SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
สาระเศรษฐศาสตร์
                            ใบความรู้ ที่ 5 เรื่อง รัฐวิสาหกิจ
                                      ระดับ ม. 5



คาสั่ง 1.ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา แล้วสรุปลงสมุด
       2. ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจ คนละ 5 ข้อ

5. รัฐวิสาหกิจ
          ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2545 ให้ความหมายของรัฐวิสาหกิจ
ไว้ว่า เป็นองค์การของรัฐหรือหน่วยงานที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ รวมทั้งบริษัทหรือห้าง
หุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีหุ้น เกินกว่าร้อยละห้าสิบ

ประเภทของรัฐวิสาหกิจ
       รัฐวิสาหกิจแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
          1. รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล นิติบุคคล หมายถึง การเป็นบุคคลตามกฎหมาย
ได้แก่องค์การและหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมีฐานะเป็นบุคคลตามกฎหมา มีการดาเนินงานที่
แยกออกจากผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการโดยเฉพาะ สาหรับกิจการที่เป็นนิติบุคคลแบ่ง
เป็น 4 ประเภท คือ
              1.1 กิจการธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ ให้อานาจสาหรับจัดตั้ง
รัฐวิสาหกิจนั้น ๆ โดยเฉพาะทุนสาหรับดาเนินกิจการเป็นของรัฐ เช่น การสื่อสาร
แห่งประเทศไทย การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย การท่า
อากาศยานแห่งประเทศไทย การท่าเรือแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
1.2 กิจการที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ซึ่งออกตามความใน
พระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การรัฐบาล พ.ศ. 2496 กิจการเหล่านี้ใช้ทุนของรัฐ
ทั้งสิ้น เช่น องค์การเภสัชกรรม องค์การสะพานปลา องค์การสวนสัตว์ องค์การ
อุตสาหกรรมป่าไม้ ฯลฯ
                1.3 กิจการธุรกิจประเภทธนาคาร รัฐบาลมีบทบาทในการดาเนินกิจการ
ประเภทธนาคารซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
                       1.3.1 ธนาคารซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีพระราชบัญญัติเป็นเอกเทศมีทุน
ดาเนินการทั้งสิ้นเป็นของรัฐ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคาร
พัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อม ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้า และธนาคารอาคาร
สงเคราะห์ เป็นต้น
                       1.3.2 ธนาคารที่รัฐถือหุ้นเกินกว่า 50 % แต่ไม่ถึง 100 % เช่น
ธนาคารกรุงไทย จากัด
                1.4 กิจการบริษัทจากัด รัฐบาลได้จัดตั้งบริษัทจากัดหรือถือหุ้นในบริษัท
จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจหลายประเภทดังนี้
                       1.4.1 บริษัทจากัดที่รัฐบาลลงทุนดาเนินกิจการ 100 % เช่น บริษัท
วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด บริษัท ไม้อัดไทย จากัด บริษัท เดินเรือทะเล ฯลฯ
                       1.4.2 บริษัทจากัดที่รฐถือหุ้นเกินร้อยละ 50 เช่น บริษัทขนส่ง จากัด
                                             ั
บริษัทจังหวัดพาณิชย์ จากัด ฯลฯ
          2. รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล กิจการบางอย่างของรัฐซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยใช้ทุน
ดาเนินการทั้งสิ้นเป็นของรัฐ สังกัดหน่วยงานราชการที่เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น แต่ไม่มีฐานะเป็น
นิติบุคคล เช่น โรงงานยาสูบและสานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สังกัดกระทรวงการคลัง
เป็นต้น
         การดาเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายให้อานาจไว้ การ
ดาเนินงานเหมือนกับการดาเนินองค์กรธุรกิจทั่ว ๆ ไป รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งจะมี
กรรมการรัฐวิสาหกิจประจา ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการหรือนักการเมือง ทาหน้าที่กาหนด
นโยบายและควบคุมการดาเนินงานของรัฐวิสาหกิจนั้น




แผนผังการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจ
ข้อดีของรัฐวิสาหกิจ
       1. เป็นเครื่องมือและประโยชน์ในทางการเมือง เพราะกิจการ บางอย่างมี
ผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ การไฟฟ้า ประปา
โทรศัพท์ฯ ให้เอกชนดาเนินงาน อาจทาให้ขาดคุณภาพและผลิตใน ปริมาณที่ไม่มี
ขอบเขตคุมไม่ได้
       2. ทาให้เศรษฐกิจของประเทศชาติ ดีขึ้น เพราะเป็นการหารายได้เข้ารัฐ สามารถ
นาไปพัฒนาประเทศได้
       3. สามารถควบคุมระดับราคาสินค้าที่มความจาเป็นในการบริโภคได้
                                            ี
       4. สามารถป้องกันประเทศให้ปลอดภัยในทางยุทธศาสตร์ ไม่ขาดแคลนสิ่งที่
จาเป็นในยามเกิดสงคราม เช่น น้ามันเชื้อเพลิง อาหารสาเร็จรูป

ข้อเสียของรัฐวิสาหกิจ
       1. มีความล่าช้าในการดาเนินงาน เพราะถูกควบคุมด้วยระเบียบ ต่าง ๆ ต้องรอการ
สั่งการจากผู้มีอานาจ
       2. ขาดประสิทธิภาพในการผลิต เพราะผู้บริหารมาจากการ แต่งตั้งโดยไม่พิจารณา
ความรู้ความสามารถ ขาดการวางแผนงานระยะยาว อีกทั้งต้นทุนการผลิตสูงกว่าเอกชน
เพราะมีพนักงานจานวนมาก รายจ่ายในส่วนนีจึงสูงมาก
                                          ้

