SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
1
บทที่ 1
บทนํา
อัคคีภัยนับเปนสาธารณภัยที่กอใหเกิดความเสียหายดานชีวิตและทรัพยสินอยางตอเนื่องในชวง
ทศวรรษที่ผานมา ดังเห็นไดจากขอมูลในตารางที่ 1.1 ซึ่งแสดงสถิติจํานวนครั้ง รวมทั้งความเสียหายดานชีวิตและ
ทรัพยสินตั้งแต พ.ศ. 2534–2554 ทั้งนี้ สถานการณดังกลาวชี้ใหเห็นความจําเปนอยางยิ่งในการออกแบบและการ
ตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยประยุกตหลักการวิศวกรรมความปลอดภัยดาน
อัคคีภัย (fire safety engineering) ในการประเมินภัยและความเสี่ยงจากการเกิดเพลิงไหม และการควบคุม
ผลกระทบของเพลิงไหมตอชีวิต ทรัพยสิน และสิ่งแวดลอม ตามระดับที่กําหนดโดยใชมาตรการที่เหมาะสม
มาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมสามารถจําแนกเปน 2 แนวทาง ไดแก การควบคุมเชิงรุก
(active control) และการควบคุมเชิงรับ (passive control) โดยที่การควบคุมเชิงรุกจําเปนตองอาศัยการกระทําของ
บุคคลหรือการทํางานของอุปกรณอัตโนมัติ เชน ระบบตรวจจับและแจงเหตุเพลิงไหมอัตโนมัติ ระบบหัวกระจาย
น้ําดับเพลิงอัตโนมัติ การปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิง ฯลฯ สวนการควบคุมเชิงรับอาศัยคุณลักษณะของวัสดุ
หรือชิ้นสวนโครงสรางในตัวอาคารในการควบคุมเพลิงไหม เชน การควบคุมสภาพลุกไหมได (flammability)
ของวัสดุในอาคารหรือวัสดุตกแตงผิว การกําหนดอัตราการทนไฟของชิ้นสวนโครงสรางเพื่อปองกันการลุกลาม
ของเพลิงไหมหรือการวิบัติของอาคาร เปนตน
การประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมอาจพิจารณาได 2 วิธี ไดแก วิธี
เชิงกําหนด (deterministic method) และวิธีความนาจะเปน (probabilistic method) โดยที่วิธีเชิงกําหนดพิจารณา
เปรียบเทียบระหวาง “เวลาการอพยพปลอดภัยใชได (available safe evacuation time: ASET)” กับ “เวลาการ
อพยพปลอดภัยที่ตองการ (required safe evacuation time: RSET)” ตามอัตราสวนปลอดภัย (safety factor) ที่
กําหนดดังแสดงในรูปที่ 1.1 ในขณะที่วิธีความนาจะเปนพิจารณาความเสี่ยงตอชีวิตที่คาดหมาย (expected risk-to-
life: ERL) จากจํานวนการตายที่คาดหมาย (expected number of deaths) ของกรณีเพลิงไหมแตละเหตุการณที่มี
ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้น (probability of occurrence) แตกตางกัน ทั้งนี้ การพิจารณากรณีเพลิงไหม
ที่เปนไปไดสามารถประยุกตใชแผนภาพตนไมเหตุการณ (event tree diagram) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 1.2
บทนํา
2
อยางไรก็ตาม เนื่องจากวิธีความนาจะเปนจําเปนตองอาศัยขอมูลเชิงสถิติประกอบการพิจารณา ดังนั้น วิศวกรสวน
ใหญจึงนิยมใชวิธีเชิงกําหนดในการออกแบบ
ตารางที่ 1.1 สถิติสถานการณอัคคีภัยของประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2534–2554
พ.ศ. จํานวนครั้ง ความเสียหายดานชีวิต ความเสียหายดานทรัพยสิน
เสียชีวิต (คน) บาดเจ็บ (คน) มูลคาความเสียหาย (บาท)
2534 3,062 78 168 2,127,628,714
2535 2,980 103 138 1,094,208,580
2536 2,833 270 833 1,751,333,447
2537 2,629 99 147 711,230,669
2538 2,929 79 153 3,038,947,698
2539 3,622 105 155 2,528,397,201
2540 3,314 217 261 2,340,959,730
2541 3,252 29 100 2,347,612,040
2542 1,597 27 0 544,513,352
2543 1,814 46 91 1,250,650,000
2544 1,498 15 148 1,529,280,439
2545 1,135 24 150 805,814,780
2546 2,267 56 167 565,540,698
2547 1,727 31 69 487,023,694
2548 1,559 48 68 931,915,005
2549 1,734 37 66 1,083,845,622
2550 1,901 45 156 875,791,793
2551 1,696 30 92 1,424,889,050
2552 1,527 83 312 817,334,839
2553 1,903 29 83 1,283,738,066
2554 1,524 42 149 2,776,511,424
ที่มา : ศูนยอํานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
(www.nirapai.com)
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย
3
