้าไปในระบบเลือดของมารดา
กระตุ้นให้เลือดของมารดาสร้าง Antibody Rh และ Antibody จะทาปฏิกิริยาต่อ
แอนติเจน Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงของลูก ทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงจับตัวและถูก
ทาลาย เกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต เรียกว่า erythroblastosis fetalis
กิจกรรมที่ 6.10 ลักษณะเซลล์เม็ดเลือดของคน (เขียนรายงานเดี่ยว)
แนวข้อสอบ PAT 2
1. คุณสมบัติที่ทาให้ผิวหนังของไส้เดือนดินสามารถเปลี่ยนก๊าชได้คือ
 ก หนาและมีขนช่วยพัดโบกออกซิเจน
 ข ชุ่มชื้นและมีต่อมมากมาย
 ค มีพื้นที่ผิวมาก
 ง บางและชุ่มชื้น
2. เหตุใดการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเหงือกของสัตว์น้าจึงเกิดได้น้อยกว่าการ
แลกเปลี่ยนแก๊สผ่านปอดของสัตว์บก
 ก เหงือกมีพื้นที่ผิวน้อยกว่าปอด
 ข น้ามีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ
 ค ออกซิเจนละลายน้าได้น้อยกว่าในอากาศ
 ง ความชื้นที่เหงือกมีมากเกินไปจนรบกวนการแลกเปลี่ยน
3. ในขณะที่เกิดการบีบตัวของเวนตริเคิล โครงสร้างใดในหัวใจของสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนมทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลเข้าไปยังเอเทียม
ก ลิ้นเซมิลูนาร์
ข ไซนัสเวโนซัส
ค ไซโนแอเทรียลโนด
ง ลิ้นแอทริโอเวนทริคูลาร์
4. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือด
ก เลือดจากปอดที่นาออกซิเจนไปให้กล้ามเนื้อหัวใจ ต้องผ่านลิ้น
ไตรคัสปิดและเซมิลูนาร์ในหัวใจ
ข ความดันเลือดในพัลโมนารีอาร์เตอรี สูงกว่าในพัลโมนารีเวน
ค อัตราการเต้นของหัวใจ สามารถวัดได้จากการเต้นของชีพจร
ง ถ้าโคโรนารีอาร์เตอรี ตีบหรือแห้ง จาทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
5. กรณีในข้อใดที่ทาให้ทารกในครรภ์คนที่ 2 มีโอกาสเกิด อีรีโทรบลาสโทซิส
ฟีทาลิส
ก แม่มีหมู่เลือด Rh+ ทารกในครรภ์คนแรกมีหมู่เลือด Rh+ คนที่ 2
มีหมู่เลือด Rh-
ข แม่มีหมู่เลือด Rh+ ทารกในครรภ์คนแรกและคนที่ 2 มีหมู่เลือด
Rh-
ค แม่มีหมู่เลือด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกมีหมู่เลือด Rh- คนที่ 2 มี
หมู่เลือด Rh+
ง แม่มีหมู่เลือด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกและคนที่ 2 มีหมู่เลือด
Rh+
6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหมู่เลือด
ก คนที่มีหมู่เลือด O สามารถรับเลือดจากคนหมู่เลือด B ได้โดยไม่
เป็นอันตราย เพราะหมู่เลือด O ไม่มีแอนติเจน A ที่จับกับแอนติบอดี A ของ
หมู่เลือด B
ข คนที่มีหมู่เลือด A ไม่สามารถรับเลือดจากคนหมู่เลือด AB ได้
เพราะแอนติเจน B จากหมู่เลือด AB จะจับกับแอนติบอดี B ของหมู่เลือด A
ค. คนที่มีหมู่เลือด Rh- สามารถรับเลือดได้จากทั้งหมู่เลือด Rh- และ
Rh+
ง แม่ที่มีหมู่เลือด Rh+ ถ้ามีทารกในครรภ์คนที่ 2 หรือ 3 เป็น Rh-
อาจทาให้ทารกเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟีทาลิสได้
ระบบหมุนเวียนเลือด

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 

La actualidad más candente (20)

แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 

Similar a ระบบหมุนเวียนเลือด

หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตJanejira Meezong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดNookPiyathida
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdf
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdfVertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdf
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdfRatarporn Ritmaha
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด Krupol Phato
 

Similar a ระบบหมุนเวียนเลือด (20)

หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิต
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdf
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdfVertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdf
Vertebrates_Part 3 Amphibian and Reptile.pdf
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

Más de Thitaree Samphao

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 

Más de Thitaree Samphao (8)

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 

ระบบหมุนเวียนเลือด

  • 1. เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 2.  สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และอธิบายการลาเลียงในร่างกายของสัตว์บางชนิด  สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการลาเลียงสารในร่างกายของคน  สืบค้นข้อมูล ศึกษา อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 3.
