SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 88
บทที่ 6 การกำาหนด
รายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพ
5.1 รายได้ประชาชาติ
5.2 การใช้จ่ายมวลรวม
5.3 การวิเคราะห์หาระดับรายได้หรือ
ผลผลิตดุลยภาพ
5.4 ภาวะเงินเฟ้อและภาวะเงินฝืด
5.1 รายได้
ประชาชาติ5.1.1 ความหมายของรายได้
ประชาชาติ
5.1.2 รายได้ประชาชาติที่แท้
จริงและ อัตราการเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจ
5.1.3 การคำานวณรายได้
5.1.1 ความหมายของรายได้
ประชาชาติ
1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic
Product: GDP)
 มูลค่ารวมสินค้าขั้นสุดท้าย (Final Goods : FG) ที่ผลิตขึ้นใน
ประเทศ
 คิดราคาตลาด ในการผลิต 1 ปี
 เป็นราคาก่อนหักค่าเสื่อมราคา
 ไม่คำานึงสัญชาติของผู้ผลิต ไม่คำานึงว่าเป็นทรัพยากรในหรือ
นอกประเทศ
 ต้องผลิตในประเทศเท่านั้น ***
 วัดความสำาคัญของอุตสาหกรรมในแต่ละสาขา
2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product :
GNP)
 มูลค่ารวมของ Final Goods ทั้งหมด
 คิดราคาตลาดในการผลิต 1 ปี
 ต้องผลิตโดยคนและใช้ทรัพยากรในประเทศเท่านั้น***
 ไม่คำานึงว่าจะผลิตในหรือนอกประเทศก็ตาม
 วัดภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
 GNP = GDP +F
 ซึ่ง F = รายได้สุทธิจากต่างประเทศ
 ส่วน GDP = GNP – F
 ตัวอย่าง
1. ภพเป็นคนไทย ทำางานซาอุฯ ดังนั้นรายได้ของภพเป็น
GDP ของไทย หรือ GNP ของไทย
2. กำาไร Big C สาขาไทย ดังนั้นกำาไรของ Big C เป็น
GDP ของไทย หรือ GNP ของไทย
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product :
NNP)
 คือ NNP ณ ราคาตลาด
 มูลค่ารวมของ Final Goods
 คิดราคาตลาด ในการผลิต 1 ปี
 คำานึงผลิตโดยคนในประเทศเท่านั้น***
 เป็นราคาหักค่าเสื่อมราคาแล้ว
 วัดความสามารถในการผลิตที่เพิ่มขึ้นสุทธิของประเทศ
 NNP ณ ราคาตลาด = GNP – ค่าเสื่อมราคา
4. รายได้ประชาชาติ (National Income: NI)
 คือ NNP ณ ราคาทุน
 มูลค่ารวมของ Final Goods ในการผลิต 1 ปี
 หลังหักค่าเสื่อมราคา และภาษีทางอ้อมแล้ว***
 วัดความมั่งคั่ง/ ยากจนของคนในประเทศนั้น
 NI = NNP ณ ราคาตลาด – Tax ทางอ้อม
 ซึ่งTaxทางอ้อม เช่น ภาษีการค้า ภาษีศุลกากร ภาษี
สรรพสามิต เป็นต้น
5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI)
 รายได้ส่วนบุคคลทั้งหมด = รายได้จากปัจจัยการ
ผลิต + รายได้ไม่ได้มาจากปัจจัยการผลิต
 คือรายได้ที่ตกถึงมือบุคคลจริงๆ
 วัดการใช้จ่ายของประชาชน
 PI = NI – กำาไรกันไว้ขยายกิจการ – Taxนิติบุคคล
+ เงินโอน
 ซึ่งเงินโอน แบ่งเป็น 1. เงินโอนรัฐบาล
2. เงินโอนส่วนบุคคล
6. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (Disposable Personal
Income: DI)
 รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง
 วัดอำานาจซื้อ
 หากวัดฐานะเศรษฐกิจกับประเทศอื่นให้ดูที่ “รายได้เฉลี่ยต่อ
หัว”
 DPI = PI – Tax บุคคลธรรมดา
7. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income)
 ใช้เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ
 ......
5.1.2 รายได้ประชาชาติที่แท้
จริงและอัตราการเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจ
1. รายได้ประชาชาติที่แท้จริง (Real National
Income)
2. การหาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
(Growth rate)
 อธิบายตัวเลขจากการคำานวณ ค่า 6.36% บอกให้ทราบ
ว่า ในปี 2541 อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
กว่าปี 2540 ประมาณ 6.36%
5.1.3 การคำานวณรายได้
ประชาชาติ
คำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้นได้ 3 วิธี (ซึ่งได้
ค่าตรงกันเสมอ) คือ
 คำานวณจากมูลค่าผลิตผลรวม (Gross Production
Approach: GNP)
 คำานวณจากรายจ่ายรวม (Gross Expenditure Approach:
GNE)
 คำานวณจากรายได้รวม (Gross Income Approach: GNI)
 โดยทั่วไปโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจประกอบด้วย ภาค
เศรษฐกิจต่าง ๆ ดังนี้
 ภาคครัวเรือน (Household Sector) ประกอบด้วยเจ้าของปัจจัยการ
ผลิตและผู้บริโภค
 ภาคธุรกิจ (Business Sector) ประกอบด้วยผู้ซื้อปัจจัยการผลิต
และขายสินค้า
 ภาครัฐบาล (Public Sector) ประกอบด้วยหน่วยงานต่าง ๆ ของ
รัฐบาล
 ภาคการค้าระหว่างประเทศ (Foreign Sector)
 แสดงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ
ในรูปของกระแสการไหลเวียนของการใช้จ่ายรายได้และ
 การคำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้น มี 3 วิธี ดังนี้
1. การคำานวณด้านผลผลิต (Gross Product Approach หรือ GNP)
การคำานวณวิธีนี้ สามารถคำานวณหามูลค่าของผลผลิตประชาชาติได้
2 วิธีย่อย คือ
1.1 คำานวณหาค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (Final Product)
วิธีนี้อาจเกิดปัญหาการนับซำ้าซ้อน
1.2 คำานวณหาค่ามูลค่าเพิ่ม (Value added method)
2. การคำานวณทางด้านรายได้ (Gross Income Approach or
GNI)
 เป็นรายได้ทั้งเอกชนและรัฐบาลรวมกัน จากการผลิตใน
ประเทศ 1 ปี
 ไม่รวมเงินโอน มูลค่าเพิ่มทรัพย์สิน รายได้ผิดกฎหมาย
 Yเอกชน = ค่าเช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบี้ย + กำาไร
 Yรัฐบาล = Taxทุกชนิด + Taxทรัพย์สิน + Taxรัฐวิสาหกิจ
 ดังนั้น NI = Yเอกชน + Yรัฐบาล หรือ = GNI – ค่าเสื่อมราคา –
Taxทางอ้อม
3. การคำานวณทางด้านรายจ่าย (Gross Expenditure
Approach: GNE)
 หามูลค่า Final Goods ที่เอกชนและรัฐใช้บริโภคและออม
5.2 การใช้จ่ายมวล
รวม
 การใช้จ่าย 4 ประเภทของระบบเศรษฐกิจ มีดังนี้
1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือน
(Consumption Expenditure: C)
2. การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (investment : I)
3. การใช้จ่ายของรัฐบาล (government
Expenditure :G)
4. การส่งออกสุทธิ (net export : X-M)
 ซึ่ง รายได้ประชาชาติที่คำานวณทางด้านรายจ่าย
โดยทั่วไปมักจะเรียกว่า การใช้จ่ายมวลรวม (TAE)
หรือ อุปสงค์มวลรวมของประเทศ (Aggregate
Demand: AD) โดยเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการ
1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของ
ครัวเรือน
1) ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการบริโภค
และการออม
2) ฟังก์ชันและสมการบริโภคและการ
ออม
3) ความโน้มเอียงเฉลี่ยและความโน้ม
เอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภคและ
การออม
4) ตารางและเส้นการบริโภคและการ
1) ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการ
บริโภค และการออม
(1) รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงของบุคคล (Dispossible or Yd
)
(2) สินทรัพย์หรือสินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่
(3) การคาดการณ์ของผู้บริโภค
(4) สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย
(5) อื่น ๆ เช่น ค่านิยมทางสังคม อัตราการเพิ่มของ
ประชากร เป็นต้น
การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค พิจารณาได้จาก
ฟังก์ชันการบริโภคและการออม ดังนี้
2) ฟังก์ชันและสมการบริโภค
และการออม
 เคนส์ ได้กล่าวว่า รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงหรือรายได้สุทธิ
ส่วนบุคคล (DI) เป็นปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดโดยตรงและ
สำาคัญที่สุดของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
ของประชาชน ส่วนปัจจัยอื่นหรือตัวแปรอื่นๆ ถือเป็นตัว
กำาหนดโดยอ้อม ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันและ
สมการ ได้ดังนี้
C = f (Yd
)
โดยที่ C คือ การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค
Yd
คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income: DI)
 สมการบริโภค C = Ca + bYd
โดยที่ Ca คือ การบริโภคเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์
b คือ ค่าคงที่ ที่แสดงถึงการบริโภคที่ขึ้นกับรายได้
หรือเรียกว่า ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค
(Marginal Propensity to Consume: MPC) ซึ่งก็คือ ค่าความชันของ
 ถ้าหากระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีรัฐบาล รายได้ที่ใช้จ่าย
ได้ (Yd
) จะเท่ากับรายได้ประชาชาติ (National Income หรือ Y)
หรือ Y = Yd
ที่บุคคลนำาไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภค และการ
ออม ดังนั้น สมการของครัวเรือน เป็นดังนี้
Yd
= C + S
 ดังนั้น การออม คือ S = Yd
– (Ca + b Yd
)
S = Yd
– Ca – bYd
สรุป สมการการออม คือ S = – Ca + (1 – b)Yd
โดยที่ (1-b) คือ ค่าความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มใน
การออม (Marginal Propensity to Save: MPS) ซึ่งคือ ค่าความชัน
ของเส้นการออม หรือ Slope of S = ∆S/ ∆Yd
 จากสมการ อาจกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการออม
และรายได้เหมือนกับการบริโภค กล่าวคือ ระดับการออม
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับรายได้ที่ใช้จ่ายได้
ตัวอย่าง
จากสมการการบริโภค C = 100 + 0.75 Yd
ในกรณีที่ผู้
บริโภคไม่มีรายได้ จะมีค่าใช้จ่ายในการบริโภคเท่าไร
และถ้ามีรายได้เท่ากับ 10,000 บาท การบริโภคเป็น
เท่าไร
วิธีคำานวณ : ฟังก์ชันในการบริโภค คือ C =
Ca + bYd
สมการจากโจทย์ คือ C = 100 + 0.75Yd
แทนค่า Yd
= 0 , จะได้ C = 100 บาท
แทนค่า Yd
= 10,000 บาท, C = 7,600 บาท
ดังนั้น การบริโภคเมื่อไม่มีรายได้จะเท่ากับ 100 บาท และ
3) ความโน้มเอียงเฉลี่ยและ
ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มใน
การบริโภคและการออมความโน้มเอียงเฉลี่ย (average propensity)
 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (average propensity to consume:
APC) คือ อัตราส่วนระหว่างการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค และราย
ได้ที่ใช้จ่ายได้จริง หาได้ดังนี้
APC = C / Yd
 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (average propensity to save: APS) คือ
อัตราส่วนระหว่างการออมและรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง หาได้ดังนี้
APS = S / Yd
ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS
APC + APS = 1
นั่นคือ 0 < APC < 1 ; 0 < APS < 1
ถ้า APC = 0.75 แล้ว APS = 0.25
ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่ม (Marginal propensity)
 ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค (marginal propensity to
consume: MPC) คือ การวัดค่าของการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของรายได้หาได้ดังนี้ MPC
= ∆C / ∆Yd
 ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม ( Marginal Propensity to Save:
MPS) คือ การวัดค่าของการออมที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของรายได้ หาได้ดังนี้ ; MPS =
∆S / ∆Yd
ความสมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS
MPC + MPS = 1
0 < MPC < 1; 0 < MPS < 1
ถ้า MPC = 0.75 ; MPS = 0.25 หมายความว่า ทุก ๆ 1
บาท ของรายได้ที่สามารถใช้จ่ายได้ที่เพิ่มขึ้น จะนำาไปสู่การเพิ่ม
ขึ้นของการออม 0.25 บาท
4) ตารางและเส้นการบริโภค
และการออมจากสมการการบริโภคและสมการการออมที่กำาหนดให้สามารถนำา
มาสร้างเป็นตารางและเส้นกราฟการบริโภคและการออมได้ดังนี้
กำาหนดให้ : สมการการบริโภค คือ C = 100 + 0.75Yd