รูปที่ 1.1 อัตราสวนปลอดภัยสําหรับวิธีเชิงกําหนด
รูปที่ 1.2 แผนภาพตนไมเหตุการณสําหรับการพิจารณากรณีเพลิงไหมที่เปนไปได
อัตราสวน
ปลอดภัย
เวลาเริ่มเกิดเพลิงไหม
(fireinitiation)
เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ
(RSET)
เวลาการอพยพปลอดภัยใชได
(ASET)
เวลา
เพลิงไหมที่มีแตควัน
(smouldering fire)
เพลิงไหมที่ไมเกิดจุดวาบเพลิง
(non-flashover fire)
เพลิงไหมที่เกิดจุดวาบเพลิง
(flashover fire)
ประเภทเพลิงไหม
การทํางานของ
ระบบดับเพลิง
ไมทํางาน
ทํางาน
บูรณภาพของ
ชิ้นสวนกั้นแบง
ไมสิ้นสุด
สิ้นสุด
เริ่มเกิดเพลิงไหม
ไมเกิดภาวะอยูไมได
(untenable condition)
เกิดภาวะอยูไมได
(พื้นที่ปดลอมตนเพลิง)
เกิดภาวะอยูไมได
(พื้นที่ปดลอมตนเพลิง
และพื้นที่ปดลอมถัดไป)
บทนํา
4
1.1 แนวคิดวิธีเชิงกําหนด
การพิจารณาเวลาการอพยพปลอดภัยใชได (ASET) สําหรับวิธีเชิงกําหนดขึ้นอยูกับพฤติกรรมเพลิงไหม
รวมทั้งมาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมสําหรับอาคารซึ่งประกอบดวยการควบคุมเชิงรุกและการ
ควบคุมเชิงรับ ในขณะที่การพิจารณาเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ (RSET) ขึ้นอยูกับคุณลักษณะเฉพาะของ
อาคารและผูใชอาคาร (ธัญวัฒน โพธิศิริ และคณะ 2550) โดยที่องคประกอบของเวลาดังกลาวแสดงดังรูปที่ 1.3
การวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัยดวยวิธีเชิงกําหนดจําเปนตองกําหนดวัตถุประสงคหรือระดับ
ของการจํากัดผลกระทบของเพลิงไหมอยางชัดเจน เชน การปองกันผูใชอาคารจากอันตรายตอชีวิตอาจตอง
พิจารณาปริมาณควันและระดับความรอนหรือกาซพิษเนื่องจากเพลิงไหมประกอบการประเมินเวลาการอพยพ
ปลอดภัยใชได หรือการปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิงอาจตองพิจารณาการปองกันการวิบัติของอาคาร
ประกอบดวย เปนตน รูปที่ 1.4 แสดงตัวอยางการวิเคราะหเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการของผูใชอาคารโดย
แบบจําลองคอมพิวเตอรซึ่งสามารถแสดงจุดติดขัด (bottleneck) ในระหวางการอพยพที่อาจสงผลตอความ
ปลอดภัยของผูใชอาคารไดสําหรับกรณีเพลิงไหมซานติกาผับใน พ.ศ. 2552 ที่มีผูเสียชีวิตถึง 66 คน (ลักษณนารา
คูหะวัฒนา และคณะ 2553)
รูปที่ 1.3 องคประกอบของเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ (RSET)
เริ่มเกิดเพลิงไหม
เวลาการอพยพปลอดภัย
ที่ตองการ (RSET)
สัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
เวลาการแจงเหตุ
(Cue Period)
เวลาการตอบสนอง
(Response Period)
รับรูสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
เริ่มตนการอพยพ
เวลาลาชา
(Delay Period)
เวลาการเคลื่อน
(Movement Period)
สิ้นสุดการอพยพ
= + + +
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย
5
รูปที่ 1.4 ตัวอยางการวิเคราะหเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการของผูใชอาคารซานติกาผับ
(ที่มา : ดัดแปลงจาก ลักษณนารา คูหะวัฒนา และคณะ 2553)
ทั้งนี้ การวิเคราะหประสิทธิผลของมาตรการควบคุมเพลิงไหมอาจจําแนกตามระบบสวนยอยสําหรับ
ความปลอดภัยดานอัคคีภัย (fire safety sub-system) 6 ระบบ (ABCB 2005) ซึ่งประกอบดวย การเริ่มเกิดและการ
ลุกลามเพลิงไหม และการควบคุม (fire initiation and development and control) การลุกลามและการแผกระจาย
ควัน และการควบคุม (smoke development and spread and control) การแผกระจายเพลิงไหมและผลกระทบ และ
จุดติดขัด
บทนํา
6
การควบคุม (fire spread and impact and control) การตรวจจับเพลิงไหม การเตือน และการดับเพลิง (fire
detection, warning and suppression) การอพยพผูใชอาคาร และการควบคุม (occupant evacuation and control)
และการปฏิบัติงานของหนวยดับเพลิง (fire services intervention) ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1.1 โดยที่การ
ออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยสามารถพิจารณาเปนสวนหนึ่งของระบบสวนยอยที่ 3