  • 4.  เพื่อให้เซลล์หรือทุกๆ เซลล์สามารถนาสารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ และสามารถนาสารที่เซลล์ไม่ต้องการมากาจัดออกนอกร่างกาย  สัตว์ขนาดเล็ก โครงสร้างร่างกายไม่ซับซ้อน การลาเลียงสารอาศัยการแพร่ระหว่างเซลล์ กับสิ่งแวดล้อมหรือระหว่างเซลล์กับเซลล์  สัตว์ชั้นสูง โครงสร้างร่างกายซับซ้อนจาเป็นจะต้องมีระบบลาเลียงสารที่มีประสิทธิภาพ ความจาเป็นของการลาเลียงสาร
  • 5.  สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ไม่มีอวัยวะที่ทาหน้าที่เป็นระบบลาเลียงสาร  โมเลกุลอาหารหรือก๊าชต่างๆ จะแพร่เข้าออก ระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์และสิ่งแวดล้อมโดยตรง การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ที่ไม่มีระบบเลือด โพรโตซัว ฟองน้าและไฮดรา  สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  การรับและกาจัดสารเกิดขึ้นโดยการแพร่ผ่าน ช่องแกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastrovascular Cavity) ทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและ ระบบหมุนเวียน
  • 6.  การรับและกาจัดสารเกิดขึ้นโดยการแพร่ผ่านช่อง แกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastrovascular Cavity) ทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ที่ไม่มีระบบเลือด หนอนตัวแบน (Flat worm)
  • 7.  ไม่มีระบบเลือด  ใช้การหมุนเวียนของเหลวใน Pseudo coelom หนอนตัวกลม (P. Nematoda) การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์ไม่มีระบบเลือด ดาวทะเล (P. Echinodermata)  ใช้ระบบลาเลียงน้า (Water vascular system) ในการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม  มีท่อรัศมีที่แยกมาจากท่อวงแหวน เป็นทางน้าผ่าน ทาหน้าที่ลาเลียงนั่นเอง
  • 8.  มีระบบลาเลียงที่มีประสิทธิภาพสูงเรียกว่า ระบบหมุนเวียนเลือด (Circulatory system)  ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด (Open circulatory system): เลือดไหลออกจากหัวใจไป ตามหลอดเลือด ผ่านช่องว่างลาตัว และที่ว่างระหว่างอวัยวะต่าง เลือด และน้าเหลืองจึง ปนกันได้ เรียกว่า ฮิโมลิมพ์ (Haemolymph) พบในพวกอาร์โทรพอด มอลลัสก์ (ยกเว้น ปลาหมึก) โพรโทคอร์เคต (เพรียงหัวหอม และแอมฟิออกซัส) และอาร์โทรพอด (แมลง แมง กุ้ง กั้ง ปู ตะขาบ และกิ้งกือ)  ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (Closed circulatory system): เลือดจะไหลเวียนภายใน ท่อของหลอดเลือดและหัวใจตลอดเวลา พบในสัตว์พวกแอนเนลิด เป็นพวกแรก การลาเลียงสารในสัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อน
  • 9.  ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด  หัวใจ (Heart): ส่วนของหลอดเลือดที่โป่ง ออก  ซ้ายและขวาของหัวใจโป่งออก มีรูเล็กๆ ที่ มีลิ้นปิด-เปิด เรียกว่า ออสเทีย (Ostia)  หัวใจบีบตัว: เลือดไหลไปตามหลอดเลือด และปะปนในช่องว่างในลาตัว (Haemocel)  หัวใจคลายตัว: ลิ้นหัวใจที่ Ostia เปิด เลือดจากเนื้อเยื่อไหลเข้าสู่หัวใจ  เลือดของแมลงไม่มีสีเนื่องจากไม่มี hemoglobin และ hemocyanin ระบบหมุนเวียนเลือดในแมลง
  • 10.  ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด  ส่วนใหญ่มีหัวใจ 3 ห้อง สูบฉีดเลือดไหลออกจากเส้นเลือดไปสู่ช่องว่างลาตัวรอบ อวัยวะต่างๆ จากนั้นไหลไปที่เหงือก (ฟอกเลือด) แล้วกลับสู่หัวใจทางเส้นเลือด  เลือดมีสีน้าเงินหรือสีฟ้า เนื่องจากมี hemocyanin ระบบหมุนเวียนเลือดในหอย