วิธีการสร้างตารางจากสมการแทนค่า Yd
ลงในสมการหาค่า C
จากรูปกราฟ เส้น 45° คือ Y = C หมายความว่า ทุก ๆ จุดบนเส้น
45° รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเท่ากับการบริโภค
 การวิเคราะห์หาระดับรายได้และการบริโภคที่สุด Break – even
point
กำาหนดให้สมการบริโภค C = 100 + 0.75 Yd
วิธีการวิเคราะห์ หา ณ ระดับ Break – even point : Yd
= C , S =
0
Yd
= C
ดังนั้น C = Ca + bYd
( 1 )
แทนค่า C ใน  Yd
= 100 + 0.75 Yd
( 2 )
Yd
- 0.75 Yd
= 100
Yd
= 100 / 0.25 = 400 ล้านบาท
ณ จุด Break – even point รายได้จะเท่ากับ 400 ล้านบาท และ
ถ้าระดับรายได้ 400 ล้านบาท การบริโภคจะเป็นเท่าไร
แทนค่าในสมการ (2) ; C = 100 + 0.75 Yd
= 100 + 0.75 (400)
= 400 ล้านบาท
ณ ระดับรายได้ Break – even การบริโภคจะเท่ากับ 400 ล้าน
บาท
5) การเปลี่ยนแปลงการ
บริโภค
จากรูป 5-5
5.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภค (Change
in the amount consumed) เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงของรายได้ ซึ่งเป็นตัวกำาหนด
โดยตรงของการบริโภค โดยที่ตัวกำาหนดอื่น ๆ
อยู่คงที่ เป็นการเลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หนึ่งบนเส้นการบริโภคเส้นเดิม จากจุด A ไปเป็น
จุด B หรือ C ดังรูปที่ 5-5 (ก)
5.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภค (shift in
consumption) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในตัว
กำาหนดโดยอ้อม ทั้งๆ ที่ระดับรายได้ยังคงเดิม
โดยเส้นการบริโภคทั้งเส้นเขยิบไปเป็นเส้นใหม่
2. การใช้จ่ายเพื่อ
การลงทุน
การลงทุน (Investment) หมายถึง
 การใช้จ่ายที่ทำาให้เกิดการผลิตสินค้าและ
บริการในอนาคตเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นการ
พิจารณาการเพิ่มสินค้าประเภททุน
 ดังนั้น การใช้จ่ายเพื่อการลงทุนประกอบ
ด้วยรายจ่ายในการซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ต่างๆ รายจ่ายในการซื้อเครื่องมือหรือ
อุปกรณ์ในการผลิต และรายจ่ายในการ
ผลิตสินค้าคงเหลือ
2. การใช้จ่ายเพื่อ
การลงทุน
1) ปัจจัยที่กำาหนดการ
ลงทุน
2) รูปแบบของการลงทุน
3) การเปลี่ยนแปลงการ
1) ปัจจัยที่
กำาหนดการลงทุน
จากแนวคิดของเคนส์ ชี้ให้เห็นว่ารายได้ประชาชาติเป็น
ปัจจัยสำาคัญที่สุดต่อการลงทุน และเป็นตัวกำาหนด
โดยตรง ส่วนปัจจัยอื่นๆ เป็นตัวกำาหนดโดยอ้อม ซึ่งได้แก่
อัตราดอกเบี้ย ( I ) กำาไรที่คาดว่าจะได้รับ (I1) และความ
ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (I2) เป็นต้น ดังนั้น
ฟังก์ชันการลงทุน I = f (Y, I, I1 ……..In)
และ I = f (Y) เมื่อให้ปัจจัยต่าง ๆ คงที่
2) รูปแบบของการ
ลงทุนการพิจารณา การกำาหนดดุลยภาพของรายได้ ได้แบ่งการ
ลงทุนเป็น 2 แบบ คือ การลงทุนแบบอิสระ และการลงทุนที่
วางแผนไว้
(1) การลงทุนแบบอิสระ(Autonomous investment : Ia)
เป็นการลงทุนที่ไม่ขึ้นกับระดับรายได้ เส้นการลงทุนอิสระจะมี
ลักษณะขนานกับแกนนอน ดังรูป ต่อไปนี้
(2) การลงทุนที่วางแผนไว้ (planned investment; Ip) หรือ
การลงทุนโดยจูงใจ (induce investment) เป็นการลงทุนที่
เปลี่ยนแปลงตามระดับรายได้ ดังนั้น เส้นการลงทุนแบบนี้จะมี
ลักษณะเป็นเส้นตรง หรือโค้งที่ทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา ดังรูปที
5-7 นี้
ดังนั้น สมการการลงทุนแบบจูงใจ หรือที่วางแผน คือ Ip =
iY
ดังนั้น การลงทุนทั้งสิ้นของระบบเศรษฐกิจ ในช่วงเวลาหนึ่ง จะ
เท่ากับผลรวมของการลงทุนแบบอิสระกับการลงทุนแบบจูงใจ
เขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการได้ดังนี้
สมการเงื่อนไขการลงทุนรวม; I = Ia + Ip หรือ I = Ia + iY
โดยที่ I คือ การลงทุนรวม
Ia คือ การลงทุนแบบอิสระ และ Ip คือ การลงทุนที่
วางแผนไว้
i คือ MPI (Marginal propensity to invest =
∆I / ∆Y)
ถ้า MPI คงที่ทุกระดับของรายได้เส้นการลงทุนจะเป็นเส้นตรง เมื่อ
สร้างกราฟการลงทุนรวมของระบบเศรษฐกิจ ได้ว่า
3) การเปลี่ยนแปลง
การลงทุน
จากรูป 5-9
การเปลี่ยนแปลงการลงทุน แบ่งได้เป็น 2 กรณี ดังนี้
(3.1) การเปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุน (change in to the
amount invested) เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุนที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงในระดับรายได้ ส่วนตัวแปรอื่นๆ
ของการลงทุน คงที่ การเปลี่ยนแปลงเป็นเพียงการย้าย
จากจุด A ไปเป็นจุด B ดังรูปที่ 5-9 ( ก)
(3.2) การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน (shift in investment)
เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน ที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงตัวแปรอื่นๆ ที่ไม่ใช่รายได้ การเปลี่ยนแปลง
เป็นการย้ายเส้นการลงทุน จากเส้น I ไปเป็นเส้น I1 หรือ
I2 ดังรูปที่ 5-9 (ข)
การวิเคราะห์การลงทุน
จากโจทย์ที่กำาหนดให้ จงคำานวณหาการลงทุน ณ ระดับรายได้ (Y)
1,000 ล้านบาท โดยกำาหนดให้ MPI = 0.20 และถ้าการลงทุน
อิสระ (Ia1) มีค่าเท่ากับ 500 ล้าน
วิธีทำา สมการเงื่อนไข; I = Ia + iY ………………….(1)
แทนค่าในสมการ ; I = 500 + 0.20 (1,000) ………(2)
= 500 + 200 = 700
ณ รายได้ 1,000 ล้านบาท การลงทุนจะเท่ากับ 700 ล้านบาท
ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงการลงทุนใหม่ (Ia1) เพิ่มขึ้นอีก 50 ล้านบาท
ณ ทุกระดับรายได้ ให้คำานวณหาระดับการลงทุนใหม่
สมการการลงทุนใหม่ (Ia); Ia1 = 500 + 50 = 550 ล้านบาท
แทนค่าใน(2) ; Ia1 = 550 ล้าน
Ia1 = 550 + 0.20 (1,000) = 750 ล้านบาท
ดังนั้น การลงทุนใหม่ ณ ระดับรายได้ 1,000 ล้านบาท การลงทุน
เท่ากับ = 750 ล้านบาท
3. การใช้จ่ายของรัฐบาล
การใช้จ่ายของรัฐบาล ประกอบด้วย รายจ่ายเพื่อการ
บริโภค เช่น เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าใช้สอยค่าวัสดุและ
ครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น ค่าใช้จ่ายในการ
ก่อสร้างสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ รายจ่าย
ประเภทเงินโอน เช่น เงินบำาเหน็จ บำานาญที่จ่าย
ให้ ข้าราชการเกษียณ เป็นต้น รายจ่ายประเภทเงินโอน
นี้เป็นเพียงการโอนอำานาจซื้อจากภาครัฐไปยัง
ประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มรายได้
ประชาชาติ จึงไม่นับรวมอยู่ในรายจ่ายประชาชาติ
สิ่งที่นำามาพิจารณาการใช้จ่ายของรัฐบาล เพื่อกำาหนด
ระดับดุลยภาพของรายได้ มีดังนี้
1) ปัจจัยที่กำาหนดการใช้จ่ายของรัฐบาล
2) รูปแบบของการใช้จ่ายของรัฐบาล
1) ปัจจัยที่กำาหนดการใช้จ่าย
ของรัฐบาล
การใช้จ่ายของรัฐบาลขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ ดังนี้
(1) รายรับของรัฐบาล (government revenue)
(2) นโยบายการคลังของรัฐบาล (fiscal policy) แบ่งเป็น
2 แบบ คือ
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal)
รัฐใช้จ่ายมาก
นโยบายการคลังแบบหดตัว (contractionary fiscal) รัฐ
ใช้จ่ายน้อย
2) รูปแบบของการใช้จ่าย
ของรัฐบาล
การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นไปตามงบประมาณแผ่นดินใน
แต่ละปีมี 3 รูปแบบ คือ
งบประมาณสมดุล (Balanced budget) รายจ่ายเท่ากับ
รายได้
งบประมาณเกินดุล (Surplus budget) รายจ่ายน้อย
กว่ารายได้
งบประมาณขาดดุล (Deficit budget) รายจ่าย
มากกว่ารายได้
3) เส้นรายจ่ายของรัฐบาล
เนื่องจากการใช้จ่ายของรัฐบาล จะไม่ค่อยมีความสัมพันธ์ กับรายได้
ประชาชาติ ในช่วงเวลาเดียวกันแต่ขึ้นอยู่กับงบประมาณรายจ่าย
ประจำาปี เส้นรายจ่ายจึงเป็นเส้นขนานกับแกนรายได้ ดังนั้น ถ้า
รัฐบาลเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของรัฐบาล เช่น ถ้ารัฐเพิ่มการใช้
จ่าย หรือลดการใช้จ่ายเส้นการใช้จ่ายของรัฐบาลก็จะย้ายไปด้าน
บน หรือด้านล่างของเส้นเดิม
4. การส่งออก
สุทธิ
4.1) การส่งออก (Export;
X)
4.2) การสั่งเข้า (Import;
M)
1. การส่ง
ออกการส่งออก (export: X) เป็นผลรวมของ
มูลค่าสินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งผลิต
ได้ และส่งไปจำาหน่ายยังอีกประเทศหนึ่ง
ตลอดจนผลตอบแทนจากการลงทุนใน
ต่างประเทศ
สิ่งที่นำามาพิจารณาในเรื่องของการส่งออก
คือ ปัจจัยที่กำาหนดการส่งออก และเส้น
การส่งออก
ปัจจัยที่กำาหนดการส่งออก
โดยทั่วไปปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกส่วน
ใหญ่เป็นตัวแปรภายนอกระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ได้แก่
 นโยบายการส่งเสริมการส่งออกของประเทศ
 ราคาของสินค้าออก กับราคาสินค้าในตลาดโลก
 ปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ความต้องการของตลาดต่าง
ประเทศ
เส้นการส่งออก (export curve)
จากปัจจัยที่กำาหนดการส่งออกเห็นได้ว่า ระดับรายได้ประชาชาติของ
ประเทศผู้ส่งออก มิใช่ตัวกำาหนดโดยตรงของการส่งออก ดังนั้น
เส้นการส่งออกจึงมีลักษณะเป็นเส้นขนานกับแกนรายได้
ประชาชาติ และถ้าประเทศผู้ส่งออกมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ๆ สามารถนำามาใช้เพื่อลดต้นทุนในการผลิต และอาจทำาให้ราคา
สินค้าส่งออกลดลง ปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้น เส้นการส่งออกจะ
ย้ายไปข้างบนของเส้นเดิม เปลี่ยนจาก เส้น X ไปเส้น X1 ในทาง
ตรงกันข้ามเส้น X เปลี่ยนเป็น X2 ดังรูปที่ 5-11
2) การสั่ง
เข้า การสั่งเข้า (import: M) เป็นผลรวมของมูลค่า
สินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งสั่งเข้ามาจากต่าง
ประเทศ ตลอดจนผลตอบแทนจากการลงทุนที่
จ่ายให้แก่เจ้าของทุนในต่างประเทศ
 ส่งที่นำามาพิจารณาในเรื่องของมูลค่าการสั่งเข้า
คือ ปัจจัยที่กำาหนดการสั่งเข้า และเส้นการสั่งเข้า
ปัจจัยที่กำาหนดการสั่งเข้า
ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการนำาเข้าเป็นตัวแปรประเภทเดียว กับ
การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของประชาชนภายในประเทศ
และยังขึ้นอยู่กับตัวแปรอื่นๆ อีก เช่น ราคาและคุณภาพ
ของสินค้าเข้า อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา และนโยบาย
รัฐบาล พบว่ารายได้ประชาชาติจะส่งผลกระทบโดยตรง
กับปริมาณการสั่งเข้าและยังเปลี่ยนแปลงไปตามรายได้
ประชาชาติอีกด้วย ความสัมพันธ์แสดงให้เห็นได้ ชัดเจน
ดังสมการต่อไปนี้
สมการการสั่งเข้า ; M = Ma + mY
โดยที่ M คือ มูลค่าของการสั่งเข้า และ Y คือ รายได้
ประชาชาติ
Ma คือ การสั่งเข้าเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์
m คือ ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มของการสั่งเข้า
(marginal propensity to import: MPM) หรือ ค่าของ MPM =
∆M / ∆Y หรือ slope ของเส้นการสั่งเข้า
เส้นการสั่งเข้า (import curve)
เนื่องจากมูลค่าของการสั่งเข้าจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับราย
ได้ประชาชาติของประเทศผู้นำาเข้า ดังนั้น ลักษณะของเส้น
การสั่งเข้าจึงทอดขึ้นไป ความชัน ก็คือ MPM มีค่าเป็นบวก
ดังรูปด้านล่าง
การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงมี 2
แบบ คือ การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า (move) และ
การเปลี่ยนแปลงเส้นการสั่งเข้า (shift)
จากรูป 5-13
การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า ลักษณะของการเปลี่ยนแปลง
มี 2 แบบ คือ
(1) การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า (Move) เป็นการเปลี่ยนแปลง
ของรายได้ซึ่งเป็นตัวแปรโดยตรง ส่วนตัวแปรอื่นๆ อยู่คง
เดิม เป็นการย้ายบนเส้นเดิม จากจุด A ไปยังจุด B ดังรูป
ที่ 5 -13 (ก.)