1.2 การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยเปนองคประกอบสําคัญของการควบคุมเพลิง
ไหมเชิงรับเพื่อปองกันการวิบัติของอาคารระหวางการอพยพ หรือการปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิง ซึ่ง
จําเปนตองพิจารณาออกแบบควบคูกับมาตรการควบคุมเชิงรุกในการประเมินเวลาการอพยพปลอดภัยใชได
(ASET)
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยตองอาศัยความรู ความเขาใจพฤติกรรมเพลิง
ไหม คุณสมบัติของวัสดุโครงสรางภายใตอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น วิธีการวิเคราะหโครงสรางในภาวะเพลิงไหม และ
แนวทางการประเมินความตานทานเพลิงไหม (fire resistance) ของโครงสราง ดังแสดงรายละเอียดในบทถัดไป
ทั้งนี้ เนื้อหาในหนังสือเลมนี้พิจารณาเฉพาะการออกแบบโครงสรางเหล็ก และโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
เทานั้น เนื่องจากเปนโครงสรางหลักประเภทที่นิยมใชสําหรับอาคารสวนใหญในประเทศไทย
การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย
7
ตารางที่ 1.1 ระบบสวนยอยสําหรับการวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัย
ลําดับที่ ระบบสวนยอย ขอมูล ผลลัพธ
1 การเริ่มเกิดและ
การลุกลามเพลิงไหม
และการควบคุม
สภาพลุกไหมไดของวัสดุ
ปริมาณเชื้อเพลิง
ลักษณะของอาคาร
การทํางานของอุปกรณระบาย
อากาศ
การทํางานของระบบดับเพลิง
การปฏิบัติงานของหนวยดับเพลิง
อัตราการปลดปลอยความรอน
(heat release rate)
อุณหภูมิเพลิงไหม
เวลากอนจุดวาบเพลิง (flashover)
เวลากอนเพลิงมอด (decay)
ปริมาณควันจากเพลิงไหม
(smoke yield)
2 การลุกลามและ
การแผกระจายควัน
และการควบคุม
ลักษณะของอาคาร
โพรไฟลอัตราการปลดปลอย
ความรอน
ปริมาณควันจากเพลิงไหม
เวลาการตรวจจับควัน
การพิจารณาผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม
ระดับความสูงของชั้นควัน
อุณหภูมิควัน
ความหนาแนนของควัน
ปริมาณกาซพิษ
เวลาการอพยพปลอดภัยใชได
3 การแผกระจาย
เพลิงไหมและ
ผลกระทบ และการ
ควบคุม
โพรไฟลอัตราการปลดปลอย
ความรอน
เวลากอนจุดวาบเพลิง
อุณหภูมิควัน
ลักษณะของอาคาร
ผลกระทบของลม
เวลาการแผกระจายเพลิงไหมสู
พื้นที่ปดลอม (enclosure) ถัดไป
เวลาสิ้นสุดบูรณภาพ (integrity)
ของชิ้นสวนกั้นแบง
เวลาสิ้นสุดเสถียรภาพ (stability)
ของชิ้นสวนกั้นแบง
เวลากอนการวิบัติของชิ้นสวน
โครงสราง
เวลาการอพยพปลอดภัยใชได
4 การตรวจจับ
เพลิงไหม การเตือน
และการดับเพลิง
ลักษณะของระบบตรวจจับ
เพลิงไหมและระบบการเตือน
ลักษณะของระบบดับเพลิง
พฤติกรรมเพลิงไหมและควัน
เวลาการตรวจจับควัน
เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม
(ผูใชอาคาร/หนวยดับเพลิง)
เวลาเริ่มทํางานของระบบ
ดับเพลิง
เวลาที่ใชดับเพลิง
บทนํา
8
ตารางที่ 1.1 (ตอ) ระบบสวนยอยสําหรับการวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัย
ลําดับที่ ระบบสวนยอย ขอมูล ผลลัพธ
5 การอพยพผูใชอาคาร
และการควบคุม
ลักษณะของอาคาร
แผนการอพยพ
ลักษณะของผูใชอาคาร
เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม
เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม
เวลาการตอบสนอง
เวลาลาชา
เวลาการเคลื่อน
เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ
6 การปฏิบัติงานของ
หนวยดับเพลิง
ลักษณะของอาคาร
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ
หนวยดับเพลิง
เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม
เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ
อัตราการปลดปลอยความรอน
ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน
ของหนวยดับเพลิง
เวลารับทราบการแจงเหตุ
เพลิงไหม
เวลาการสงหนวยดับเพลิงออก
ปฏิบัติงาน (dispatch time)
เวลาที่มาถึง (arrival time)
เวลาจัดเตรียม
เวลาตรวจคนและชวยเหลือ
(search and rescue)
เวลาเริ่มดับเพลิง
โพรไฟลอัตราการปลดปลอย
ความรอนที่เปลี่ยนแปลง
เวลาที่ใชควบคุมเพลิงไหม
เวลาที่ใชดับเพลิง
ที่มา : ดัดแปลงจาก ABCB (2005)