  • 11.  ระบบหมุนเวียนเลือดเป็นวงจรเดี่ยว (single circulation): เลือด ไหลเวียนทั่งร่างกายครบรอบจะผ่าน หัวใจครั้งเดียว หัวใจมี 2 ห้อง  ระบบหมุนเวียนเลือด 2 วงจร (double circulation): เลือดไหล เข้าหัวใจ 2 ครั้ง ครั้งที่หนึ่งเพื่อนา เลือดไปแลกเปลี่ยนแก๊ส ครั้งที่สอง เพื่อนาเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย พบในสัตว์ที่มี หัวใจ 3 ห้อง 4 ห้องไม่สมบูรณ์ และ 4 ห้อง สมบูรณ์ ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (CLOSED CIRCULATORY SYSTEM):
  • 12.  พวกแรกที่มีระบบหมุนเวียนเลือด แบบปิด  เลือด: น้าเลือด+เม็ดเลือด  Hemoglobin ละลายอยู่ในน้าเลือด ทาหน้าที่ลาเลียง O2 ไปให้เซลล์  ห่วงหลอดเลือดพองออกรอบๆ หลอดอาหารประมาณ 5 ห่วง เรียกว่า หัวใจเทียม (Pseudoheart) ทาหน้าที่สูบฉีดเลือด  การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่เนื้อเยื่อและ หลอดเลือดฝอยใต้ผิวหนัง ระบบหมุนเวียนเลือดในไส้เดือนดิน
  • 13. อวัยวะสูบฉีดเลือด 3 แห่ง Gill heart: มี 2 แห่ง ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดที่มี O2 ต่า จากอวัยวะภายในไปยังเหงือกเพื่อ แลกเปลี่ยนแก๊ส Systemic heart: มี 1 แห่ง หน้าที่สูบฉีดเลือดที่มี O2 สูงไปยังอวัยวะภายในและเนื้อเยื่อ ต่างๆ เลือดที่ส่งมาจาก Systemic heart เป็นเลือดที่ฟอกแล้วจากเหงือก เลือดมีสีน้าเงิน เนื่องจากมี hemocyanin ระบบหมุนเวียนเลือดในปลาหมึก
  • 14.  มีหัวใจ 2 ห้อง : 1 Atrium และ 1 Ventricle  เลือดที่ไหลผ่านหัวใจจะเป็นเลือดที่มี O2 ต่าเท่านั้น  เลือดที่ใช้แล้วเข้าสู่หัวใจทาง Atrium และถูกส่งออกทาง Ventricle ไปยัง Gill เพื่อ แลกเปลี่ยนแก๊ส  เลือดที่ออกจาก Gill เป็นเลือดที่มี O2 มากจะถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ระบบหมุนเวียนเลือดในปลา
  • 15.
  • 16.  มีหัวใจ 3 ห้อง: 2 Atrium และ 1 Ventricle  Right Atrium: รับเลือดที่ใช้แล้วซึ่งมี CO2 สูงจากหลอดเลือด Vein  Left Atrium: รับเลือดที่ฟอกแล้วจาก lung ซึ่งมี O2 สูง  เลือดจาก Atrium ทั้ง 2 ถูกส่งมาที่ Ventricle ซึ่งเลือดจะปะปนกันเล็กน้อย ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
  • 17.  หัวใจ 4 ห้อง แต่ผนังกล้ามเนื้อกั้นห้อง Ventricle ยังแบ่งไม่สมบูรณ์  ถือว่ามีหัวใจ 4 ห้อง ไม่สมบูรณ์ ยกเว้น จระเข้ที่มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์ ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์เลื้อยคลาน
  • 18.  มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์: 2 Atrium และ 2 Ventricle  มีประสิทธิภาพในการทางานสูงเพราะแยกเลือดที่มี O2 สูง และเลือดที่มี CO2 สูงออก จากกันโดยเด็ดขาด ระบบหมุนเวียนเลือดในนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
  • 21.  โครงสร้างของหัวใจ  การเต้นของหัวใจ (conducting system)  ความดันเลือด (Blood pressure)  หลอดเลือด (Blood vessel)  ส่วนประกอบของเลือด  หมู่เลือดและการให้เลือด โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนเลือดในคน
  • 22.  ผนังหัวใจ: พัฒนามาจาก mesoderm หุ้มด้วย pericardium  กล้ามเนื้อหัวใจ: เนื้อเยื่อ 3 ชั้น:  ชั้นนอก (epicardium): มีไขมัน มีหลอด เลือดนาเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรียกว่า Coronary artery  ชั้นกลาง (Myocardium): หนาที่สุด หัวใจ แต่ละห้องหนาไม่เท่ากัน (ความหนา: LV>RV>LA>RA) เพราะรับแรงดันไม่ เท่ากัน (แรงดัน : LV>RV>LA>RA) มี Cardiac muscle  ชั้นใน (Endocardium): เนื้อเยื่อบุผิว กล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น atrioventricular valve, semilunar valve, chordae tendineae papillary muscle หัวใจ (HEART)
  • 24.