More Related Content

Similar to ชุด รัฐวิสาหกิจ

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2pairart
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionKatawutPK
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444taohumdeeg
 

Similar to ชุด รัฐวิสาหกิจ (10)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2
 
Prison saema
Prison saemaPrison saema
Prison saema
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
Organization&Management part1
Organization&Management part1Organization&Management part1
Organization&Management part1
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
 

More from thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวthnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 

More from thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 

ชุด รัฐวิสาหกิจ

  • 1.
  • 2. สาระเศรษฐศาสตร์ ใบความรู้ ที่ 5 เรื่อง รัฐวิสาหกิจ ระดับ ม. 5 คาสั่ง 1.ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา แล้วสรุปลงสมุด 2. ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจ คนละ 5 ข้อ 5. รัฐวิสาหกิจ ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2545 ให้ความหมายของรัฐวิสาหกิจ ไว้ว่า เป็นองค์การของรัฐหรือหน่วยงานที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ รวมทั้งบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีหุ้น เกินกว่าร้อยละห้าสิบ ประเภทของรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล นิติบุคคล หมายถึง การเป็นบุคคลตามกฎหมาย ได้แก่องค์การและหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมีฐานะเป็นบุคคลตามกฎหมา มีการดาเนินงานที่ แยกออกจากผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการโดยเฉพาะ สาหรับกิจการที่เป็นนิติบุคคลแบ่ง เป็น 4 ประเภท คือ 1.1 กิจการธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ ให้อานาจสาหรับจัดตั้ง รัฐวิสาหกิจนั้น ๆ โดยเฉพาะทุนสาหรับดาเนินกิจการเป็นของรัฐ เช่น การสื่อสาร แห่งประเทศไทย การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย การท่า อากาศยานแห่งประเทศไทย การท่าเรือแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • 3. 1.2 กิจการที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ซึ่งออกตามความใน พระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การรัฐบาล พ.ศ. 2496 กิจการเหล่านี้ใช้ทุนของรัฐ ทั้งสิ้น เช่น องค์การเภสัชกรรม องค์การสะพานปลา องค์การสวนสัตว์ องค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ ฯลฯ 1.3 กิจการธุรกิจประเภทธนาคาร รัฐบาลมีบทบาทในการดาเนินกิจการ ประเภทธนาคารซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.3.1 ธนาคารซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีพระราชบัญญัติเป็นเอกเทศมีทุน ดาเนินการทั้งสิ้นเป็นของรัฐ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อม ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้า และธนาคารอาคาร สงเคราะห์ เป็นต้น 1.3.2 ธนาคารที่รัฐถือหุ้นเกินกว่า 50 % แต่ไม่ถึง 100 % เช่น ธนาคารกรุงไทย จากัด 1.4 กิจการบริษัทจากัด รัฐบาลได้จัดตั้งบริษัทจากัดหรือถือหุ้นในบริษัท จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจหลายประเภทดังนี้ 1.4.1 บริษัทจากัดที่รัฐบาลลงทุนดาเนินกิจการ 100 % เช่น บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด บริษัท ไม้อัดไทย จากัด บริษัท เดินเรือทะเล ฯลฯ 1.4.2 บริษัทจากัดที่รฐถือหุ้นเกินร้อยละ 50 เช่น บริษัทขนส่ง จากัด ั บริษัทจังหวัดพาณิชย์ จากัด ฯลฯ 2. รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล กิจการบางอย่างของรัฐซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยใช้ทุน ดาเนินการทั้งสิ้นเป็นของรัฐ สังกัดหน่วยงานราชการที่เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น แต่ไม่มีฐานะเป็น นิติบุคคล เช่น โรงงานยาสูบและสานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สังกัดกระทรวงการคลัง เป็นต้น การดาเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายให้อานาจไว้ การ ดาเนินงานเหมือนกับการดาเนินองค์กรธุรกิจทั่ว ๆ ไป รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งจะมี
  • 5. ข้อดีของรัฐวิสาหกิจ 1. เป็นเครื่องมือและประโยชน์ในทางการเมือง เพราะกิจการ บางอย่างมี ผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ การไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ฯ ให้เอกชนดาเนินงาน อาจทาให้ขาดคุณภาพและผลิตใน ปริมาณที่ไม่มี ขอบเขตคุมไม่ได้ 2. ทาให้เศรษฐกิจของประเทศชาติ ดีขึ้น เพราะเป็นการหารายได้เข้ารัฐ สามารถ นาไปพัฒนาประเทศได้ 3. สามารถควบคุมระดับราคาสินค้าที่มความจาเป็นในการบริโภคได้ ี 4. สามารถป้องกันประเทศให้ปลอดภัยในทางยุทธศาสตร์ ไม่ขาดแคลนสิ่งที่ จาเป็นในยามเกิดสงคราม เช่น น้ามันเชื้อเพลิง อาหารสาเร็จรูป ข้อเสียของรัฐวิสาหกิจ 1. มีความล่าช้าในการดาเนินงาน เพราะถูกควบคุมด้วยระเบียบ ต่าง ๆ ต้องรอการ สั่งการจากผู้มีอานาจ 2. ขาดประสิทธิภาพในการผลิต เพราะผู้บริหารมาจากการ แต่งตั้งโดยไม่พิจารณา ความรู้ความสามารถ ขาดการวางแผนงานระยะยาว อีกทั้งต้นทุนการผลิตสูงกว่าเอกชน เพราะมีพนักงานจานวนมาก รายจ่ายในส่วนนีจึงสูงมาก ้