Más contenido relacionado

Destacado

96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile
96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile
96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías MobileGeneXus
 
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...StorePrime.com
 
2011年9月度社内デバイスモデリング教育
2011年9月度社内デバイスモデリング教育2011年9月度社内デバイスモデリング教育
2011年9月度社内デバイスモデリング教育Tsuyoshi Horigome
 
Rueda de Prensa: Julio César Dávila
Rueda de Prensa: Julio César DávilaRueda de Prensa: Julio César Dávila
Rueda de Prensa: Julio César DávilaAdrián de la Garza
 
圖書館簡介9912
圖書館簡介9912圖書館簡介9912
圖書館簡介9912hllclsh
 
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授文化大學
 
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522旭壯 羅
 
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授文化大學
 
高雄縣彌陀國中-991208
高雄縣彌陀國中-991208高雄縣彌陀國中-991208
高雄縣彌陀國中-991208文化大學
 
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授文化大學
 
9-7 ChooseFuncModel.pdf
9-7 ChooseFuncModel.pdf9-7 ChooseFuncModel.pdf
9-7 ChooseFuncModel.pdfLomasAlg1
 
9. 花情墨香
9. 花情墨香9. 花情墨香
9. 花情墨香akao123
 
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارس
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارسالمذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارس
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارسJeunes Marocains
 
программа гонок 9 августа
программа гонок 9 августапрограмма гонок 9 августа
программа гонок 9 августаNazarovo_administration
 

Destacado (16)

96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile
96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile
96 . Mejora en los procesos de negocio aplicando tecnologías Mobile
 
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...
How to Create an Adaptive, High-Performance and Engaged Organization availabl...
 