  • 25.  มี 4 ห้อง: 2 Atrium และ 2 Ventricle  Right Atrium (RA) : หัวใจห้องบนขวา ผนัง บางที่สุด แรงดันน้อยที่สุด  รับเลือดที่มี O2 ต่าจาก Superior vena cava (หัวและแขน) และ Inferior vena cava (ลาตัว และขา)  ส่งเลือดที่มี O2 ต่าไปให้ RV  ลิ้นประจาห้องคือ tricuspid valve  Right Ventricle (RV) : หัวใจห้องล่างขวา  รับเลือดที่มี O2 ต่าจาก RA ผ่านลิ้น tricuspid valve  ส่งเลือดที่มี O2 ต่าไปฟอกที่ปอดผ่านทาง เส้นเลือด Pulmonary artery  ลิ้นประจาห้องคือ Pulmonary semilunar valve ห้องหัวใจ
  • 26.  Left Atrium (LA) : หัวใจห้องบนซ้าย ขนาด เล็กที่สุด  รับเลือดที่มี O2 สูงจากปอดผ่านทางเส้น เลือด Pulmonary vein  ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปให้ LV  ลิ้นประจาห้องคือ bicuspid valve หรือ mitral valve  Left Ventricle (LV) : หัวใจห้องล่างซ้าย ผนัง หนาที่สุด แรงดันน้อยที่สุด  รับเลือดที่มี O2 สูงจาก LA ผ่านลิ้น bicuspid valve  ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปเลี้ยงทั่วร่างกายผ่าน ทางเส้นเลือด aorta  ลิ้นประจาห้องคือ aortic semilunar valve ห้องหัวใจ
  • 27. ลิ้นหัวใจ  Tricuspid valve:  อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Right Atrium กับ Right Ventricle  ลักษณะเป็น 3 แผ่น  ฝังตัวอยู่ในผนังหัวใจห้อง Ventricle โดยอาศัย chordae tendineae เป็น ตัวยืด เพื่อควบคุมการเปิด ปิดลิ้น  ป้องกันไม่ให้เลือดใน Ventricle ไหลย้อนกลับขึ้น สู่ Atrium
  • 28. ลิ้นหัวใจ  Pulmonary valve หรือ Semilunar valve :  อยู่ที่โคนของหลอดเลือด Pulmonary artery  ลักษณะเป็นถุงรูป พระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบบรรจบกัน ไม่ยึด ติดกันด้วย chordae tendineae  หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดไหล กลับลงสู่ Right Ventricle
  • 29. ลิ้นหัวใจ  Bicuspid valve หรือ Mitral valve:  อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Left Atrium และ Left Ventricle  คล้ายกับ Tricuspid valve แต่มี 2 แผ่น ยึด ติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน chordae tendineae  หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดใน Left Ventricle ไหล ย้อนกลับขึ้นไปที่ Left Atrium
  • 30. ลิ้นหัวใจ  Aortic valve หรือ Semilunar valve :  อยู่ที่โคนของหลอดเลือด Aorta  ลักษณะเป็นวงรูป พระจันทร์ครึ่งเสี้ยว  หน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือด ไหลย้อนกลับลงมาใน Left Ventricle
  • 31.
  • 32.
  • 33. หัวใจ (HEART) : ลิ้นหัวใจ
  • 35.
  • 37.
  • 38.
  • 39.  การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ หัวใจเป็นจังหวะสม่าเสมอ เรียกว่า ชีพ จร  อัตราการเต้นของหัวใจ: วัดจาก หลอดเลือดแดงหรือ artery เป็นจานวน ครั้งต่อนาที  ขณะกล้ามเนื้อหัวใจหดและคลายตัว เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า  เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า ของหัวใจเรียกว่า Electrocardiogram หรือ ECG หรือ EKG (เครื่องตรวจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ)  ใช้ตรวจสอบการ เต้นของหัวใจ วินิจฉัยโรคเกี่ยวกับหัวใจ การทางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