(2) การเปลี่ยนแปลงเส้นการสั่งเข้า (Shift) เป็นการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากตัวแปรโดยอ้อมตัวอื่น ๆ
เปลี่ยนแปลง โดยที่รายได้อยู่คงเดิม เป็นการขยับเส้นการ
สั่งเข้าให้สูงขึ้นหรือตำ่าลงกว่าเส้นเดิม ดังรูปที่ 5 –13 (ข.)
สรุป
สมการเงื่อนไขของการใช้จ่ายรวม TAE ทั้งหมดของระบบ
เศรษฐกิจ
 การบริโภค (C) = Ca + bYd
 การลงทุน (I) = Ia + iY
 รายจ่ายรัฐบาล (G) = Ga ; ภาษี (T) = Ta + tY ; เงินโอน (TR)
= TRa
 การส่งออก (X) = Xa
 การนำาเข้า (M) = Ma + mY
โดยที่ YD = Y – T + TR
ดังนั้น สมการการใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจ คือ
TAE = C + I + G + X – M
5.3 การวิเคราะห์หาระดับราย
ได้หรือผลผลิตดุลยภาพ
5.3.1) ระดับรายได้หรือผลผลิต
ดุลยภาพจากรายได้รวมเท่ากับ
การใช้จ่ายรวม
5.3.2) ระดับรายได้หรือผลผลิต
ดุลยภาพ จากการรั่วไหลเท่ากับ
การอัดฉีด
5.3.3) ระดับรายได้ดุลยภาพ จาก
5.3.1) ระดับรายได้หรือ
ผลผลิตดุลยภาพจากรายได้
รวมเท่ากับการใช้จ่ายรวมกรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีรัฐบาล
สมการเงื่อนไขY = TAE …………………(1)
เมื่อ TAE = C + I …………………….(2)
(1)=(2) จะได้ Y = C + I
สมการการบริโภค ; C = 25 + 0.75Yd
, สมการการลงทุนอิสระ ; Ia =
50 ล้านบาท และ Y = Yd
แทนค่า C , I ลงใน (1) = 25 + 0.75Yd
+ 50
เมื่อ Y = Yd
ได้ว่า = 25 + 0.75Y + 50
(1-0.75) Y = 75
Y = 75 / 0.25 = 300 ล้านบาท
ระดับรายได้หรือระดับการผลิตดุลยภาพเท่ากับ 300 ล้านบาท
เส้น 45 องศา คือ เส้นที่แสดงถึงการใช้จ่ายรวม (TAE) เท่ากับ
รายได้รวม ( Y) และระดับผลผลิตรวม (GNP) ดังนั้น ทุกๆ
จุดบนเส้นนี้ Y = TAE
กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบเปิด
สมการส่งออก X = Xa
สมการนำาเข้า M = Ma + mY
สมการเงื่อนไขทั่วไป คือ Y = C + I +G + ( X – M )
โดยการกำาหนดสมการ C = 25+0.75Yd
, Ia = 50, Ga = 25, T = 0 , TR
=0 , Yd
= Y-T+TR, X = 90, M = 15 + 0.1Y
สมการเงื่อนไข ; Y = C + I + G + X – M
แทนค่าในสมการ ; Y = 25 + 0.75Y + 50 +25 + [ 90 -
(15+0.1Y)]
= 25 +0.75Y +50 +25 + 90 – 15 – 0.1Y
(1-0.75+0.1)Y = 175
0.35 Y = 175
Y = 175 / 0.35 = 500
รายได้ดุลยภาพมีค่าเท่ากับ 500 ล้าน หากต้องการทดสอบคำาตอบทำาได้โดย
นำาค่า Y แทนค่าในสมการ C และ M นำาค่าที่ได้แทนค่าในสมการเงื่อนไข Y
= C + I + G + (X-M) ตัวอย่าง
แทนค่าสมการ; C = 25 +0.75(500) = 400
แทนค่าในสมการ; M = 15 – 0.1(500) = 65
แทนค่าในสมการ; Y = C + I + G + (X + M)
= 400 + 50 +25 + 90 – 65 = 500
5.3.2) ระดับรายได้หรือ
ผลผลิตดุลยภาพ จากการรั่ว
ไหลเท่ากับการอัดฉีดการรั่วไหล (Leakages) เป็นรายได้ที่ไหลออกจากวงจรเศรษฐกิจ
เช่น การออม การไหลออกของเงินทุนไปต่างประเทศ การเก็บภาษี
ของรัฐบาล เป็นต้น
การอัดฉีด (Injection) เป็นกระแสรายได้ที่ไหลเข้าสู่วงจร
เศรษฐกิจ เช่น การลงทุนของ ภาคธุรกิจ การไหลเข้าของ
เงินทุนต่างประเทศ และการใช้จ่ายของรัฐบาล เป็นต้น
กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีรัฐบาล
สมการรายได้เท่ากับการใช้จ่าย; Y = C + I
…………….( 1 )
สมการรายได้ของครัวเรือน; Y = C + S
……………..( 2 )
จาก (2) จะได้ S = Y - C
สมการ (1)=(2) ; C + I = C + S
ดึง C ออกทั้ง 2 ด้าน ; I = S
กำาหนดให้ การใช้จ่ายรวม (TAE) คือ
จากสมการเงื่อนไข ; Y = C + S
………………..( 1 )
จาก (1) จะได้ S = Yd
– C
แทนค่า C ในสมการ ; S = Yd
– 25 + 0.75 Yd
S = -25 + 0.25Y โดยที่ Y = Yd
สมการเงื่อนไขดุลยภาพ I = S
………………( 2 )
แทนค่าสมการ 50 = -25 + 0.25Y
Y = 300 ล้านบาท
แทนค่า Y ในสมการการออมเพื่อหาระดับการออมดุลยภาพ เมื่อ Ia
= 50 , Y = 300 ล้านบาท
S = -25 + 0.25 (300)
S = 50 ล้านบาท
ณ ระดับการลงทุนเท่ากับการออม คือ 50 ล้านบาท ระดับ
กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบเปิด
การอัดฉีด คือ มูลค่าการส่งออก (X) และการรั่วไหล คือ มูลค่าการนำา
เข้า (M)
สมการเงื่อนไขดุลยภาพ ; S + T + M = I + G + X + TR
กรณี TR = 0 S + T + M = I + G + X
กำาหนดให้ C = 25 + 0.75Y หรือ S = - 25 + 0.25 Y, Ia = 50,
Ga = 25, TR = 0, T = 0, X = 90, M = 15 + 0.1Y
สมการเงื่อนไขดุลยภาพ ; S + M = I + G + X
-25 + 0.25 Y + 15 + 0.1Y = 50 + 25 + 90
0.35Y = 165 + 10 = 175
Y = 175 / 0.35 = 500 ล้านบาท
ระดับรายได้ดุลยภาพ เท่ากับ 500 ล้านบาท
สรุป การวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพ ทั้ง 2 วิธี
เคนส์ เชื่อว่าระบบเศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้ตามกลไก
ราคา รัฐบาลต้องเข้ามามีบทบาทในการปรับตัวของระบบ
เศรษฐกิจ และเชื่อว่าระดับรายได้ดุลยภาพไม่จำาเป็นต้อง
เป็นระดับเดียวกับระดับรายได้ที่ก่อให้เกิดการจ้างงานเต็มที่
(full employment)
คำานิยามของคำาว่า รายได้ดุลยภาพ (Equilibrium national
income: YE) ได้ว่าเป็นระดับรายได้ที่อยู่ในระดับเดียวกับ
การใช้จ่ายมวลรวม (TAE) หรือระดับการรั่วไหลเท่ากับ
อัดฉีด ซึ่งเป็นระดับรายได้ที่ไม่เปลี่ยนแปลง และอยู่คงที่
ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของการใช้จ่ายรวมยังไม่
เปลี่ยนแปลง (C,I,G,X,M)
การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้หรือผลผลิตดุลยภาพ
การวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพทั้ง 2 วิธี เป็นการพิจารณา
โดยมีข้อสมมติว่าระดับราคาสินค้าคงที่ และเมื่อรายได้หรือ
ผลผลิตเข้าสู่ดุลยภาพแล้วจะอยู่คงที่ตราบเท่าที่ตัวแปรของการ
ใช้จ่ายรวม (TAE) ไม่เปลี่ยนแปลง
กำาหนดให้ สมการการบริโภค คือ C = 25 + 0.75YD และ การ
ลงทุนแบบอิสระ Ia = 50 ล้านบาท รายได้ดุลยภาพคือ 300
ล้านบาท ต่อมา การลงทุนแบบอิสระเพิ่มขึ้นอีก I = 25 ล้าน
บาท ระดับรายได้ดุลยภาพเป็นเท่าใดเมื่อการลงทุนใหม่เท่ากับ
75 ล้านบาท
สมการเงื่อนไข ; Y = C + I
แทนค่า C ; และ Y=YD; = 25 + 0.75Y + 75
= 100 / 0.25 = 400 ล้าน
ระดับรายได้ดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 300 ล้านบาท เป็น 400 ล้าน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการลงทุนแบบอิสระ (∆I) 25 ล้านบาท ส่งผลให้
ระดับรายได้ดุลยภาพเปลี่ยนจาก 300 ล้านไปเป็น 400 ล้าน แสดง
ว่ารายได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (∆Y↑) 100 ล้าน หรือ คิดเป็น 4 เท่า
ของการลงทุน นั่นคือ ตัวทวี หรือตัวคูณ (Multiplier: K)
ตัวทวี (Multiplier: K)
เห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของรายได้ดุลยภาพ (∆YE) > การ
เปลี่ยนแปลงของ การใช้จ่ายรวม (∆TAE) เพราะค่าของตัว
ทวี (K)
1. ความหมายของตัวทวี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในการใช้จ่ายรวม (∆TAE เช่น C, I, G,
X, M) ทั้งอิสระและที่ขึ้นอยู่กับรายได้จะส่งผลให้ ระดับ
รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ ตัวทวี (K)
สมการตัวทวี Y = K .(∆TAE)
2. การทำางานของตัวทวี
ตัวอย่าง การลงทุนอิสระ (∆Ia) เพิ่มขึ้นอีก 25 ล้านบาท และ
ค่า MPC = 0.75 กระบวนการทำางานของตัวทวี อธิบายได้
ดังนี้
การเปลี่ยนแปลง I = 25 ล้านบาท ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเงินจำานวนนี้
จะถูกจัดสรรไปเป็นค่าก่อสร้างอาคารโรงงาน จัดซื้อเครื่องจักรและ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต เป็นต้น เมื่อกระแสการใช้จ่ายเข้าสู่
ระบบเศรษฐกิจ กระแสของเงินจะหมุนไปเรื่อยๆ กระทั่งถึงงวด
สุดท้ายรายได้จะเพิ่มขึ้นน้อยมากจนในที่สุดจะเท่ากับ ศูนย์ เมื่อเอา
รายได้ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 100 ล้านคิดเป็น 4 เท่าของ I ที่เพิ่ม
ขึ้น นั่นคือ ค่าตัวทวี (K) = 4 หรือหาได้จากสูตร
∆Y = K (∆Ia)
จากตารางการทำางานของตัวทวี นำามาคำานวณค่า K
∆Y = 25 ( 1 + MPC + MPC2 + MPC3 +……MPCn )
∆Y = 25 (1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 +……..0.75n)
= 25 ( 1 / 1 – 0.75 )
= 25 x 4 = 100 ล้านบาท
ดังนั้น K = 1 / 1 – MPC
5.3.3) ระดับรายได้ดุลยภาพ
จากอุปสงค์มวลรวมและ
อุปทานมวลรวม
1. อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand: AD)
อุปสงค์มวลรวม (AD) หมายถึง ความต้องการการใช้จ่าย
รวมของระบบเศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่ง โดยความ
ต้องการใช้จ่ายรวมนี้จะมีความสัมพันธ์กับระดับราคา
ในช่วงเวลาเดียวกัน กล่าวคือ ถ้าระดับราคาสูงขึ้น
(P↑) ความต้องการใช้จ่ายรวมจะลดลง (AD↓)
1.1 เส้นอุปสงค์มวลรวม
1.2 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์มวลรวม
1.1 เส้นอุปสงค์มวลรวม
TAE กับ AD จะมีความสัมพันธ์กันโดยผ่านตัวกำาหนดหรือตัวแปร
เดียวกัน นั่นคือ รายได้ประชาชาติ ดังนั้น การสร้างเส้น AD จึง
สามารถสร้างขึ้นได้จาก เส้น TAE ดังนี้
ระดับราคาเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก OP ไปเป็น OP1 การเปลี่ยนแปลง
ของราคาส่งผลกระทบการใช้จ่ายรวม กล่าวคือ ความต้องการใช้
1.2 การเปลี่ยนแปลงของ
อุปสงค์มวลรวม
จากรูป 5-18
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์มวลรวมมี 2 ลักษณะ คือ
(1) การเคลื่อนย้ายอยู่บนเส้น AD เส้นเดิม (Move along
the AD curve) เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้จ่ายรวม
(TAE) คงที่ แต่ระดับราคาเปลี่ยนแปลง เป็นการย้าย
จากจุด A ไปยังจุด B ส่งผลให้ระดับรายได้ดุลยภาพ
เปลี่ยนแปลงด้วย
(2) การเคลื่อนย้ายเส้น AD ไปเป็นเส้นใหม่ (Shift or
change in AD curve) เกิดขึ้นเนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายรวม (TAE) ขณะที่ระดับ
ราคาสินค้าอยู่คงที่ เป็นการย้ายเส้น AD ไปเป็น เส้น
AD1 ณ ระดับราคา OP
2. อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply: AS)
เส้นอุปทานรวมระยะสั้น (Short-run AS ; SAS)
เส้นอุปทานมวลรวมในระยะยาว (Long-run aggregate supply curve:
LAS)
3. ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ
5.4 ภาวะเงินเฟ้อและ
ภาวะเงินฝืด
5.4.1) ภาวะเงินเฟ้อ
(Inflation)
5.4.2) ภาวะเงินฝืด
5.4.1) ภาวะเงินเฟ้อ
หรือภาวะระดับราคา
เฟ้อ (Inflation)คำาว่า “เงินเฟ้อ” เป็นสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวกับ
ภาวะที่ระดับราคาสินค้า (Price Level) โดยทั่วไป เพิ่มสูง
ขึ้นเรื่อย ๆ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง
คำาว่า “ระดับราคา” (Price Level) หมายถึง ราคาของสินค้า
และบริการทุกประเภทที่มีความจำาเป็นต่อการครองชีพ
ของของประชาชนหรือผู้บริโภค ซึ่งระดับราคาเฟ้อโดย
ทั่วไปสามารถดูได้จาก “ดัชนีราคา” (Price Index) ดัชนี
ราคาที่นิยมใช้กัน คือ ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price
Level: CPI)
สิ่งที่นำามาพิจารณาเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ คือ
(1) ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ
(2) สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
(1) ขนาดของภาวะ
เงินเฟ้อ
(1) ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 2
ขนาด ดังนี้
(1.1) ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild -Inflation) เป็นภาวะเงินเฟ้อที่
ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่ว ไปค่อย ๆ สูงขึ้นประมาณ