2011年9月度社内デバイスモデリング教育
2011年9月度社内デバイスモデリング教育2011年9月度社内デバイスモデリング教育
2011年9月度社内デバイスモデリング教育
 
Rueda de Prensa: Julio César Dávila
Rueda de Prensa: Julio César DávilaRueda de Prensa: Julio César Dávila
Rueda de Prensa: Julio César Dávila
 
圖書館簡介9912
圖書館簡介9912圖書館簡介9912
圖書館簡介9912
 
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授
創業流程介紹-980711 創業入門班-詹翔霖教授
 
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522
大學校院推動學生品德教育 菸害防制960522
 
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授
小時了了、大未必佳--資優兒童正確教導之道990915 橋國國中-詹翔霖教授
 
高雄縣彌陀國中-991208
高雄縣彌陀國中-991208高雄縣彌陀國中-991208
高雄縣彌陀國中-991208
 
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授
心理學-知覺與歸因-991007- 高師大-詹翔霖教授
 
9-7 ChooseFuncModel.pdf
9-7 ChooseFuncModel.pdf9-7 ChooseFuncModel.pdf
9-7 ChooseFuncModel.pdf
 
9. 花情墨香
9. 花情墨香9. 花情墨香
9. 花情墨香
 
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارس
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارسالمذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارس
المذكرة الأولية لحركة شباب 9 مارس
 
программа гонок 9 августа
программа гонок 9 августапрограмма гонок 9 августа
программа гонок 9 августа
 
95 25
95 2595 25
95 25
 
українська література 9 кл
українська література 9 клукраїнська література 9 кл
українська література 9 кл
 

Más de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Más de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9749740330943