  • 40.  วัดที่ artery ที่ข้อมือ/เท้า ต้นคอ ขมับ  72 ครั้ง/นาที ขึ้นอยู่กับกิจกรรม อายุ เพศ วัย (ถ้านักเรียนอายุ 17 ปีหัวใจของ นักเรียนเต้นมาแล้วกี่ครั้ง??)  CO = SV x HR  CO (cardiac Output) = ปริมาตร เลือดที่ออกจาก ventricle ใน 1 นาที  SV (Stroke Volume) = ปริมาตร เลือดที่ออกจาก ventricle ใน 1 ครั้ง  HR (Heart Rate) = อัตราการเต้น ของหัวใจกี่ครั้งใน 1 นาที HEART RATE = PULSE (ชีพจร)
  • 41. องค์ประกอบ  P wave : atrium systole  QRS complex : ventricle systole และ atrium diastole  T wave : ventricle diastole การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ELECTROCARDIOGRAM : EKG)
  • 42.  cardiac muscle ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถกระตุ้นได้เอง (self-excitable)  sinoatrial (SA) node ควบคุมอัตราและเวลาในการบีบตัวของหัวใจ  SA node วางตัวอยู่บนผนังของ atrium ขวาใกล้กับบริเวณที่ superior vena cava  Atrioventricular (AV) node วางตัวอยู่บนผนังของหัวใจระหว่าง atrium และ ventricle ขวา จังหวะการเต้นของหัวใจ (HEART’S RHYTHMIC BEAT)
  • 43.  SA node นากระแสความรู้สึก ได้เอง เพราะมีผู้ให้จังหวะคือ pace marker  SA node ผลิตกระแสไฟฟ้า กระจายทั่ว atrium atrium บีบตัวไล่เลือดไปที่ ventricle ส่งกระแส ประสาทต่อไปที่ AV node ที่ ฐานของ atrium ขวา  กระแสไฟฟ้าถูกหน่วงอยู่ที่ AV node เพื่อให้แน่ใจว่า ventricle รับเลือดเรียบร้อย แล้ว กลไกการเต้นของหัวใจ
  • 44.  กระแสไฟฟ้าจะผ่านต่อลงไปทาง AV bundle (septum)  แยก ไป right & left bundle branches  กระแสไฟฟ้าจะถูกส่งต่อเข้าสู่หัวใจ ของ ventricle ผ่านทาง purkinje fibers อย่างรวดเร็ว  ventricle บีบตัวไล่เลือดออก จากหัวใจ กลไกการเต้นของหัวใจ
  • 45.  สามารถใช้ stethoscope ฟัง เสียงของหัวใจได้โดยจะได้ยิน เสียง lub-dup, lub-dup, lub- dup  Lub: เป็นเสียงของเลือดที่ กระแทก AV valve เมื่อ ventricle บีบตัว  Dup: เป็นเสียงของเลือดที่ กระแทก semilunar valve เมื่อ ventricle คลายตัว เสียงของหัวใจ
  • 46.  แรงดันที่ทาให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือด  วัดที่ artery บริเวณแขนด้านบน  systolic pressure : ความดันสูงสุดขณะ หัวใจบีบตัว คนปกติมีค่า 120 mmHg  diastolic pressure : ความดันต่าสุด ขณะหัวใจคลายตัว คนปกติมีค่า 80 mmHg  บันทึกค่าความดัน 2 ค่าเป็น 120/80 mmHg  นอนราบกับพื้น ความดันปลายเท้า ใกล้เคียงความดันที่อก เลือดหมุนเวียนใน แนวนอน  ยืนความดันบริเวณขาสูงที่สุด และศีรษะ น้อยที่สุด เพราะเลือดไหลลงตามแรงดึงดูด ของโลก BLOOD PRESSURE : BP
  • 47.  ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด : เพศ อายุ ภาวะอารมณ์ น้าหนักร่างกาย อาหาร สารที่ร่างกายได้รับ  ความดันเลือดต่า (Hypotension): ความดันเลือดในขณะพักต่ากว่า ความดันปกติ  ความดันเลือดสูง (Hypertension): ความดันเลือด ในขณะพักสูงกว่าความดันปกติ เนื่องจากเส้นเลือดขาดความยืดหยุ่น โรคไต เบาหวาน ภาวะขาดการออก กาลังกาย ความผิดปกติเกี่ยวกับความดันเลือด
  • 48.  ระบบประสาทอัตโนวัติ : เส้นประสาทซิมพาเทติกเร่งการเต้นของหัวใจ เส้นประสาทพารา ซิมพาเทติกยับยั้งการทางานของหัวใจ  ศูนย์ควบคุมการทางานของหัวใจ : สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา  ฮอร์โมน : เอพิเนฟรินจากต่อมหมวกไตส่วนในและไทรอกซินจากต่อมไทรอยด์ ทาให้หัว ใจเต้นแรงและเร็ว การควบคุมการทางานของหัวใจ
  • 52.
  • 53.