1-5 แต่ไม่เกิน 20% (1-5 % อย่างอ่อน และ 5-20% ปานกลาง) ต่อปี
ภาวะราคาเฟ้อแบบนี้เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศ
(1.2) ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง (Hyper- Inflation) เป็นภาวะเงินเฟ้อที่
ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วๆ ไปสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและ
เกิน 20% ต่อปี ภาวะราคาเฟ้อแบบนี้มักเกิดขึ้นในภาวะสงคราม
หรือภาวะปกติก็ได้ ถ้ารัฐบาลไม่สามารถควบคุมปริมาณเงินที่
เข้าสู่กระแสเศรษฐกิจ หรือกรณีที่ปัจจัยการผลิตบางชนิดราคา
สูงขึ้น เช่น ราคานำ้ามันในตลาดโลกสูงขึ้นย่อมส่งผลให้
เศรษฐกิจโดยรวมของโลกเกิดภาวะเงินเฟ้อได้ ภาวะราคาเฟ้อ
กรณีนี้ สามารถทำาให้เศรษฐกิจของประเทศชะงักงัน (Stagflation)
(2) สาเหตุของการเกิดภาวะ
เงินเฟ้อ
สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ ตามลักษณะที่ทำาให้เกิด
ภาวะเงินเฟ้อ โดยแยกพิจารณาได้เป็น 2 ประเภท
หลัก มีดังนี้
(2.1) เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์มวลรวม
(Demand Pull Inflation)
(2.2) ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันทางด้าน
อุปทาน (Cost Push Inflation)
(2.1) เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์
มวลรวม (Demand Pull Inflation)
ภาวะเงินประเภทนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก อุปสงค์มวลรวมในระบบ
เศรษฐกิจมีมากกว่าอุปทานมวลรวม หรือ ความต้องการใช้จ่าย
ของประชาชนมีมากกว่าปริมาณผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจจะผลิต
ได้ (AD>AS) สาเหตุการเกิดกรณีนี้ ทำาให้เส้น AD เขยิบขึ้นด้าน
บนเรื่อยๆ ขณะที่เส้น AS คงเดิม ดังรูปด้านล่างนี้
จากรูป 5-25
เมื่อเส้น AD ตัดกับเส้น AS ณ จุดดุลยภาพ E ระดับราคาดุลยภาพ
คือ OP ผลผลิตดุลยภาพ คือ OY ต่อมา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
เส้น AD ไปเป็นเส้น AD1 ขณะที่เส้น AS อยู่คงที่ และเส้น AS
ขณะนั้นมีลักษณะทอดขึ้นไป ทำาให้เกิดดุลยภาพใหม่ที่จุด E1 ส่ง
ผลให้ ระดับราคาและระดับผลผลิตเปลี่ยนไปเป็น OP1 และ OYF
ตามลำาดับ
เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงของระดับราคากรณีที่เส้น AS ทอดขึ้น เป็น
ผลต่อดีต่อระบบเศรษฐกิจ เพราะทำาให้เกิดการขยายการผลิต การ
จ้างงานเพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติดุลยภาพเพิ่มขึ้น การ
เปลี่ยนแปลงของเส้น AD ในช่วงนี้ ขนาดภาวะเงินเฟ้อชนิดนี้เรียก
ว่า Mild Inflation
ต่อมา เส้น AD1 เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพิ่มขึ้น และเส้น
อุปทานคงที่แต่ลักษณะของเส้นตั้งฉากกับแกนตั้ง จุดดุลยภาพ
สรุปสาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์ อธิบายโดยย่อๆ ได้
ดังนี้ เมื่อ อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น ในขณะที่ระดับผลผลิตและระดับ
รายได้ของประเทศไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้เนื่องจากอยู่ในสภาวะ
การจ้างงานเต็มที่ ผู้ผลิตจึงถือโอกาสขึ้นราคาสินค้าสูงขึ้น ซึ่งจะ
ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงของผู้บริโภคลดลง
Inflation = AD > AS ⇒ Price Level ( P ) ⇑ ⇒ Real Income ⇓
สาเหตุที่สำาคัญของการเกิดภาวะเงินเฟ้อกรณีนี้ คือ
1. การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายรวม (TAE)
2. การเพิ่มของปริมาณเงิน (Money Supply) รายละเอียดศึกษาเรื่องการเงิน
3. รายได้จากต่างประเทศ เกิดขึ้นกรณีที่โครงสร้างเศรษฐกิจแบบเปิด และ
การค้าระหว่างประเทศเกิดดุลการค้าเกินดุล ทำาให้รายได้เข้าประเทศ
จำานวนมาก
4. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอุปสงค์มวลรวม (Structural change in
AD) สาเหตุนี้ก็คืออุปสงค์มวลรวมไม่เพิ่มขึ้นแต่เงินเฟ้ออาจเกิดขึ้นได้
โดยโครงสร้างของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว จนราคาปัจจัยการผลิตไม่สามารถปรับตัวทันเนื่องจากสินค้าที่
อุปสงค์เพิ่มขึ้นจะมีราคาและค่าแรงสูง แต่สินค้าที่อุปสงค์ลดลงก็จะไม่ลด
ราคา ดังนั้น ระดับราคาโดยทั่วไปจะค่อย ๆ สูงขึ้น
(2.2) ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากแรงผลัก
ดันทางด้านอุปทาน (Cost Push Inflation)
เงินเฟ้อประเภทนี้เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เช่น ผู้ใช้
แรงงานรวมตัวกันเรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น หรือกลุ่มผู้ผลิตนำ้ามันรวม
ตัวกันขึ้นราคานำ้ามัน ผู้ผลิตจึงจำาเป็นต้องลดปริมาณการผลิตลง
หรืออาจผลิตเท่าเดิมแต่จะเพิ่มราคาสินค้าให้สูงขึ้น ดูจากรูปด้าน
ล่าง
จากรูป 5-26
เส้น AD ตัดกับเส้น AS ณ ระดับราคา OPF และผลผลิต
OYF โดยการสมมติให้เป็นระดับผลผลิต ณ การจ้าง
งานเต็มที่ ต่อมาสมมติให้ เส้น AS ลดลงเนื่องจาก
ต้นทุนการผลิตเพิ่มโดยที่ เส้น AD ยังคงเดิม ราคา
สินค้าจึงสูงขึ้นเป็น OP1 และผลผลิตลดลงเป็น OY1 และ
ถ้าต้นทุนการผลิตยังเพิ่มขึ้นอีกเส้น AS จะลดลงอีกเป็น
AS2 ราคาจะเพิ่มขึ้นเป็น OP2 ผลผลิตลดลงเป็น OY2
จะสังเกตเห็นว่า ถ้าอุปสงค์มวลรวมคงเดิม การลดลง
ของอุปทานจะส่งผลให้ระดับราคาสูงขึ้นและระดับ
ผลผลิตลดลง
สรุป สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อทั้ง 3 สาเหตุ โดยมากไม่
ได้เกิดขึ้นจากสาเหตุเดียว แต่อาจจะเกิดขึ้นพร้อมกัน
(3) ผลกระทบของการเกิด
ภาวะเงินเฟ้อ
เมื่อภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้น โดยที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วๆ ไปสูงขึ้น
เรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทบเกิดผลกระทบต่อกลุ่มบุคคลต่างๆ
ในแต่ละภาคเศรษฐกิจ ดังนี้
(3.1) กลุ่มประชาชนผู้บริโภค กรณีเกิดภาวะระดับราคาเฟ้อ หรือ
ระดับราคาสูงขึ้น ทำาให้ผู้บริโภคเดือดร้อน เพราะรายได้ที่แท้จริง
ลดลง หรืออำานาจซื้อลดลง โดยทำาให้ซื้อสินค้าได้น้อยลงในช่วง
เกิดภาวะเงินเฟ้อ
(3.2) กลุ่มผู้ให้กู้ หรือเจ้าหนี้ เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อ จะเสียผลเปรียบผู้
กู้หรือลูกหนี้ เพราะถ้าลูกหนี้นำาเงินมาคืนช่วงเกิดเงินเฟ้อ อำานาจ
ซื้อของเงินที่คืนจะลดน้อยลงกว่าเดิม เนื่องจากซื้อสินค้าได้น้อย
ลงกว่าตอนที่ให้กู้
(3.3) กลุ่มผู้มีรายได้ประจำา หรือรับค่าจ้างเป็นเงินเดือน ช่วงเกิด
(4) การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ
การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ การแก้ไขอาจ
ทำาได้ดังนี้
ก. เพิ่มระดับการผลิตให้เพียงพอต่อระดับความต้องการของผู้
บริโภค ซึ่งในทางปฏิบัติอาจทำาได้ยากหากภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้น
ในช่วงที่เศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่
ข. นโยบายการเงิน โดยพยายามลดปริมาณเงินลง (รายละเอียด
ของการลดปริมาณเงินสามารถศึกษาได้ในหัวข้อการเงินของบท
ต่อไป)
เครื่องมือที่รัฐนำามาใช้คือ
 ขายหลักทรัพย์ให้กับประชาชนโดยรัฐบาล
 เพิ่มอัตราเงินลดสำารองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์และ
 เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง
ค. นโยบายการคลัง การแก้ไขโดยการพยายามลดการใช้จ่าย
รวม (TAE) ของประชาชนลง เครื่องมือที่รัฐบาลนำามาใช้ คือ
 การเก็บภาษีจากประชาชนเพิ่มขึ้นหรือ

5.4.2) ภาวะเงินฝืด
(Deflation)
ภาวะเงินฝืด เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปลดลงเรื่อย ๆ
อย่างต่อเนื่อง หรือเกิดจากอุปสงค์มวลรวม (AD) มีน้อยกว่า
อุปทานมวลรวม (AS) โดยในช่วงที่เกิดภาวะเงินฝืดปริมาณเงิน
ในระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณผลผลิตที่ผลิตได้เกิดภาวะ
สินค้าล้นตลาด ขายไม่หมด หน่วยธุรกิจจึงต้องปรับตัวโดยการ
ลดราคาสินค้าลง และลดการผลิต จึงเกิดสภาวะการว่างงาน
เศรษฐกิจตกตำ่าตามมา
Deflation = AD < AS  Price Level (P) ↓  Investment ( I ) ↓ 
Unemployment ↑  Depression period ↓
สาเหตุของการเกิดภาวะเงินฝืด อาจเนื่องมาจากสาเหตุต่อไปนี้
1. ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ๆ ให้เงินกู้ หรือ
ปล่อยสินเชื่อแก่ประชาชนน้อยเกินไป ไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของระบบเศรษฐกิจ หรือปริมาณเงินมีน้อยเกินไป
2. รัฐบาลใช้งบประมาณเกินดุล
ผลกระทบของภาวะเงินฝืด
ภาวะเงินฝืดจะส่งผลให้อำานาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น เมื่อราคาสินค้าลดลง ผู้
ที่เสียเปรียบหรือเสียผลประโยชน์ คือ ผู้กู้ยืมเงินหรือลูกหนี้ และผู้ที่มีรายได้
จากการขายสินค้าและจากกำาไร ได้แก่ พ่อค้า นักธุรกิจ เป็นต้น
การแก้ไขภาวะเงินฝืด มีดังนี้
1. พยายามลดระดับการผลิตสินค้าและบริการลง ซึ่งอาจทำาให้เกิดปัญหา
การว่างงานอย่างรุนแรงตามมา
2. นโยบายการเงิน โดยเพิ่มปริมาณเงิน
เครื่องมือทางการเงินที่นำามาใช้ ได้แก่
ซื้อหลักทรัพย์คืนจากประชาชน
ลดอัตราเงินลดสำารองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์
และ
ลดอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง
3. นโยบายการคลัง แก้ไขโดยการเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลหรือลดภาษี
เครื่องมือทางการคลังที่รัฐบาลนำามาใช้ ได้แก่
การเก็บภาษีจากประชาชนลดลง และ
ใช้งบประมาณแผ่นดินแบบขาดดุล โดยการเก็บภาษีน้อยลง
และในขณะเดียวกัน ก็พยายามเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลให้มากขึ้น เพื่อ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานVolunteerCharmSchool
 

La actualidad más candente (20)

Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 

Similar a การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1jimkongkaew
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6Apple Natthakan
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
Econ Presentation 5
Econ Presentation 5Econ Presentation 5
Econ Presentation 5wowwilawanph
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56Kaew Say
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติBangon Suyana
 

Similar a การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ (14)

ศศ
ศศศศ
ศศ
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
Econ Presentation 5
Econ Presentation 5Econ Presentation 5
Econ Presentation 5
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 

Más de tumetr1

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilitiestumetr1
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mailtumetr1
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utilitytumetr1
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardwaretumetr1
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)tumetr1
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layertumetr1
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กtumetr1
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์tumetr1
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการtumetr1
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายtumetr1