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนํา อัคคีภัยนับเปนสาธารณภัยที่กอใหเกิดความเสียหายดานชีวิตและทรัพยสินอยางตอเนื่องในชวง ทศวรรษที่ผานมา ดังเห็นไดจากขอมูลในตารางที่ 1.1 ซึ่งแสดงสถิติจํานวนครั้ง รวมทั้งความเสียหายดานชีวิตและ ทรัพยสินตั้งแต พ.ศ. 2534–2554 ทั้งนี้ สถานการณดังกลาวชี้ใหเห็นความจําเปนอยางยิ่งในการออกแบบและการ ตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยประยุกตหลักการวิศวกรรมความปลอดภัยดาน อัคคีภัย (fire safety engineering) ในการประเมินภัยและความเสี่ยงจากการเกิดเพลิงไหม และการควบคุม ผลกระทบของเพลิงไหมตอชีวิต ทรัพยสิน และสิ่งแวดลอม ตามระดับที่กําหนดโดยใชมาตรการที่เหมาะสม มาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมสามารถจําแนกเปน 2 แนวทาง ไดแก การควบคุมเชิงรุก (active control) และการควบคุมเชิงรับ (passive control) โดยที่การควบคุมเชิงรุกจําเปนตองอาศัยการกระทําของ บุคคลหรือการทํางานของอุปกรณอัตโนมัติ เชน ระบบตรวจจับและแจงเหตุเพลิงไหมอัตโนมัติ ระบบหัวกระจาย น้ําดับเพลิงอัตโนมัติ การปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิง ฯลฯ สวนการควบคุมเชิงรับอาศัยคุณลักษณะของวัสดุ หรือชิ้นสวนโครงสรางในตัวอาคารในการควบคุมเพลิงไหม เชน การควบคุมสภาพลุกไหมได (flammability) ของวัสดุในอาคารหรือวัสดุตกแตงผิว การกําหนดอัตราการทนไฟของชิ้นสวนโครงสรางเพื่อปองกันการลุกลาม ของเพลิงไหมหรือการวิบัติของอาคาร เปนตน การประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมอาจพิจารณาได 2 วิธี ไดแก วิธี เชิงกําหนด (deterministic method) และวิธีความนาจะเปน (probabilistic method) โดยที่วิธีเชิงกําหนดพิจารณา เปรียบเทียบระหวาง “เวลาการอพยพปลอดภัยใชได (available safe evacuation time: ASET)” กับ “เวลาการ อพยพปลอดภัยที่ตองการ (required safe evacuation time: RSET)” ตามอัตราสวนปลอดภัย (safety factor) ที่ กําหนดดังแสดงในรูปที่ 1.1 ในขณะที่วิธีความนาจะเปนพิจารณาความเสี่ยงตอชีวิตที่คาดหมาย (expected risk-to- life: ERL) จากจํานวนการตายที่คาดหมาย (expected number of deaths) ของกรณีเพลิงไหมแตละเหตุการณที่มี ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้น (probability of occurrence) แตกตางกัน ทั้งนี้ การพิจารณากรณีเพลิงไหม ที่เปนไปไดสามารถประยุกตใชแผนภาพตนไมเหตุการณ (event tree diagram) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 1.2
  • 2. บทนํา 2 อยางไรก็ตาม เนื่องจากวิธีความนาจะเปนจําเปนตองอาศัยขอมูลเชิงสถิติประกอบการพิจารณา ดังนั้น วิศวกรสวน ใหญจึงนิยมใชวิธีเชิงกําหนดในการออกแบบ ตารางที่ 1.1 สถิติสถานการณอัคคีภัยของประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2534–2554 พ.ศ. จํานวนครั้ง ความเสียหายดานชีวิต ความเสียหายดานทรัพยสิน เสียชีวิต (คน) บาดเจ็บ (คน) มูลคาความเสียหาย (บาท) 2534 3,062 78 168 2,127,628,714 2535 2,980 103 138 1,094,208,580 2536 2,833 270 833 1,751,333,447 2537 2,629 99 147 711,230,669 2538 2,929 79 153 3,038,947,698 2539 3,622 105 155 2,528,397,201 2540 3,314 217 261 2,340,959,730 2541 3,252 29 100 2,347,612,040 2542 1,597 27 0 544,513,352 2543 1,814 46 91 1,250,650,000 2544 1,498 15 148 1,529,280,439 2545 1,135 24 150 805,814,780 2546 2,267 56 167 565,540,698 2547 1,727 31 69 487,023,694 2548 1,559 48 68 931,915,005 2549 1,734 37 66 1,083,845,622 2550 1,901 45 156 875,791,793 2551 1,696 30 92 1,424,889,050 2552 1,527 83 312 817,334,839 2553 1,903 29 83 1,283,738,066 2554 1,524 42 149 2,776,511,424 ที่มา : ศูนยอํานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (www.nirapai.com)