  • 54. หลอดเลือด (BLOOD VESSEL)  Arterial system : ทิศทางออกจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย  Venous system : ออกจากปอด และส่วนต่างๆ ของร่างกายและมีทิศทางเข้าสู่หัวใจ  Capillaries system : แทรกตามเนื้อเยื่อ และเชื่อมระหว่าง Arterial system กับ Venous system
  • 55.  เรียงลาดับจากหัวใจต่อเนื่องไปจากใหญ่ไปเล็ก : Aorta  Artery  Arteriole ระบบอาร์เทอรี (ARTERIAL SYSTEM)
  • 56.  ชั้นนอกสุด: เป็นเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันมีหลอดเลือดซาวา โซรัมมาเลี้ยงผนังหลอด เลือด  ชั้นกลาง: ชั้นกล้ามเนื้อเรียบ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี Elastic fibers ทาให้ ยืดหยุ่นได้ดี  ชั้นในสุด: เนื้อเยื่อบุผิวแบน บางและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี Elastic fibers โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดเลือดระบบอาร์เทอรี
  • 57.  ขนาดเล็ก ผนังบาง  ประกอบด้วยเซลล์เอนโด ทีเลียล เรียงตัวชั้นเดียว  ไม่มีกล้ามเนื้อและเส้นใยอิ ลาสติน  สานกันเป็นร่างแหตาม เนื้อเยื่อ เชื่อมต่อระหว่าง อาร์เทอริโอลและเวนูล  ทาหน้าที่แลกเปลี่ยน อาหาร แก๊ส และสาร ต่างๆ ระบบหลอดเลือดฝอย (CAPILLARY)
  • 58.  หน้าที่นาเลือดจากปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าหัวใจ  Vena cavaVeinVenule  ผนัง 3 ชั้น และบางกว่า อาร์เทอรี เนื่องจากกล้ามเนื้อน้อยกว่า  แรงดันเลือดในหลอดเลือดเวนต่ากว่า อาร์เทอรี ใกล้หัวใจแรงดันเลือดจะต่า เนื่องจากอยู่ห่างแรงบีบของหัวใจ  ผนังยืด ขยายได้  หลอดเลือนเวนขนาดใหญ่จะมีลิ้นกั้น เป็นระยะ ป้องกันไม่ให้เลือดไหล ย้อนกลับ ยกเว้น pulmonary vein หลอดเลือดเวน
  • 60.  veinใหญ่ๆจะมี one-way valve กั้น ที่ยอมให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจเท่านั้น หลอดเลือดเวน
  • 62.  ให้นักเรียนเปรียบเทียบหลอดเลือดอาร์เทอรี เวน และหลอดเลือดฝอยในหัวข้อ  1. ทิศทางการไหลของเลือดในหลอดเลือด  2. ลักษณะของเลือดในหลอดเลือด  3. ลิ้นในหลอดเลือด  4. ความหนาของผนังหลอดเลือด  5. ปริมาณเลือดในหลอดเลือด  6. การมองเห็นจากภายนอก  7. ความเร็วของกระแสเลือดในหลอดเลือด  8. การไหลของเลือดในหลอดเลือด  9. แรงดันเลือด หลอดเลือด
  • 64.  เลือดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน  พลาสมา (plasma): ของเหลว = น้าเลือด  เซลล์เม็ดเลือด (blood corpuscle): เซลล์เม็ด เลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเพลตเลต ส่วนประกอบของเลือด
  • 66.  ของเหลวใส  หน้าที่ลาเลียงสาร  H2O 90% : ตัวพาเซลล์เม็ดเลือดให้ หมุนเวียนในหลอดเลือด  Protein: albumin ทาให้เกิด แรงดันออสโมซิส, α-globulin เป็น ตัวพา bilirubin ไปที่ตับ, ß- globulin เป็นส่วนประกอบของ antibody, fibrinogen และ prothrombin เกี่ยวข้องกับการ แข็งตัวของเลือด  น้าตาล ไขมัน แอนติบอดี เซรัม และของเสีย ส่วนประกอบของเลือด : พลาสมา (PLASMA)
  • 67. สร้างจากไขกระดูก (bone marrow) ในไขกระดูก: มีนิวเคลียส, เข้าหลอดเลือด นิวเคลียสของ RBC และ platelets สลายไป Red blood cell : RBC หรือ erythrocyte White blood cell : WBC หรือ leucocyte platelets ส่วนประกอบของเลือด : เซลล์เม็ดเลือด (BLOOD CELL)