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลtumetr1
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจtumetr1
 

Más de tumetr1 (20)

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
 
routing
routingrouting
routing
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
 

การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

  • 1. บทที่ 6 การกำาหนด รายได้ประชาชาติ ดุลยภาพ 5.1 รายได้ประชาชาติ 5.2 การใช้จ่ายมวลรวม 5.3 การวิเคราะห์หาระดับรายได้หรือ ผลผลิตดุลยภาพ 5.4 ภาวะเงินเฟ้อและภาวะเงินฝืด
  • 2. 5.1 รายได้ ประชาชาติ5.1.1 ความหมายของรายได้ ประชาชาติ 5.1.2 รายได้ประชาชาติที่แท้ จริงและ อัตราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ 5.1.3 การคำานวณรายได้
  • 3. 5.1.1 ความหมายของรายได้ ประชาชาติ 1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product: GDP)  มูลค่ารวมสินค้าขั้นสุดท้าย (Final Goods : FG) ที่ผลิตขึ้นใน ประเทศ  คิดราคาตลาด ในการผลิต 1 ปี  เป็นราคาก่อนหักค่าเสื่อมราคา  ไม่คำานึงสัญชาติของผู้ผลิต ไม่คำานึงว่าเป็นทรัพยากรในหรือ นอกประเทศ  ต้องผลิตในประเทศเท่านั้น ***  วัดความสำาคัญของอุตสาหกรรมในแต่ละสาขา
  • 4. 2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product : GNP)  มูลค่ารวมของ Final Goods ทั้งหมด  คิดราคาตลาดในการผลิต 1 ปี  ต้องผลิตโดยคนและใช้ทรัพยากรในประเทศเท่านั้น***  ไม่คำานึงว่าจะผลิตในหรือนอกประเทศก็ตาม  วัดภาวะเศรษฐกิจของประเทศ  GNP = GDP +F  ซึ่ง F = รายได้สุทธิจากต่างประเทศ  ส่วน GDP = GNP – F  ตัวอย่าง 1. ภพเป็นคนไทย ทำางานซาอุฯ ดังนั้นรายได้ของภพเป็น GDP ของไทย หรือ GNP ของไทย 2. กำาไร Big C สาขาไทย ดังนั้นกำาไรของ Big C เป็น GDP ของไทย หรือ GNP ของไทย
  • 5. 3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product : NNP)  คือ NNP ณ ราคาตลาด  มูลค่ารวมของ Final Goods  คิดราคาตลาด ในการผลิต 1 ปี  คำานึงผลิตโดยคนในประเทศเท่านั้น***  เป็นราคาหักค่าเสื่อมราคาแล้ว  วัดความสามารถในการผลิตที่เพิ่มขึ้นสุทธิของประเทศ  NNP ณ ราคาตลาด = GNP – ค่าเสื่อมราคา
  • 6. 4. รายได้ประชาชาติ (National Income: NI)  คือ NNP ณ ราคาทุน  มูลค่ารวมของ Final Goods ในการผลิต 1 ปี  หลังหักค่าเสื่อมราคา และภาษีทางอ้อมแล้ว***  วัดความมั่งคั่ง/ ยากจนของคนในประเทศนั้น  NI = NNP ณ ราคาตลาด – Tax ทางอ้อม  ซึ่งTaxทางอ้อม เช่น ภาษีการค้า ภาษีศุลกากร ภาษี สรรพสามิต เป็นต้น
  • 7. 5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI)  รายได้ส่วนบุคคลทั้งหมด = รายได้จากปัจจัยการ ผลิต + รายได้ไม่ได้มาจากปัจจัยการผลิต  คือรายได้ที่ตกถึงมือบุคคลจริงๆ  วัดการใช้จ่ายของประชาชน  PI = NI – กำาไรกันไว้ขยายกิจการ – Taxนิติบุคคล + เงินโอน  ซึ่งเงินโอน แบ่งเป็น 1. เงินโอนรัฐบาล 2. เงินโอนส่วนบุคคล
  • 8. 6. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (Disposable Personal Income: DI)  รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง  วัดอำานาจซื้อ  หากวัดฐานะเศรษฐกิจกับประเทศอื่นให้ดูที่ “รายได้เฉลี่ยต่อ หัว”  DPI = PI – Tax บุคคลธรรมดา 7. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income)  ใช้เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ  ......
  • 9.
  • 11.  อธิบายตัวเลขจากการคำานวณ ค่า 6.36% บอกให้ทราบ ว่า ในปี 2541 อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง กว่าปี 2540 ประมาณ 6.36%
  • 12. 5.1.3 การคำานวณรายได้ ประชาชาติ คำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้นได้ 3 วิธี (ซึ่งได้ ค่าตรงกันเสมอ) คือ  คำานวณจากมูลค่าผลิตผลรวม (Gross Production Approach: GNP)  คำานวณจากรายจ่ายรวม (Gross Expenditure Approach: GNE)  คำานวณจากรายได้รวม (Gross Income Approach: GNI)
  • 13.  โดยทั่วไปโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจประกอบด้วย ภาค เศรษฐกิจต่าง ๆ ดังนี้  ภาคครัวเรือน (Household Sector) ประกอบด้วยเจ้าของปัจจัยการ ผลิตและผู้บริโภค  ภาคธุรกิจ (Business Sector) ประกอบด้วยผู้ซื้อปัจจัยการผลิต และขายสินค้า  ภาครัฐบาล (Public Sector) ประกอบด้วยหน่วยงานต่าง ๆ ของ รัฐบาล  ภาคการค้าระหว่างประเทศ (Foreign Sector)  แสดงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ในรูปของกระแสการไหลเวียนของการใช้จ่ายรายได้และ
  • 14.  การคำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้น มี 3 วิธี ดังนี้ 1. การคำานวณด้านผลผลิต (Gross Product Approach หรือ GNP) การคำานวณวิธีนี้ สามารถคำานวณหามูลค่าของผลผลิตประชาชาติได้ 2 วิธีย่อย คือ 1.1 คำานวณหาค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (Final Product) วิธีนี้อาจเกิดปัญหาการนับซำ้าซ้อน 1.2 คำานวณหาค่ามูลค่าเพิ่ม (Value added method)
  • 15. 2. การคำานวณทางด้านรายได้ (Gross Income Approach or GNI)  เป็นรายได้ทั้งเอกชนและรัฐบาลรวมกัน จากการผลิตใน ประเทศ 1 ปี  ไม่รวมเงินโอน มูลค่าเพิ่มทรัพย์สิน รายได้ผิดกฎหมาย  Yเอกชน = ค่าเช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบี้ย + กำาไร  Yรัฐบาล = Taxทุกชนิด + Taxทรัพย์สิน + Taxรัฐวิสาหกิจ  ดังนั้น NI = Yเอกชน + Yรัฐบาล หรือ = GNI – ค่าเสื่อมราคา – Taxทางอ้อม 3. การคำานวณทางด้านรายจ่าย (Gross Expenditure Approach: GNE)  หามูลค่า Final Goods ที่เอกชนและรัฐใช้บริโภคและออม
  • 16. 5.2 การใช้จ่ายมวล รวม  การใช้จ่าย 4 ประเภทของระบบเศรษฐกิจ มีดังนี้ 1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือน (Consumption Expenditure: C) 2. การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (investment : I) 3. การใช้จ่ายของรัฐบาล (government Expenditure :G) 4. การส่งออกสุทธิ (net export : X-M)  ซึ่ง รายได้ประชาชาติที่คำานวณทางด้านรายจ่าย โดยทั่วไปมักจะเรียกว่า การใช้จ่ายมวลรวม (TAE) หรือ อุปสงค์มวลรวมของประเทศ (Aggregate Demand: AD) โดยเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการ
  • 17. 1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของ ครัวเรือน 1) ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการบริโภค และการออม 2) ฟังก์ชันและสมการบริโภคและการ ออม 3) ความโน้มเอียงเฉลี่ยและความโน้ม เอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภคและ การออม 4) ตารางและเส้นการบริโภคและการ
  • 18. 1) ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการ บริโภค และการออม (1) รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงของบุคคล (Dispossible or Yd ) (2) สินทรัพย์หรือสินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่ (3) การคาดการณ์ของผู้บริโภค (4) สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย (5) อื่น ๆ เช่น ค่านิยมทางสังคม อัตราการเพิ่มของ ประชากร เป็นต้น การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค พิจารณาได้จาก ฟังก์ชันการบริโภคและการออม ดังนี้
  • 19. 2) ฟังก์ชันและสมการบริโภค และการออม  เคนส์ ได้กล่าวว่า รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงหรือรายได้สุทธิ ส่วนบุคคล (DI) เป็นปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดโดยตรงและ สำาคัญที่สุดของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม ของประชาชน ส่วนปัจจัยอื่นหรือตัวแปรอื่นๆ ถือเป็นตัว กำาหนดโดยอ้อม ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันและ สมการ ได้ดังนี้ C = f (Yd ) โดยที่ C คือ การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income: DI)  สมการบริโภค C = Ca + bYd โดยที่ Ca คือ การบริโภคเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์ b คือ ค่าคงที่ ที่แสดงถึงการบริโภคที่ขึ้นกับรายได้ หรือเรียกว่า ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume: MPC) ซึ่งก็คือ ค่าความชันของ
  • 20.  ถ้าหากระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีรัฐบาล รายได้ที่ใช้จ่าย ได้ (Yd ) จะเท่ากับรายได้ประชาชาติ (National Income หรือ Y) หรือ Y = Yd ที่บุคคลนำาไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภค และการ ออม ดังนั้น สมการของครัวเรือน เป็นดังนี้ Yd = C + S  ดังนั้น การออม คือ S = Yd – (Ca + b Yd ) S = Yd – Ca – bYd สรุป สมการการออม คือ S = – Ca + (1 – b)Yd โดยที่ (1-b) คือ ค่าความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มใน การออม (Marginal Propensity to Save: MPS) ซึ่งคือ ค่าความชัน ของเส้นการออม หรือ Slope of S = ∆S/ ∆Yd  จากสมการ อาจกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการออม และรายได้เหมือนกับการบริโภค กล่าวคือ ระดับการออม เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับรายได้ที่ใช้จ่ายได้
  • 21. ตัวอย่าง จากสมการการบริโภค C = 100 + 0.75 Yd ในกรณีที่ผู้ บริโภคไม่มีรายได้ จะมีค่าใช้จ่ายในการบริโภคเท่าไร และถ้ามีรายได้เท่ากับ 10,000 บาท การบริโภคเป็น เท่าไร วิธีคำานวณ : ฟังก์ชันในการบริโภค คือ C = Ca + bYd สมการจากโจทย์ คือ C = 100 + 0.75Yd แทนค่า Yd = 0 , จะได้ C = 100 บาท แทนค่า Yd = 10,000 บาท, C = 7,600 บาท ดังนั้น การบริโภคเมื่อไม่มีรายได้จะเท่ากับ 100 บาท และ
  • 22. 3) ความโน้มเอียงเฉลี่ยและ ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มใน การบริโภคและการออมความโน้มเอียงเฉลี่ย (average propensity)  ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (average propensity to consume: APC) คือ อัตราส่วนระหว่างการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค และราย ได้ที่ใช้จ่ายได้จริง หาได้ดังนี้ APC = C / Yd  ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (average propensity to save: APS) คือ อัตราส่วนระหว่างการออมและรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง หาได้ดังนี้ APS = S / Yd ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS APC + APS = 1 นั่นคือ 0 < APC < 1 ; 0 < APS < 1 ถ้า APC = 0.75 แล้ว APS = 0.25
  • 23. ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่ม (Marginal propensity)  ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค (marginal propensity to consume: MPC) คือ การวัดค่าของการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของรายได้หาได้ดังนี้ MPC = ∆C / ∆Yd  ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม ( Marginal Propensity to Save: MPS) คือ การวัดค่าของการออมที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของรายได้ หาได้ดังนี้ ; MPS = ∆S / ∆Yd ความสมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS MPC + MPS = 1 0 < MPC < 1; 0 < MPS < 1 ถ้า MPC = 0.75 ; MPS = 0.25 หมายความว่า ทุก ๆ 1 บาท ของรายได้ที่สามารถใช้จ่ายได้ที่เพิ่มขึ้น จะนำาไปสู่การเพิ่ม ขึ้นของการออม 0.25 บาท
  • 25.
  • 26. จากรูปกราฟ เส้น 45° คือ Y = C หมายความว่า ทุก ๆ จุดบนเส้น 45° รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเท่ากับการบริโภค  การวิเคราะห์หาระดับรายได้และการบริโภคที่สุด Break – even point กำาหนดให้สมการบริโภค C = 100 + 0.75 Yd วิธีการวิเคราะห์ หา ณ ระดับ Break – even point : Yd = C , S = 0 Yd = C ดังนั้น C = Ca + bYd ( 1 ) แทนค่า C ใน  Yd = 100 + 0.75 Yd ( 2 ) Yd - 0.75 Yd = 100 Yd = 100 / 0.25 = 400 ล้านบาท ณ จุด Break – even point รายได้จะเท่ากับ 400 ล้านบาท และ ถ้าระดับรายได้ 400 ล้านบาท การบริโภคจะเป็นเท่าไร แทนค่าในสมการ (2) ; C = 100 + 0.75 Yd = 100 + 0.75 (400) = 400 ล้านบาท ณ ระดับรายได้ Break – even การบริโภคจะเท่ากับ 400 ล้าน บาท
  • 28. จากรูป 5-5 5.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภค (Change in the amount consumed) เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของรายได้ ซึ่งเป็นตัวกำาหนด โดยตรงของการบริโภค โดยที่ตัวกำาหนดอื่น ๆ อยู่คงที่ เป็นการเลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งบนเส้นการบริโภคเส้นเดิม จากจุด A ไปเป็น จุด B หรือ C ดังรูปที่ 5-5 (ก) 5.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภค (shift in consumption) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในตัว กำาหนดโดยอ้อม ทั้งๆ ที่ระดับรายได้ยังคงเดิม โดยเส้นการบริโภคทั้งเส้นเขยิบไปเป็นเส้นใหม่
  • 29. 2. การใช้จ่ายเพื่อ การลงทุน การลงทุน (Investment) หมายถึง  การใช้จ่ายที่ทำาให้เกิดการผลิตสินค้าและ บริการในอนาคตเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นการ พิจารณาการเพิ่มสินค้าประเภททุน  ดังนั้น การใช้จ่ายเพื่อการลงทุนประกอบ ด้วยรายจ่ายในการซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ต่างๆ รายจ่ายในการซื้อเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ในการผลิต และรายจ่ายในการ ผลิตสินค้าคงเหลือ
  • 30. 2. การใช้จ่ายเพื่อ การลงทุน 1) ปัจจัยที่กำาหนดการ ลงทุน 2) รูปแบบของการลงทุน 3) การเปลี่ยนแปลงการ
  • 31. 1) ปัจจัยที่ กำาหนดการลงทุน จากแนวคิดของเคนส์ ชี้ให้เห็นว่ารายได้ประชาชาติเป็น ปัจจัยสำาคัญที่สุดต่อการลงทุน และเป็นตัวกำาหนด โดยตรง ส่วนปัจจัยอื่นๆ เป็นตัวกำาหนดโดยอ้อม ซึ่งได้แก่ อัตราดอกเบี้ย ( I ) กำาไรที่คาดว่าจะได้รับ (I1) และความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (I2) เป็นต้น ดังนั้น ฟังก์ชันการลงทุน I = f (Y, I, I1 ……..In) และ I = f (Y) เมื่อให้ปัจจัยต่าง ๆ คงที่
  • 32. 2) รูปแบบของการ ลงทุนการพิจารณา การกำาหนดดุลยภาพของรายได้ ได้แบ่งการ ลงทุนเป็น 2 แบบ คือ การลงทุนแบบอิสระ และการลงทุนที่ วางแผนไว้ (1) การลงทุนแบบอิสระ(Autonomous investment : Ia) เป็นการลงทุนที่ไม่ขึ้นกับระดับรายได้ เส้นการลงทุนอิสระจะมี ลักษณะขนานกับแกนนอน ดังรูป ต่อไปนี้
  • 33. (2) การลงทุนที่วางแผนไว้ (planned investment; Ip) หรือ การลงทุนโดยจูงใจ (induce investment) เป็นการลงทุนที่ เปลี่ยนแปลงตามระดับรายได้ ดังนั้น เส้นการลงทุนแบบนี้จะมี ลักษณะเป็นเส้นตรง หรือโค้งที่ทอดขึ้นจากซ้ายไปขวา ดังรูปที 5-7 นี้ ดังนั้น สมการการลงทุนแบบจูงใจ หรือที่วางแผน คือ Ip = iY
  • 34. ดังนั้น การลงทุนทั้งสิ้นของระบบเศรษฐกิจ ในช่วงเวลาหนึ่ง จะ เท่ากับผลรวมของการลงทุนแบบอิสระกับการลงทุนแบบจูงใจ เขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการได้ดังนี้ สมการเงื่อนไขการลงทุนรวม; I = Ia + Ip หรือ I = Ia + iY โดยที่ I คือ การลงทุนรวม Ia คือ การลงทุนแบบอิสระ และ Ip คือ การลงทุนที่ วางแผนไว้ i คือ MPI (Marginal propensity to invest = ∆I / ∆Y) ถ้า MPI คงที่ทุกระดับของรายได้เส้นการลงทุนจะเป็นเส้นตรง เมื่อ สร้างกราฟการลงทุนรวมของระบบเศรษฐกิจ ได้ว่า
  • 36. จากรูป 5-9 การเปลี่ยนแปลงการลงทุน แบ่งได้เป็น 2 กรณี ดังนี้ (3.1) การเปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุน (change in to the amount invested) เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุนที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงในระดับรายได้ ส่วนตัวแปรอื่นๆ ของการลงทุน คงที่ การเปลี่ยนแปลงเป็นเพียงการย้าย จากจุด A ไปเป็นจุด B ดังรูปที่ 5-9 ( ก) (3.2) การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน (shift in investment) เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน ที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงตัวแปรอื่นๆ ที่ไม่ใช่รายได้ การเปลี่ยนแปลง เป็นการย้ายเส้นการลงทุน จากเส้น I ไปเป็นเส้น I1 หรือ I2 ดังรูปที่ 5-9 (ข)
  • 37. การวิเคราะห์การลงทุน จากโจทย์ที่กำาหนดให้ จงคำานวณหาการลงทุน ณ ระดับรายได้ (Y) 1,000 ล้านบาท โดยกำาหนดให้ MPI = 0.20 และถ้าการลงทุน อิสระ (Ia1) มีค่าเท่ากับ 500 ล้าน วิธีทำา สมการเงื่อนไข; I = Ia + iY ………………….(1) แทนค่าในสมการ ; I = 500 + 0.20 (1,000) ………(2) = 500 + 200 = 700 ณ รายได้ 1,000 ล้านบาท การลงทุนจะเท่ากับ 700 ล้านบาท ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงการลงทุนใหม่ (Ia1) เพิ่มขึ้นอีก 50 ล้านบาท ณ ทุกระดับรายได้ ให้คำานวณหาระดับการลงทุนใหม่ สมการการลงทุนใหม่ (Ia); Ia1 = 500 + 50 = 550 ล้านบาท แทนค่าใน(2) ; Ia1 = 550 ล้าน Ia1 = 550 + 0.20 (1,000) = 750 ล้านบาท ดังนั้น การลงทุนใหม่ ณ ระดับรายได้ 1,000 ล้านบาท การลงทุน เท่ากับ = 750 ล้านบาท
  • 38. 3. การใช้จ่ายของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาล ประกอบด้วย รายจ่ายเพื่อการ บริโภค เช่น เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าใช้สอยค่าวัสดุและ ครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น ค่าใช้จ่ายในการ ก่อสร้างสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ รายจ่าย ประเภทเงินโอน เช่น เงินบำาเหน็จ บำานาญที่จ่าย ให้ ข้าราชการเกษียณ เป็นต้น รายจ่ายประเภทเงินโอน นี้เป็นเพียงการโอนอำานาจซื้อจากภาครัฐไปยัง ประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มรายได้ ประชาชาติ จึงไม่นับรวมอยู่ในรายจ่ายประชาชาติ สิ่งที่นำามาพิจารณาการใช้จ่ายของรัฐบาล เพื่อกำาหนด ระดับดุลยภาพของรายได้ มีดังนี้ 1) ปัจจัยที่กำาหนดการใช้จ่ายของรัฐบาล 2) รูปแบบของการใช้จ่ายของรัฐบาล
  • 39. 1) ปัจจัยที่กำาหนดการใช้จ่าย ของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาลขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ ดังนี้ (1) รายรับของรัฐบาล (government revenue) (2) นโยบายการคลังของรัฐบาล (fiscal policy) แบ่งเป็น 2 แบบ คือ นโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal) รัฐใช้จ่ายมาก นโยบายการคลังแบบหดตัว (contractionary fiscal) รัฐ ใช้จ่ายน้อย
  • 40. 2) รูปแบบของการใช้จ่าย ของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นไปตามงบประมาณแผ่นดินใน แต่ละปีมี 3 รูปแบบ คือ งบประมาณสมดุล (Balanced budget) รายจ่ายเท่ากับ รายได้ งบประมาณเกินดุล (Surplus budget) รายจ่ายน้อย กว่ารายได้ งบประมาณขาดดุล (Deficit budget) รายจ่าย มากกว่ารายได้
  • 41. 3) เส้นรายจ่ายของรัฐบาล เนื่องจากการใช้จ่ายของรัฐบาล จะไม่ค่อยมีความสัมพันธ์ กับรายได้ ประชาชาติ ในช่วงเวลาเดียวกันแต่ขึ้นอยู่กับงบประมาณรายจ่าย ประจำาปี เส้นรายจ่ายจึงเป็นเส้นขนานกับแกนรายได้ ดังนั้น ถ้า รัฐบาลเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของรัฐบาล เช่น ถ้ารัฐเพิ่มการใช้ จ่าย หรือลดการใช้จ่ายเส้นการใช้จ่ายของรัฐบาลก็จะย้ายไปด้าน บน หรือด้านล่างของเส้นเดิม
  • 42. 4. การส่งออก สุทธิ 4.1) การส่งออก (Export; X) 4.2) การสั่งเข้า (Import; M)
  • 43. 1. การส่ง ออกการส่งออก (export: X) เป็นผลรวมของ มูลค่าสินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งผลิต ได้ และส่งไปจำาหน่ายยังอีกประเทศหนึ่ง ตลอดจนผลตอบแทนจากการลงทุนใน ต่างประเทศ สิ่งที่นำามาพิจารณาในเรื่องของการส่งออก คือ ปัจจัยที่กำาหนดการส่งออก และเส้น การส่งออก
  • 45. เส้นการส่งออก (export curve) จากปัจจัยที่กำาหนดการส่งออกเห็นได้ว่า ระดับรายได้ประชาชาติของ ประเทศผู้ส่งออก มิใช่ตัวกำาหนดโดยตรงของการส่งออก ดังนั้น เส้นการส่งออกจึงมีลักษณะเป็นเส้นขนานกับแกนรายได้ ประชาชาติ และถ้าประเทศผู้ส่งออกมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถนำามาใช้เพื่อลดต้นทุนในการผลิต และอาจทำาให้ราคา สินค้าส่งออกลดลง ปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้น เส้นการส่งออกจะ ย้ายไปข้างบนของเส้นเดิม เปลี่ยนจาก เส้น X ไปเส้น X1 ในทาง ตรงกันข้ามเส้น X เปลี่ยนเป็น X2 ดังรูปที่ 5-11
  • 46. 2) การสั่ง เข้า การสั่งเข้า (import: M) เป็นผลรวมของมูลค่า สินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งสั่งเข้ามาจากต่าง ประเทศ ตลอดจนผลตอบแทนจากการลงทุนที่ จ่ายให้แก่เจ้าของทุนในต่างประเทศ  ส่งที่นำามาพิจารณาในเรื่องของมูลค่าการสั่งเข้า คือ ปัจจัยที่กำาหนดการสั่งเข้า และเส้นการสั่งเข้า
  • 47. ปัจจัยที่กำาหนดการสั่งเข้า ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการนำาเข้าเป็นตัวแปรประเภทเดียว กับ การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของประชาชนภายในประเทศ และยังขึ้นอยู่กับตัวแปรอื่นๆ อีก เช่น ราคาและคุณภาพ ของสินค้าเข้า อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา และนโยบาย รัฐบาล พบว่ารายได้ประชาชาติจะส่งผลกระทบโดยตรง กับปริมาณการสั่งเข้าและยังเปลี่ยนแปลงไปตามรายได้ ประชาชาติอีกด้วย ความสัมพันธ์แสดงให้เห็นได้ ชัดเจน ดังสมการต่อไปนี้ สมการการสั่งเข้า ; M = Ma + mY โดยที่ M คือ มูลค่าของการสั่งเข้า และ Y คือ รายได้ ประชาชาติ Ma คือ การสั่งเข้าเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์ m คือ ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มของการสั่งเข้า (marginal propensity to import: MPM) หรือ ค่าของ MPM = ∆M / ∆Y หรือ slope ของเส้นการสั่งเข้า
  • 48. เส้นการสั่งเข้า (import curve) เนื่องจากมูลค่าของการสั่งเข้าจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับราย ได้ประชาชาติของประเทศผู้นำาเข้า ดังนั้น ลักษณะของเส้น การสั่งเข้าจึงทอดขึ้นไป ความชัน ก็คือ MPM มีค่าเป็นบวก ดังรูปด้านล่าง การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงมี 2 แบบ คือ การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า (move) และ การเปลี่ยนแปลงเส้นการสั่งเข้า (shift)
  • 49.
  • 50. จากรูป 5-13 การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า ลักษณะของการเปลี่ยนแปลง มี 2 แบบ คือ (1) การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า (Move) เป็นการเปลี่ยนแปลง ของรายได้ซึ่งเป็นตัวแปรโดยตรง ส่วนตัวแปรอื่นๆ อยู่คง เดิม เป็นการย้ายบนเส้นเดิม จากจุด A ไปยังจุด B ดังรูป ที่ 5 -13 (ก.) (2) การเปลี่ยนแปลงเส้นการสั่งเข้า (Shift) เป็นการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากตัวแปรโดยอ้อมตัวอื่น ๆ เปลี่ยนแปลง โดยที่รายได้อยู่คงเดิม เป็นการขยับเส้นการ สั่งเข้าให้สูงขึ้นหรือตำ่าลงกว่าเส้นเดิม ดังรูปที่ 5 –13 (ข.)
  • 51. สรุป สมการเงื่อนไขของการใช้จ่ายรวม TAE ทั้งหมดของระบบ เศรษฐกิจ  การบริโภค (C) = Ca + bYd  การลงทุน (I) = Ia + iY  รายจ่ายรัฐบาล (G) = Ga ; ภาษี (T) = Ta + tY ; เงินโอน (TR) = TRa  การส่งออก (X) = Xa  การนำาเข้า (M) = Ma + mY โดยที่ YD = Y – T + TR ดังนั้น สมการการใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจ คือ TAE = C + I + G + X – M
  • 52. 5.3 การวิเคราะห์หาระดับราย ได้หรือผลผลิตดุลยภาพ 5.3.1) ระดับรายได้หรือผลผลิต ดุลยภาพจากรายได้รวมเท่ากับ การใช้จ่ายรวม 5.3.2) ระดับรายได้หรือผลผลิต ดุลยภาพ จากการรั่วไหลเท่ากับ การอัดฉีด 5.3.3) ระดับรายได้ดุลยภาพ จาก
  • 53. 5.3.1) ระดับรายได้หรือ ผลผลิตดุลยภาพจากรายได้ รวมเท่ากับการใช้จ่ายรวมกรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีรัฐบาล สมการเงื่อนไขY = TAE …………………(1) เมื่อ TAE = C + I …………………….(2) (1)=(2) จะได้ Y = C + I สมการการบริโภค ; C = 25 + 0.75Yd , สมการการลงทุนอิสระ ; Ia = 50 ล้านบาท และ Y = Yd แทนค่า C , I ลงใน (1) = 25 + 0.75Yd + 50 เมื่อ Y = Yd ได้ว่า = 25 + 0.75Y + 50 (1-0.75) Y = 75 Y = 75 / 0.25 = 300 ล้านบาท ระดับรายได้หรือระดับการผลิตดุลยภาพเท่ากับ 300 ล้านบาท
  • 54.
  • 55. เส้น 45 องศา คือ เส้นที่แสดงถึงการใช้จ่ายรวม (TAE) เท่ากับ รายได้รวม ( Y) และระดับผลผลิตรวม (GNP) ดังนั้น ทุกๆ จุดบนเส้นนี้ Y = TAE
  • 56. กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบเปิด สมการส่งออก X = Xa สมการนำาเข้า M = Ma + mY สมการเงื่อนไขทั่วไป คือ Y = C + I +G + ( X – M ) โดยการกำาหนดสมการ C = 25+0.75Yd , Ia = 50, Ga = 25, T = 0 , TR =0 , Yd = Y-T+TR, X = 90, M = 15 + 0.1Y สมการเงื่อนไข ; Y = C + I + G + X – M แทนค่าในสมการ ; Y = 25 + 0.75Y + 50 +25 + [ 90 - (15+0.1Y)] = 25 +0.75Y +50 +25 + 90 – 15 – 0.1Y (1-0.75+0.1)Y = 175 0.35 Y = 175 Y = 175 / 0.35 = 500 รายได้ดุลยภาพมีค่าเท่ากับ 500 ล้าน หากต้องการทดสอบคำาตอบทำาได้โดย นำาค่า Y แทนค่าในสมการ C และ M นำาค่าที่ได้แทนค่าในสมการเงื่อนไข Y = C + I + G + (X-M) ตัวอย่าง แทนค่าสมการ; C = 25 +0.75(500) = 400 แทนค่าในสมการ; M = 15 – 0.1(500) = 65 แทนค่าในสมการ; Y = C + I + G + (X + M) = 400 + 50 +25 + 90 – 65 = 500
  • 57. 5.3.2) ระดับรายได้หรือ ผลผลิตดุลยภาพ จากการรั่ว ไหลเท่ากับการอัดฉีดการรั่วไหล (Leakages) เป็นรายได้ที่ไหลออกจากวงจรเศรษฐกิจ เช่น การออม การไหลออกของเงินทุนไปต่างประเทศ การเก็บภาษี ของรัฐบาล เป็นต้น การอัดฉีด (Injection) เป็นกระแสรายได้ที่ไหลเข้าสู่วงจร เศรษฐกิจ เช่น การลงทุนของ ภาคธุรกิจ การไหลเข้าของ เงินทุนต่างประเทศ และการใช้จ่ายของรัฐบาล เป็นต้น กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีรัฐบาล สมการรายได้เท่ากับการใช้จ่าย; Y = C + I …………….( 1 ) สมการรายได้ของครัวเรือน; Y = C + S ……………..( 2 ) จาก (2) จะได้ S = Y - C สมการ (1)=(2) ; C + I = C + S ดึง C ออกทั้ง 2 ด้าน ; I = S กำาหนดให้ การใช้จ่ายรวม (TAE) คือ
  • 58. จากสมการเงื่อนไข ; Y = C + S ………………..( 1 ) จาก (1) จะได้ S = Yd – C แทนค่า C ในสมการ ; S = Yd – 25 + 0.75 Yd S = -25 + 0.25Y โดยที่ Y = Yd สมการเงื่อนไขดุลยภาพ I = S ………………( 2 ) แทนค่าสมการ 50 = -25 + 0.25Y Y = 300 ล้านบาท แทนค่า Y ในสมการการออมเพื่อหาระดับการออมดุลยภาพ เมื่อ Ia = 50 , Y = 300 ล้านบาท S = -25 + 0.25 (300) S = 50 ล้านบาท ณ ระดับการลงทุนเท่ากับการออม คือ 50 ล้านบาท ระดับ
  • 59.
  • 60.
  • 61. กรณีโครงสร้างของเศรษฐกิจแบบเปิด การอัดฉีด คือ มูลค่าการส่งออก (X) และการรั่วไหล คือ มูลค่าการนำา เข้า (M) สมการเงื่อนไขดุลยภาพ ; S + T + M = I + G + X + TR กรณี TR = 0 S + T + M = I + G + X กำาหนดให้ C = 25 + 0.75Y หรือ S = - 25 + 0.25 Y, Ia = 50, Ga = 25, TR = 0, T = 0, X = 90, M = 15 + 0.1Y สมการเงื่อนไขดุลยภาพ ; S + M = I + G + X -25 + 0.25 Y + 15 + 0.1Y = 50 + 25 + 90 0.35Y = 165 + 10 = 175 Y = 175 / 0.35 = 500 ล้านบาท ระดับรายได้ดุลยภาพ เท่ากับ 500 ล้านบาท
  • 62. สรุป การวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพ ทั้ง 2 วิธี เคนส์ เชื่อว่าระบบเศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้ตามกลไก ราคา รัฐบาลต้องเข้ามามีบทบาทในการปรับตัวของระบบ เศรษฐกิจ และเชื่อว่าระดับรายได้ดุลยภาพไม่จำาเป็นต้อง เป็นระดับเดียวกับระดับรายได้ที่ก่อให้เกิดการจ้างงานเต็มที่ (full employment) คำานิยามของคำาว่า รายได้ดุลยภาพ (Equilibrium national income: YE) ได้ว่าเป็นระดับรายได้ที่อยู่ในระดับเดียวกับ การใช้จ่ายมวลรวม (TAE) หรือระดับการรั่วไหลเท่ากับ อัดฉีด ซึ่งเป็นระดับรายได้ที่ไม่เปลี่ยนแปลง และอยู่คงที่ ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของการใช้จ่ายรวมยังไม่ เปลี่ยนแปลง (C,I,G,X,M)
  • 63. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้หรือผลผลิตดุลยภาพ การวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพทั้ง 2 วิธี เป็นการพิจารณา โดยมีข้อสมมติว่าระดับราคาสินค้าคงที่ และเมื่อรายได้หรือ ผลผลิตเข้าสู่ดุลยภาพแล้วจะอยู่คงที่ตราบเท่าที่ตัวแปรของการ ใช้จ่ายรวม (TAE) ไม่เปลี่ยนแปลง กำาหนดให้ สมการการบริโภค คือ C = 25 + 0.75YD และ การ ลงทุนแบบอิสระ Ia = 50 ล้านบาท รายได้ดุลยภาพคือ 300 ล้านบาท ต่อมา การลงทุนแบบอิสระเพิ่มขึ้นอีก I = 25 ล้าน บาท ระดับรายได้ดุลยภาพเป็นเท่าใดเมื่อการลงทุนใหม่เท่ากับ 75 ล้านบาท สมการเงื่อนไข ; Y = C + I แทนค่า C ; และ Y=YD; = 25 + 0.75Y + 75 = 100 / 0.25 = 400 ล้าน ระดับรายได้ดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 300 ล้านบาท เป็น 400 ล้าน
  • 64.
  • 65. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการลงทุนแบบอิสระ (∆I) 25 ล้านบาท ส่งผลให้ ระดับรายได้ดุลยภาพเปลี่ยนจาก 300 ล้านไปเป็น 400 ล้าน แสดง ว่ารายได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (∆Y↑) 100 ล้าน หรือ คิดเป็น 4 เท่า ของการลงทุน นั่นคือ ตัวทวี หรือตัวคูณ (Multiplier: K)
  • 66. ตัวทวี (Multiplier: K) เห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของรายได้ดุลยภาพ (∆YE) > การ เปลี่ยนแปลงของ การใช้จ่ายรวม (∆TAE) เพราะค่าของตัว ทวี (K) 1. ความหมายของตัวทวี เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในการใช้จ่ายรวม (∆TAE เช่น C, I, G, X, M) ทั้งอิสระและที่ขึ้นอยู่กับรายได้จะส่งผลให้ ระดับ รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ ตัวทวี (K) สมการตัวทวี Y = K .(∆TAE) 2. การทำางานของตัวทวี ตัวอย่าง การลงทุนอิสระ (∆Ia) เพิ่มขึ้นอีก 25 ล้านบาท และ ค่า MPC = 0.75 กระบวนการทำางานของตัวทวี อธิบายได้ ดังนี้
  • 67.
  • 68. การเปลี่ยนแปลง I = 25 ล้านบาท ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเงินจำานวนนี้ จะถูกจัดสรรไปเป็นค่าก่อสร้างอาคารโรงงาน จัดซื้อเครื่องจักรและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต เป็นต้น เมื่อกระแสการใช้จ่ายเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจ กระแสของเงินจะหมุนไปเรื่อยๆ กระทั่งถึงงวด สุดท้ายรายได้จะเพิ่มขึ้นน้อยมากจนในที่สุดจะเท่ากับ ศูนย์ เมื่อเอา รายได้ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 100 ล้านคิดเป็น 4 เท่าของ I ที่เพิ่ม ขึ้น นั่นคือ ค่าตัวทวี (K) = 4 หรือหาได้จากสูตร ∆Y = K (∆Ia) จากตารางการทำางานของตัวทวี นำามาคำานวณค่า K ∆Y = 25 ( 1 + MPC + MPC2 + MPC3 +……MPCn ) ∆Y = 25 (1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 +……..0.75n) = 25 ( 1 / 1 – 0.75 ) = 25 x 4 = 100 ล้านบาท ดังนั้น K = 1 / 1 – MPC
  • 69. 5.3.3) ระดับรายได้ดุลยภาพ จากอุปสงค์มวลรวมและ อุปทานมวลรวม 1. อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand: AD) อุปสงค์มวลรวม (AD) หมายถึง ความต้องการการใช้จ่าย รวมของระบบเศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่ง โดยความ ต้องการใช้จ่ายรวมนี้จะมีความสัมพันธ์กับระดับราคา ในช่วงเวลาเดียวกัน กล่าวคือ ถ้าระดับราคาสูงขึ้น (P↑) ความต้องการใช้จ่ายรวมจะลดลง (AD↓) 1.1 เส้นอุปสงค์มวลรวม 1.2 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์มวลรวม
  • 70. 1.1 เส้นอุปสงค์มวลรวม TAE กับ AD จะมีความสัมพันธ์กันโดยผ่านตัวกำาหนดหรือตัวแปร เดียวกัน นั่นคือ รายได้ประชาชาติ ดังนั้น การสร้างเส้น AD จึง สามารถสร้างขึ้นได้จาก เส้น TAE ดังนี้ ระดับราคาเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก OP ไปเป็น OP1 การเปลี่ยนแปลง ของราคาส่งผลกระทบการใช้จ่ายรวม กล่าวคือ ความต้องการใช้
  • 72. จากรูป 5-18 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์มวลรวมมี 2 ลักษณะ คือ (1) การเคลื่อนย้ายอยู่บนเส้น AD เส้นเดิม (Move along the AD curve) เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้จ่ายรวม (TAE) คงที่ แต่ระดับราคาเปลี่ยนแปลง เป็นการย้าย จากจุด A ไปยังจุด B ส่งผลให้ระดับรายได้ดุลยภาพ เปลี่ยนแปลงด้วย (2) การเคลื่อนย้ายเส้น AD ไปเป็นเส้นใหม่ (Shift or change in AD curve) เกิดขึ้นเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายรวม (TAE) ขณะที่ระดับ ราคาสินค้าอยู่คงที่ เป็นการย้ายเส้น AD ไปเป็น เส้น AD1 ณ ระดับราคา OP
  • 73. 2. อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply: AS) เส้นอุปทานรวมระยะสั้น (Short-run AS ; SAS)
  • 77. 5.4.1) ภาวะเงินเฟ้อ หรือภาวะระดับราคา เฟ้อ (Inflation)คำาว่า “เงินเฟ้อ” เป็นสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวกับ ภาวะที่ระดับราคาสินค้า (Price Level) โดยทั่วไป เพิ่มสูง ขึ้นเรื่อย ๆ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง คำาว่า “ระดับราคา” (Price Level) หมายถึง ราคาของสินค้า และบริการทุกประเภทที่มีความจำาเป็นต่อการครองชีพ ของของประชาชนหรือผู้บริโภค ซึ่งระดับราคาเฟ้อโดย ทั่วไปสามารถดูได้จาก “ดัชนีราคา” (Price Index) ดัชนี ราคาที่นิยมใช้กัน คือ ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Level: CPI) สิ่งที่นำามาพิจารณาเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ คือ (1) ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ (2) สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
  • 78. (1) ขนาดของภาวะ เงินเฟ้อ (1) ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 2 ขนาด ดังนี้ (1.1) ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild -Inflation) เป็นภาวะเงินเฟ้อที่ ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่ว ไปค่อย ๆ สูงขึ้นประมาณ 1-5 แต่ไม่เกิน 20% (1-5 % อย่างอ่อน และ 5-20% ปานกลาง) ต่อปี ภาวะราคาเฟ้อแบบนี้เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศ (1.2) ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง (Hyper- Inflation) เป็นภาวะเงินเฟ้อที่ ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วๆ ไปสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและ เกิน 20% ต่อปี ภาวะราคาเฟ้อแบบนี้มักเกิดขึ้นในภาวะสงคราม หรือภาวะปกติก็ได้ ถ้ารัฐบาลไม่สามารถควบคุมปริมาณเงินที่ เข้าสู่กระแสเศรษฐกิจ หรือกรณีที่ปัจจัยการผลิตบางชนิดราคา สูงขึ้น เช่น ราคานำ้ามันในตลาดโลกสูงขึ้นย่อมส่งผลให้ เศรษฐกิจโดยรวมของโลกเกิดภาวะเงินเฟ้อได้ ภาวะราคาเฟ้อ กรณีนี้ สามารถทำาให้เศรษฐกิจของประเทศชะงักงัน (Stagflation)
  • 79. (2) สาเหตุของการเกิดภาวะ เงินเฟ้อ สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ ตามลักษณะที่ทำาให้เกิด ภาวะเงินเฟ้อ โดยแยกพิจารณาได้เป็น 2 ประเภท หลัก มีดังนี้ (2.1) เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์มวลรวม (Demand Pull Inflation) (2.2) ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันทางด้าน อุปทาน (Cost Push Inflation)
  • 80. (2.1) เงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ มวลรวม (Demand Pull Inflation) ภาวะเงินประเภทนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก อุปสงค์มวลรวมในระบบ เศรษฐกิจมีมากกว่าอุปทานมวลรวม หรือ ความต้องการใช้จ่าย ของประชาชนมีมากกว่าปริมาณผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจจะผลิต ได้ (AD>AS) สาเหตุการเกิดกรณีนี้ ทำาให้เส้น AD เขยิบขึ้นด้าน บนเรื่อยๆ ขณะที่เส้น AS คงเดิม ดังรูปด้านล่างนี้
  • 81. จากรูป 5-25 เมื่อเส้น AD ตัดกับเส้น AS ณ จุดดุลยภาพ E ระดับราคาดุลยภาพ คือ OP ผลผลิตดุลยภาพ คือ OY ต่อมา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เส้น AD ไปเป็นเส้น AD1 ขณะที่เส้น AS อยู่คงที่ และเส้น AS ขณะนั้นมีลักษณะทอดขึ้นไป ทำาให้เกิดดุลยภาพใหม่ที่จุด E1 ส่ง ผลให้ ระดับราคาและระดับผลผลิตเปลี่ยนไปเป็น OP1 และ OYF ตามลำาดับ เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงของระดับราคากรณีที่เส้น AS ทอดขึ้น เป็น ผลต่อดีต่อระบบเศรษฐกิจ เพราะทำาให้เกิดการขยายการผลิต การ จ้างงานเพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติดุลยภาพเพิ่มขึ้น การ เปลี่ยนแปลงของเส้น AD ในช่วงนี้ ขนาดภาวะเงินเฟ้อชนิดนี้เรียก ว่า Mild Inflation ต่อมา เส้น AD1 เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพิ่มขึ้น และเส้น อุปทานคงที่แต่ลักษณะของเส้นตั้งฉากกับแกนตั้ง จุดดุลยภาพ
  • 82. สรุปสาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์ อธิบายโดยย่อๆ ได้ ดังนี้ เมื่อ อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น ในขณะที่ระดับผลผลิตและระดับ รายได้ของประเทศไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้เนื่องจากอยู่ในสภาวะ การจ้างงานเต็มที่ ผู้ผลิตจึงถือโอกาสขึ้นราคาสินค้าสูงขึ้น ซึ่งจะ ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงของผู้บริโภคลดลง Inflation = AD > AS ⇒ Price Level ( P ) ⇑ ⇒ Real Income ⇓ สาเหตุที่สำาคัญของการเกิดภาวะเงินเฟ้อกรณีนี้ คือ 1. การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายรวม (TAE) 2. การเพิ่มของปริมาณเงิน (Money Supply) รายละเอียดศึกษาเรื่องการเงิน 3. รายได้จากต่างประเทศ เกิดขึ้นกรณีที่โครงสร้างเศรษฐกิจแบบเปิด และ การค้าระหว่างประเทศเกิดดุลการค้าเกินดุล ทำาให้รายได้เข้าประเทศ จำานวนมาก 4. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอุปสงค์มวลรวม (Structural change in AD) สาเหตุนี้ก็คืออุปสงค์มวลรวมไม่เพิ่มขึ้นแต่เงินเฟ้ออาจเกิดขึ้นได้ โดยโครงสร้างของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว จนราคาปัจจัยการผลิตไม่สามารถปรับตัวทันเนื่องจากสินค้าที่ อุปสงค์เพิ่มขึ้นจะมีราคาและค่าแรงสูง แต่สินค้าที่อุปสงค์ลดลงก็จะไม่ลด ราคา ดังนั้น ระดับราคาโดยทั่วไปจะค่อย ๆ สูงขึ้น
  • 83. (2.2) ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากแรงผลัก ดันทางด้านอุปทาน (Cost Push Inflation) เงินเฟ้อประเภทนี้เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เช่น ผู้ใช้ แรงงานรวมตัวกันเรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น หรือกลุ่มผู้ผลิตนำ้ามันรวม ตัวกันขึ้นราคานำ้ามัน ผู้ผลิตจึงจำาเป็นต้องลดปริมาณการผลิตลง หรืออาจผลิตเท่าเดิมแต่จะเพิ่มราคาสินค้าให้สูงขึ้น ดูจากรูปด้าน ล่าง
  • 84. จากรูป 5-26 เส้น AD ตัดกับเส้น AS ณ ระดับราคา OPF และผลผลิต OYF โดยการสมมติให้เป็นระดับผลผลิต ณ การจ้าง งานเต็มที่ ต่อมาสมมติให้ เส้น AS ลดลงเนื่องจาก ต้นทุนการผลิตเพิ่มโดยที่ เส้น AD ยังคงเดิม ราคา สินค้าจึงสูงขึ้นเป็น OP1 และผลผลิตลดลงเป็น OY1 และ ถ้าต้นทุนการผลิตยังเพิ่มขึ้นอีกเส้น AS จะลดลงอีกเป็น AS2 ราคาจะเพิ่มขึ้นเป็น OP2 ผลผลิตลดลงเป็น OY2 จะสังเกตเห็นว่า ถ้าอุปสงค์มวลรวมคงเดิม การลดลง ของอุปทานจะส่งผลให้ระดับราคาสูงขึ้นและระดับ ผลผลิตลดลง สรุป สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อทั้ง 3 สาเหตุ โดยมากไม่ ได้เกิดขึ้นจากสาเหตุเดียว แต่อาจจะเกิดขึ้นพร้อมกัน
  • 85. (3) ผลกระทบของการเกิด ภาวะเงินเฟ้อ เมื่อภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้น โดยที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วๆ ไปสูงขึ้น เรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทบเกิดผลกระทบต่อกลุ่มบุคคลต่างๆ ในแต่ละภาคเศรษฐกิจ ดังนี้ (3.1) กลุ่มประชาชนผู้บริโภค กรณีเกิดภาวะระดับราคาเฟ้อ หรือ ระดับราคาสูงขึ้น ทำาให้ผู้บริโภคเดือดร้อน เพราะรายได้ที่แท้จริง ลดลง หรืออำานาจซื้อลดลง โดยทำาให้ซื้อสินค้าได้น้อยลงในช่วง เกิดภาวะเงินเฟ้อ (3.2) กลุ่มผู้ให้กู้ หรือเจ้าหนี้ เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อ จะเสียผลเปรียบผู้ กู้หรือลูกหนี้ เพราะถ้าลูกหนี้นำาเงินมาคืนช่วงเกิดเงินเฟ้อ อำานาจ ซื้อของเงินที่คืนจะลดน้อยลงกว่าเดิม เนื่องจากซื้อสินค้าได้น้อย ลงกว่าตอนที่ให้กู้ (3.3) กลุ่มผู้มีรายได้ประจำา หรือรับค่าจ้างเป็นเงินเดือน ช่วงเกิด
  • 86. (4) การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ การแก้ไขอาจ ทำาได้ดังนี้ ก. เพิ่มระดับการผลิตให้เพียงพอต่อระดับความต้องการของผู้ บริโภค ซึ่งในทางปฏิบัติอาจทำาได้ยากหากภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้น ในช่วงที่เศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่ ข. นโยบายการเงิน โดยพยายามลดปริมาณเงินลง (รายละเอียด ของการลดปริมาณเงินสามารถศึกษาได้ในหัวข้อการเงินของบท ต่อไป) เครื่องมือที่รัฐนำามาใช้คือ  ขายหลักทรัพย์ให้กับประชาชนโดยรัฐบาล  เพิ่มอัตราเงินลดสำารองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์และ  เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง ค. นโยบายการคลัง การแก้ไขโดยการพยายามลดการใช้จ่าย รวม (TAE) ของประชาชนลง เครื่องมือที่รัฐบาลนำามาใช้ คือ  การเก็บภาษีจากประชาชนเพิ่มขึ้นหรือ 
  • 87. 5.4.2) ภาวะเงินฝืด (Deflation) ภาวะเงินฝืด เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง หรือเกิดจากอุปสงค์มวลรวม (AD) มีน้อยกว่า อุปทานมวลรวม (AS) โดยในช่วงที่เกิดภาวะเงินฝืดปริมาณเงิน ในระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณผลผลิตที่ผลิตได้เกิดภาวะ สินค้าล้นตลาด ขายไม่หมด หน่วยธุรกิจจึงต้องปรับตัวโดยการ ลดราคาสินค้าลง และลดการผลิต จึงเกิดสภาวะการว่างงาน เศรษฐกิจตกตำ่าตามมา Deflation = AD < AS  Price Level (P) ↓  Investment ( I ) ↓  Unemployment ↑  Depression period ↓ สาเหตุของการเกิดภาวะเงินฝืด อาจเนื่องมาจากสาเหตุต่อไปนี้ 1. ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่น ๆ ให้เงินกู้ หรือ ปล่อยสินเชื่อแก่ประชาชนน้อยเกินไป ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของระบบเศรษฐกิจ หรือปริมาณเงินมีน้อยเกินไป 2. รัฐบาลใช้งบประมาณเกินดุล
  • 88. ผลกระทบของภาวะเงินฝืด ภาวะเงินฝืดจะส่งผลให้อำานาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น เมื่อราคาสินค้าลดลง ผู้ ที่เสียเปรียบหรือเสียผลประโยชน์ คือ ผู้กู้ยืมเงินหรือลูกหนี้ และผู้ที่มีรายได้ จากการขายสินค้าและจากกำาไร ได้แก่ พ่อค้า นักธุรกิจ เป็นต้น การแก้ไขภาวะเงินฝืด มีดังนี้ 1. พยายามลดระดับการผลิตสินค้าและบริการลง ซึ่งอาจทำาให้เกิดปัญหา การว่างงานอย่างรุนแรงตามมา 2. นโยบายการเงิน โดยเพิ่มปริมาณเงิน เครื่องมือทางการเงินที่นำามาใช้ ได้แก่ ซื้อหลักทรัพย์คืนจากประชาชน ลดอัตราเงินลดสำารองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์ และ ลดอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง 3. นโยบายการคลัง แก้ไขโดยการเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลหรือลดภาษี เครื่องมือทางการคลังที่รัฐบาลนำามาใช้ ได้แก่ การเก็บภาษีจากประชาชนลดลง และ ใช้งบประมาณแผ่นดินแบบขาดดุล โดยการเก็บภาษีน้อยลง และในขณะเดียวกัน ก็พยายามเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลให้มากขึ้น เพื่อ