  • 3. การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย 3 รูปที่ 1.1 อัตราสวนปลอดภัยสําหรับวิธีเชิงกําหนด รูปที่ 1.2 แผนภาพตนไมเหตุการณสําหรับการพิจารณากรณีเพลิงไหมที่เปนไปได อัตราสวน ปลอดภัย เวลาเริ่มเกิดเพลิงไหม (fireinitiation) เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ (RSET) เวลาการอพยพปลอดภัยใชได (ASET) เวลา เพลิงไหมที่มีแตควัน (smouldering fire) เพลิงไหมที่ไมเกิดจุดวาบเพลิง (non-flashover fire) เพลิงไหมที่เกิดจุดวาบเพลิง (flashover fire) ประเภทเพลิงไหม การทํางานของ ระบบดับเพลิง ไมทํางาน ทํางาน บูรณภาพของ ชิ้นสวนกั้นแบง ไมสิ้นสุด สิ้นสุด เริ่มเกิดเพลิงไหม ไมเกิดภาวะอยูไมได (untenable condition) เกิดภาวะอยูไมได (พื้นที่ปดลอมตนเพลิง) เกิดภาวะอยูไมได (พื้นที่ปดลอมตนเพลิง และพื้นที่ปดลอมถัดไป)
  • 4. บทนํา 4 1.1 แนวคิดวิธีเชิงกําหนด การพิจารณาเวลาการอพยพปลอดภัยใชได (ASET) สําหรับวิธีเชิงกําหนดขึ้นอยูกับพฤติกรรมเพลิงไหม รวมทั้งมาตรการควบคุมผลกระทบของเพลิงไหมสําหรับอาคารซึ่งประกอบดวยการควบคุมเชิงรุกและการ ควบคุมเชิงรับ ในขณะที่การพิจารณาเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ (RSET) ขึ้นอยูกับคุณลักษณะเฉพาะของ อาคารและผูใชอาคาร (ธัญวัฒน โพธิศิริ และคณะ 2550) โดยที่องคประกอบของเวลาดังกลาวแสดงดังรูปที่ 1.3 การวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัยดวยวิธีเชิงกําหนดจําเปนตองกําหนดวัตถุประสงคหรือระดับ ของการจํากัดผลกระทบของเพลิงไหมอยางชัดเจน เชน การปองกันผูใชอาคารจากอันตรายตอชีวิตอาจตอง พิจารณาปริมาณควันและระดับความรอนหรือกาซพิษเนื่องจากเพลิงไหมประกอบการประเมินเวลาการอพยพ ปลอดภัยใชได หรือการปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิงอาจตองพิจารณาการปองกันการวิบัติของอาคาร ประกอบดวย เปนตน รูปที่ 1.4 แสดงตัวอยางการวิเคราะหเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการของผูใชอาคารโดย แบบจําลองคอมพิวเตอรซึ่งสามารถแสดงจุดติดขัด (bottleneck) ในระหวางการอพยพที่อาจสงผลตอความ ปลอดภัยของผูใชอาคารไดสําหรับกรณีเพลิงไหมซานติกาผับใน พ.ศ. 2552 ที่มีผูเสียชีวิตถึง 66 คน (ลักษณนารา คูหะวัฒนา และคณะ 2553) รูปที่ 1.3 องคประกอบของเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ (RSET) เริ่มเกิดเพลิงไหม เวลาการอพยพปลอดภัย ที่ตองการ (RSET) สัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม เวลาการแจงเหตุ (Cue Period) เวลาการตอบสนอง (Response Period) รับรูสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม เริ่มตนการอพยพ เวลาลาชา (Delay Period) เวลาการเคลื่อน (Movement Period) สิ้นสุดการอพยพ = + + +
  • 5. การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย 5 รูปที่ 1.4 ตัวอยางการวิเคราะหเวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการของผูใชอาคารซานติกาผับ (ที่มา : ดัดแปลงจาก ลักษณนารา คูหะวัฒนา และคณะ 2553) ทั้งนี้ การวิเคราะหประสิทธิผลของมาตรการควบคุมเพลิงไหมอาจจําแนกตามระบบสวนยอยสําหรับ ความปลอดภัยดานอัคคีภัย (fire safety sub-system) 6 ระบบ (ABCB 2005) ซึ่งประกอบดวย การเริ่มเกิดและการ ลุกลามเพลิงไหม และการควบคุม (fire initiation and development and control) การลุกลามและการแผกระจาย ควัน และการควบคุม (smoke development and spread and control) การแผกระจายเพลิงไหมและผลกระทบ และ จุดติดขัด
  • 6. บทนํา 6 การควบคุม (fire spread and impact and control) การตรวจจับเพลิงไหม การเตือน และการดับเพลิง (fire detection, warning and suppression) การอพยพผูใชอาคาร และการควบคุม (occupant evacuation and control) และการปฏิบัติงานของหนวยดับเพลิง (fire services intervention) ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1.1 โดยที่การ ออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยสามารถพิจารณาเปนสวนหนึ่งของระบบสวนยอยที่ 3 1.2 การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยเปนองคประกอบสําคัญของการควบคุมเพลิง ไหมเชิงรับเพื่อปองกันการวิบัติของอาคารระหวางการอพยพ หรือการปฏิบัติงานของพนักงานดับเพลิง ซึ่ง จําเปนตองพิจารณาออกแบบควบคูกับมาตรการควบคุมเชิงรุกในการประเมินเวลาการอพยพปลอดภัยใชได (ASET) การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัยตองอาศัยความรู ความเขาใจพฤติกรรมเพลิง ไหม คุณสมบัติของวัสดุโครงสรางภายใตอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น วิธีการวิเคราะหโครงสรางในภาวะเพลิงไหม และ แนวทางการประเมินความตานทานเพลิงไหม (fire resistance) ของโครงสราง ดังแสดงรายละเอียดในบทถัดไป ทั้งนี้ เนื้อหาในหนังสือเลมนี้พิจารณาเฉพาะการออกแบบโครงสรางเหล็ก และโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก เทานั้น เนื่องจากเปนโครงสรางหลักประเภทที่นิยมใชสําหรับอาคารสวนใหญในประเทศไทย
  • 7. การออกแบบโครงสรางเพื่อความปลอดภัยดานอัคคีภัย 7 ตารางที่ 1.1 ระบบสวนยอยสําหรับการวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัย ลําดับที่ ระบบสวนยอย ขอมูล ผลลัพธ 1 การเริ่มเกิดและ การลุกลามเพลิงไหม และการควบคุม สภาพลุกไหมไดของวัสดุ ปริมาณเชื้อเพลิง ลักษณะของอาคาร การทํางานของอุปกรณระบาย อากาศ การทํางานของระบบดับเพลิง การปฏิบัติงานของหนวยดับเพลิง อัตราการปลดปลอยความรอน (heat release rate) อุณหภูมิเพลิงไหม เวลากอนจุดวาบเพลิง (flashover) เวลากอนเพลิงมอด (decay) ปริมาณควันจากเพลิงไหม (smoke yield) 2 การลุกลามและ การแผกระจายควัน และการควบคุม ลักษณะของอาคาร โพรไฟลอัตราการปลดปลอย ความรอน ปริมาณควันจากเพลิงไหม เวลาการตรวจจับควัน การพิจารณาผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ระดับความสูงของชั้นควัน อุณหภูมิควัน ความหนาแนนของควัน ปริมาณกาซพิษ เวลาการอพยพปลอดภัยใชได 3 การแผกระจาย เพลิงไหมและ ผลกระทบ และการ ควบคุม โพรไฟลอัตราการปลดปลอย ความรอน เวลากอนจุดวาบเพลิง อุณหภูมิควัน ลักษณะของอาคาร ผลกระทบของลม เวลาการแผกระจายเพลิงไหมสู พื้นที่ปดลอม (enclosure) ถัดไป เวลาสิ้นสุดบูรณภาพ (integrity) ของชิ้นสวนกั้นแบง เวลาสิ้นสุดเสถียรภาพ (stability) ของชิ้นสวนกั้นแบง เวลากอนการวิบัติของชิ้นสวน โครงสราง เวลาการอพยพปลอดภัยใชได 4 การตรวจจับ เพลิงไหม การเตือน และการดับเพลิง ลักษณะของระบบตรวจจับ เพลิงไหมและระบบการเตือน ลักษณะของระบบดับเพลิง พฤติกรรมเพลิงไหมและควัน เวลาการตรวจจับควัน เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม (ผูใชอาคาร/หนวยดับเพลิง) เวลาเริ่มทํางานของระบบ ดับเพลิง เวลาที่ใชดับเพลิง
  • 8. บทนํา 8 ตารางที่ 1.1 (ตอ) ระบบสวนยอยสําหรับการวิเคราะหความปลอดภัยดานอัคคีภัย ลําดับที่ ระบบสวนยอย ขอมูล ผลลัพธ 5 การอพยพผูใชอาคาร และการควบคุม ลักษณะของอาคาร แผนการอพยพ ลักษณะของผูใชอาคาร เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม เวลาการตอบสนอง เวลาลาชา เวลาการเคลื่อน เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ 6 การปฏิบัติงานของ หนวยดับเพลิง ลักษณะของอาคาร ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ หนวยดับเพลิง เวลาการแจงเหตุเพลิงไหม เวลาการอพยพปลอดภัยที่ตองการ อัตราการปลดปลอยความรอน ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ของหนวยดับเพลิง เวลารับทราบการแจงเหตุ เพลิงไหม เวลาการสงหนวยดับเพลิงออก ปฏิบัติงาน (dispatch time) เวลาที่มาถึง (arrival time) เวลาจัดเตรียม เวลาตรวจคนและชวยเหลือ (search and rescue) เวลาเริ่มดับเพลิง โพรไฟลอัตราการปลดปลอย ความรอนที่เปลี่ยนแปลง เวลาที่ใชควบคุมเพลิงไหม เวลาที่ใชดับเพลิง ที่มา : ดัดแปลงจาก ABCB (2005)