  • 68.  รูปร่าง : กลม ตรงกลางบุ๋ม พื้นผิวเป็นโปรตีน Hemoglobin มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ  ระยะเอ็มบริโอ : สร้างจากถุงไข่แดง (yolk sac), ม้าม (spleen), ตับ ต่อมน้าเหลือง ไข กระดูก  หลังคลอด สร้างที่ไขกระดูก  ขณะสร้าง : เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส  อายุ: 100-120 วัน  โตเต็มที่ : นิวเคลียสสลายพร้อมไมโทคอนเด รียและไรโบโซม  ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดง: ตับ ม้าม  หน้าที่: ขนส่ง O2 ลาเลียง O2 ไปเลี้ยงร่างกาย โดย O2 จับกับ hemoglobin ได้เป็น oxyhemoglobin RED BLOOD CELL
  • 69.  โตกว่า จานวนน้อยกว่าเม็ดเลือดแดง มี นิวเคลียส  อายุ: 2-3 วัน  สร้างจาก: ไขกระดูก ม้าม ต่อมไทมัส ต่อม น้าเหลือง  ถูกทาลาย: โดยเชื้อโรค  จานวนเพิ่มขึ้นเมื่อติดเชื้อ (infection)  เด็ก > ผู้ใหญ่  หน้าที่: ป้องกันหรือทาลายเชื้อโรคและ ต่อต้านสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดย วิธี phagocytosis  แบ่งเป็น 2 ชนิด: granulocyte และ agranulocyte WHITE BLOOD CELL
  • 70.  อยู่ในไซโทพลาซึม มีนิวเคลียสใหญ่คอดเป็นพู (lobe) มี 3 ชนิด  Neutrophil: แกรนูลละเอียด ติดสีชมพู นิวเคลียสแยก เป็นพู หน้าที่จับแบคทีเรีย โดย phagocytosis มี lysosome มาย่อยเรียกว่า microphage  Basophil: แกรนูลใหญ่ ย้อมติดสีม่วง นิวเคลียสคล้ายตัว S ทาหน้าที่สร้าง histamine serotonin (ทาให้กล้ามเนื้อ ผนังหลอดเลือดหดตัว) และเฮปารีน (ทาให้เลือดในหลอด เลือดเหลวตลอดเวลา) หน้าที่กินแบคทีเรีย ช้ามาก GRANULOCYTE
  • 71. Eosinophil/acidophil: แกรนูลน้อย ย้อมติดสีชมพู นิวเคลียส 2 พู หน้าที่จับ แบคทีเรีย โดย phagocytosis กาจัด ฤทธิ์ของ histamin ที่ปล่อยออกมาจาก โรคภูมิแพ้ GRANULOCYTE
  • 72.  นิวเคลียสใหญ่ มี 2 ชนิด  Lymphocyte: นิวเคลียสกลม เกือบเต็ม เซลล์ เคลื่อนที่ได้ หน้าที่สร้างแอนติบอดี สร้างสารต่อต้านสิ่งแปลกปลอม  มี 2 ชนิด คือ T-cell (สร้างที่กระดูก เจริญ ที่ต่อมไทมัส) และ B-cell (สร้างและเจริญ ในไขกระดุก)  Monocyte: ใหญ่ที่สุด นิวเคลียสรีคล้าย รูปไตเกือบเต็มเซลล์ ทาลายสิ่ง แปลกปลอม เคลื่อนที่ได้โดยวิธี phagocytosis ทางานร่วมกับ Neutrophil กินสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ เรียกว่า macrophage  เม็ดเลือดขาวสามาเคลื่อนที่ผ่านผนังหลอด เลือดออกมาที่เนื้อเยื่อได้ AGRANULOCYTE
  • 75.  รูปร่างไม่แน่นอน ชิ้นเล็กๆ ในน้า เลือด  เกิดจาก: cytoplasm และ megakaryocyte ในไขกระดูก  megakaryocyte 1 cell สร้าง platelets ได้ 3,000-4,000 platelets  ไม่มีนิวเคลียส  เลือด 1 ml มี 250,000 platelets  อายุ: ประมาณ 7-10 วัน PLATELETS
  • 77.  ขั้นที่ 1 : Thromboplastin จาก platelet และเนื้อเยือที่ได้รับอันตราย  ขั้นที่ 2 : Thromboplastin เปลี่ยน Prothrombin ให้เป็น Thrombin โดยอาศัย Ca2+ และปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดใน plasma  ขั้นที่ 3 : Thrombin ไปเปลี่ยน Fibrinogen เป็น Fibrin  ขั้นที่ 4 : Fibrin เส้นเล็กๆ รวมตัวเป็นเส้นใยไฟบริน และไปประสานกันเป็นร่างแห และมี platelet เม็ดเลือดต่างๆ มาเกาะติดอยู่ภายใน เกิดเป็นก้อนแข็งร่างแห Fibrin หดตัวรัดเข้าช่วยตึงบาดแผลให้เข้าชิดกันและปิดปากแผล  หลังการแข็งตัวของเลือด: ของเหลวในร่างแหไฟบรินถูกบีบออกข้างนอก เป็นน้าใสๆ เรียกว่า Serum ซึ่งไม่มี Fibrinogen หรือ Fibrin กลไกการแข็งตัวของเลือด (BLOOD CLOTTING)
  • 78.  เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดงมีสารไกลโคโปรตีน (Antigen) หลายชนิด ทาให้จาแนกหมู เลือดในร่างกายออกเป็นหมู่ต่างๆ เช่น ระบบ ABO ระบบ Rh และระบบ MN  Antibody อยู่ใน plasma หมู่เลือดและการให้เลือด
  • 79. หมู่เลือดระบบ ABO การตรวจสอบหมู่เลือด หมู่เลือด Anti-A serum Anti-B serum O - - A + - B - + AB + + - หมายถึง ไม่เกิดการตกตะกอนของเลือด + หมายถึง เกิดการตกตะกอนของเลือด
  • 81.  Rh+: มี Antigen Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มี Antibody Rh ในพลาสมา  Rh-: ไม่มีทั้ง Antigen Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง และ Antibody Rh ในพลาสมา แต่สามารถสร้าง antibody ได้เมื่อได้รับการกระตุ้นจาก Antigen  Rh- รับเลือดได้จากคนที่มี Rh- เหมือนกันเท่านั้น  Rh+ รับเลือดได้ทั้งชนิด Rh+ และ Rh- หมู่เลือดระบบ RH
  • 82. หมู่เลือดระบบ RH  ถ้าผู้รับเลือด Rh- ได้รับเลือด Rh+ เข้าไป ร่างกายของผู้รับจะสร้าง Antibody Rh ขึ้น ใน ตอนแรกยังไม่เป็นอันตราย แต่ถ้าได้รับเลือด Rh+ ในครั้งต่อไป Antibody Rh ในร่างกาย ผู้รับจะต่อต้าน Antigen Rh ของผู้ให้ทาให้เป็นอันตราย  ถ้ามารดามี Rh- แต่ลูกมี Rh+ เลือดจากทารก Rh+ ผ่านเข้าไปในระบบเลือดของมารดา กระตุ้นให้เลือดของมารดาสร้าง Antibody Rh และ Antibody จะทาปฏิกิริยาต่อ แอนติเจน Rh ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงของลูก ทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงจับตัวและถูก ทาลาย เกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต เรียกว่า erythroblastosis fetalis
  • 85. 1. คุณสมบัติที่ทาให้ผิวหนังของไส้เดือนดินสามารถเปลี่ยนก๊าชได้คือ  ก หนาและมีขนช่วยพัดโบกออกซิเจน  ข ชุ่มชื้นและมีต่อมมากมาย  ค มีพื้นที่ผิวมาก  ง บางและชุ่มชื้น
  • 86. 2. เหตุใดการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเหงือกของสัตว์น้าจึงเกิดได้น้อยกว่าการ แลกเปลี่ยนแก๊สผ่านปอดของสัตว์บก  ก เหงือกมีพื้นที่ผิวน้อยกว่าปอด  ข น้ามีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ  ค ออกซิเจนละลายน้าได้น้อยกว่าในอากาศ  ง ความชื้นที่เหงือกมีมากเกินไปจนรบกวนการแลกเปลี่ยน
  • 88. 4. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือด ก เลือดจากปอดที่นาออกซิเจนไปให้กล้ามเนื้อหัวใจ ต้องผ่านลิ้น ไตรคัสปิดและเซมิลูนาร์ในหัวใจ ข ความดันเลือดในพัลโมนารีอาร์เตอรี สูงกว่าในพัลโมนารีเวน ค อัตราการเต้นของหัวใจ สามารถวัดได้จากการเต้นของชีพจร ง ถ้าโคโรนารีอาร์เตอรี ตีบหรือแห้ง จาทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
  • 89. 5. กรณีในข้อใดที่ทาให้ทารกในครรภ์คนที่ 2 มีโอกาสเกิด อีรีโทรบลาสโทซิส ฟีทาลิส ก แม่มีหมู่เลือด Rh+ ทารกในครรภ์คนแรกมีหมู่เลือด Rh+ คนที่ 2 มีหมู่เลือด Rh- ข แม่มีหมู่เลือด Rh+ ทารกในครรภ์คนแรกและคนที่ 2 มีหมู่เลือด Rh- ค แม่มีหมู่เลือด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกมีหมู่เลือด Rh- คนที่ 2 มี หมู่เลือด Rh+ ง แม่มีหมู่เลือด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกและคนที่ 2 มีหมู่เลือด Rh+
  • 90. 6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหมู่เลือด ก คนที่มีหมู่เลือด O สามารถรับเลือดจากคนหมู่เลือด B ได้โดยไม่ เป็นอันตราย เพราะหมู่เลือด O ไม่มีแอนติเจน A ที่จับกับแอนติบอดี A ของ หมู่เลือด B ข คนที่มีหมู่เลือด A ไม่สามารถรับเลือดจากคนหมู่เลือด AB ได้ เพราะแอนติเจน B จากหมู่เลือด AB จะจับกับแอนติบอดี B ของหมู่เลือด A ค. คนที่มีหมู่เลือด Rh- สามารถรับเลือดได้จากทั้งหมู่เลือด Rh- และ Rh+ ง แม่ที่มีหมู่เลือด Rh+ ถ้ามีทารกในครรภ์คนที่ 2 หรือ 3 เป็น Rh- อาจทาให้ทารกเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟีทาลิสได้