SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
ภารกิจที่ 1
   ให้ทานวิเคราะห์วิธการจัดการ
         ่           ี
เรียนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยูใน
                           ่
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ใดและมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ
เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมอธิบายเหตุผล
 กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ของครูบุญมี คือ
การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะครูบุญมี
เน้นการถ่ายทอด
เนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยตรง นักเรียนมีหน้า
ที่ในการรับความรู้
จากครูเพียงฝ่ายเดียว ให้นักเรียนจดจำา
เนื้อหาจากสิงที่ครูสอน
            ่
 การจัดการเรียนรู้ของครูบุญมีมีพนฐาน
                                   ื้
มาจาก
“ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม” เพราะมุ่ง
เน้นการออกแบบ
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาความรูให้ได้
                                 ้
ในปริมาณมากที่สด   ุ
     บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ
ข้อมูลสารสนเทศ
     บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอ
ข้อมูลสารสนเทศ
 กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ของครูบุญช่วย คือ
      การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพราะ
ครูบุญช่วยจะสร้างสื่อต่างๆ และมีกิจกรรม
ที่ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรูด้วยตนเอง
                               ้
จากสื่อการเรียนรู้ที่ครูบุญช่วยจัดทำาให้
 การจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยมีมีพื้นฐาน
มาจาก
“ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์”
      ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือ การสร้าง
ความรู้ซงมาจากพืนฐานที่วาการเรียนรู้จะเกิด
          ึ่         ้         ่
ขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งแทนความรู้ในความ
จำาในระยะทำางานอย่างตื่นตัว และอาศัยการ
เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของนักเรียน
บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้ลงมือกระทำา
อย่างตื่นตัว
     บทบาทของครู เป็นผู้แนะแนวทาง
พุทธิปัญญา ซึงจะจัดแนะแนวและเป็น
             ่
โมเดลในภารกิจการเรียนตามสภาพจริง
      เช่น การแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้ว
มอบสถานการณ์
ปัญหาหรือภารกิจการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุก ๆ
กลุ่ม และครู
เป็นผู้ให้คำาแนะนำา หากพบว่ามีผู้เรียนคนใด
ะบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครูบุญช่วย ค
นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะ ครูเป็นผู้ถายทอดและสร้า
                                   ่
คต่างๆไปสูผู้เรียน โดยนักเรียนไม่ได้สร้างขึนมาเอง
           ่                               ้
 การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชูมีพื้นฐานมา
จาก
“ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม” เพราะผู้เรียนมี
สิงที่เรียนรู้เพิมขึ้น สามารถจัดรวบรวมสิงที่
  ่              ่                      ่
เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพือสามารถ
                                   ่
เรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ ผู้เรียน
สามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจำาระยะ
ยาว
บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ
สารสนเทศ
    บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูล
สารสนเทศ

     เช่น การที่ครูบญชูมีเทคนิคที่น่าสนใจ
                    ุ
ให้นักเรียนจดจำาได้ง่าย ได้แก่ การแต่งเป็น
บทเพลง การใช้คำาคล้องจอง
การใช้แผนภูมิรปภาพประกอบเนื้อหาที่
                 ู
ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจ
ภารกิจที่ 2
   วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละคนมี
ข้อดีและข้อเด่นอย่างไร
ข้อดี                ข้อเด่น
• การมีสื่อประกอบการ   • ครูจะมีการใช้การ
สอน เช่น บทเรียน       บรรยายในการสอน
โปรแกรมและชุดการ       • หากมีเนื้อหาที่สำาคัญ
สอน                    จะเน้นยำ้าให้นักเรียนจด
• มีการสอบเก็บคะแนน    บันทึกและท่องซำ้า
ถ้านักเรียนสอบตกก็จะ   • ครูจะให้นักเรียนท่อง
ให้สอบใหม่จนกว่าจะ     คำาศัพท์วันละ 5 คำา
ผ่านตามเกณฑ์
ข้อดี                      ข้อเด่น
• ให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบ      • ครูมีการเชือมโยงเนื้อหา
                                           ่
และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ    ที่เรียนกับประสบการณ์
แลกเปลี่ยนประสบการณ์          เดิมของผู้เรียน เช่น การ
การลงมือทดลองเพื่อ            ใช้คำาถาม การยกตัวอย่าง
ทดสอบแนวคิดของกลุ่ม           เหตุการณ์ในชีวตประจำาวัน
                                              ิ
โดยมีครู                      ข่าวสารต่าง ๆ
เป็นผู้ให้คำาแนะนำา           เป็นต้น
• ครูมีการเตรียมแหล่งการ      • หลังจากได้คำาตอบแล้ว
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ   ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอ
วีดิทัศน์ เว็บไซต์ที่         แนวคิดความ และร่วมกับ
ข้อดี                          ข้อเด่น
• ครูสอนให้นักเรียนจำาคำา       • ครูมีเทคนิคต่างๆ เช่น การ
ศัพท์ภาษาอังกฤษได้โดยไม่        แต่งเป็นบทเพลง การใช้คำา
ลืม                             คล้องจอง การใช้แผนภูมิ
• ครูมีการเชือมโยง
             ่                  รูปภาพประกอบเนื้อหาที่
ประสบการณ์เดิมที่ผเรียนรู้จัก
                   ู้           ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจถึง
มาช่วยในการจดจำาคำาศัพท์        ความสัมพันธ์ระหว่างองค์
                                ประกอบ ในการจดจำา
                                • การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์
                                          ู้
                                โดยใช้การออกเสียงภาษา
                                อังกฤษที่เหมือนกับภาษา
ภารกิจที่ 3
    วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ
ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาก
ทีสุด เพราะเหตุใด
  ่
วิธีการจัดการเรียนรู้ของ “ครูบุญช่วย” สอดคล้องก
 าชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่ส
 เพราะ เป็นการจัดการเรียนรูที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักย
                            ้
ผู้เรียนเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างความ
นากระบวนการคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้น
ตนเอง โดยอาศัยแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
เช่น การที่ครูบุญช่วยเตรียมแหล่งการเรียน
  รู้ต่างๆให้กับ
นักเรียน ไม่วาจะเป็น หนังสือ วีดิทัศน์
               ่
  เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ
เพือให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบและร่วมมือกัน
   ่
  เรียนรู้มีการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลอง
  เพือทดสอบแนวคิด
      ่
ของกลุ่ม โดยมีครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หลัง
ห้องเรียนที่ 2
ภารกิจที่ 1
   ให้ทานวิเคราะห์ปัญหาทีเกิดขึ้น
       ่                 ่
ว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง
จากตัวครู
• ครูผู้สอนไม่สามารถสร้างปัญหาทาง
  คณิตศาสตร์ให้นักเรียนรับรู้ได้วาเป็นปัญหาของ
                                  ่
  ตนเอง จึงทำาให้นกเรียนรู้สกว่าเป็นวิชาที่ไม่มี
                     ั       ึ
  ความจำาเป็นต้องเรียน
• ครูมงเน้นการสอนให้นกเรียนอย่างเดียวแล้ว
      ุ้                  ั
  นักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล โดยครูไม่จัดกระบวนการ
  แก้ปัญหาเป็นกลุ่มหรือจัดการเรียนรู้ที่นักเรียน
  สามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาได้ด้วยตนเอง
• ครูไม่มีเทคนิคการสอนโดยไม่มีการเชื่อมโยง
  เนือหาให้เข้ากับชีวิตประจำาวันทำาให้
     ้
  คณิตศาสตร์ดเป็นวิชาที่ยากและห่างไกลจาก
                 ู
  ชีวิตจริง
• การที่ครูยึดติดต่อคำาถามที่ต้องการคำาตอบที่ถูก
  ผิด โดยไม่มีการตั้งคำาถามปลายเปิดที่ทำาให้
  นักเรียนรู้สกว่าตนเองควรมีส่วนร่วมกับการตอบ
              ึ
  คำาถาม
จากตัว
  นักเรียน
• นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ เช่น
                           ี
  การที่นกเรียนบ่นว่าวิชาคณิตศาสตร์ "เรียนก็
          ั
  ยาก สูตรก็เยอะ "
• นักเรียนไม่เห็นความสำาคัญของวิชาคณิตศาสตร์
  เช่น นักเรียนพูดว่า “ไม่รู้จะเรียนไปทำาไม ไม่
  เห็นได้นำาไปใช้เลย”
• นักเรียนไม่มีแรงจูงใจที่จะมีความกระตือรือร้นใน
  การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ จึงทำาให้คิดว่ายาก
  และทำาไม่ได้
ภารกิจที่ 2
  วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียนรู้
และการออกแบบการสอนที่
สามารถแก้ปัญหาได้
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สามารถนำามาใช้แก้
  ปัญหา คือ “ทฤษฎีของคอนสตรัคติวิสต์”
  เพราะ

• เป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จึงทำาให้
  นักเรียนได้ลงมือปฏิบติ และเข้าถึงปัญหาทาง
                        ั
  คณิตศาสตร์ได้ดี ได้แก้ปัญหาด้วยตนเอง จะ
  ทำาให้ได้เห็นความสำาคัญและเข้าใจในเนื้อหาได้
• เป็นการที่เชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์
  เดิม ทำาให้นกเรียนได้รู้วามีความเกี่ยวเนืองกัน
                ั          ่               ่
  และเห็นความสำาคัญยิ่งขึ้น
การออกแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหา
  ได้ คือ

• ครูเป็นผู้ผลิตสื่อต่างๆที่ใช้ในการประกอบการ
  สอน ไม่ว่าจะเป็น วีดิทัศน์ สไลด์ คอมพิวเตอร์
  ช่วยสอน และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น
• ในห้องเรียนครูจะเป็นผู้ชแนะปัญหาให้นักเรียน
                             ี้
  และการสอนจะไม่ใช่การบรรยายเพียงอย่าง
  เดียว มีสอประกอบและสิงที่น่าสนใจด้วย
            ื่                  ่
• ครูผู้สอนจะต้องมีเทคนิคการสอนที่นาสนใจ มี
                                       ่
ภารกิจที่ 3
  ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่
สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถแก้
  ปัญหาดังกล่าวได้

 การสร้างสถานการณ์ปัญหาขึ้นมาเพื่อให้
 นักเรียนได้ลงมือปฏิบติ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
                     ั
 และแสวงหาคำาตอบด้วยตนเอง

 จัดกลุ่มการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้ร่วมกันแก้
 ปัญหาเป็นกลุ่มจะได้เห็นถึงปัญหาที่แท้จริงร่วม
 กัน และร่วมมือกันแก้ปัญหานันๆได้
                               ้
 ผลิตสื่อที่มาประกอบการเรียนรู้ของนักเรียน
 เพือให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น และรู้สกว่า
    ่                                       ึ
 คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนมากยิ่งขึ้น

 การตั้งคำาถามแบบปลายเปิดเพื่อให้นักเรียนได้
 แสดงแนวคิดของตนเองที่ไม่มีว่าถูกผิด เด็กจะ
 ได้รู้สกว่าคณิตศาสตร์อยู่ใกล้ตัว และค้นหาได้
        ึ
บรรณานุกร
     ม
   เอกสารประกอบ
การเรียนรู้ รายวิชา
นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการ
เรียนรู้ 241 203
รายชื่อ
 สมาชิก
1. นางสาวณัฐธิดา     นามบุดดี
   543050018-1
2. นางสาวสุรรตน์
            ี ั  สุมาลัย
   543050074-1
3. นางสาวพรชนก       เทียมทัด
   543050358-7
      คณิตศาสตรศึกษา ชันปีที่ 2
                       ้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...Jirathorn Buenglee
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นFern's Phatchariwan
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1sinarack
 

La actualidad más candente (16)

งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...ทฤษฎี  แนวคิด  เทคนิค  และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊ก...
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
Learning Style
Learning StyleLearning Style
Learning Style
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 

Destacado

Jeopardy review
Jeopardy reviewJeopardy review
Jeopardy reviewPat Martin
 
Spring soccer 2012 sharks
Spring soccer 2012 sharksSpring soccer 2012 sharks
Spring soccer 2012 sharkscjhejny
 
Jeopardy review
Jeopardy reviewJeopardy review
Jeopardy reviewPat Martin
 
Communityhelpers
CommunityhelpersCommunityhelpers
CommunityhelpersPat Martin
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
Calendar for 2012
Calendar for 2012Calendar for 2012
Calendar for 2012jbdhiman
 
Editpasswordgame
EditpasswordgameEditpasswordgame
EditpasswordgamePat Martin
 
ნატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვებინატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვებიlelaratiani
 
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013Azul Systems Inc.
 

Destacado (13)

Jeopardy review
Jeopardy reviewJeopardy review
Jeopardy review
 
Communities
CommunitiesCommunities
Communities
 
Spring soccer 2012 sharks
Spring soccer 2012 sharksSpring soccer 2012 sharks
Spring soccer 2012 sharks
 
Presentación rai
Presentación raiPresentación rai
Presentación rai
 
Jeopardy review
Jeopardy reviewJeopardy review
Jeopardy review
 
Environmental enemy
Environmental enemyEnvironmental enemy
Environmental enemy
 
Communityhelpers
CommunityhelpersCommunityhelpers
Communityhelpers
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Calendar for 2012
Calendar for 2012Calendar for 2012
Calendar for 2012
 
Editpasswordgame
EditpasswordgameEditpasswordgame
Editpasswordgame
 
ნატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვებინატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვები
 
What's Inside a JVM?
What's Inside a JVM?What's Inside a JVM?
What's Inside a JVM?
 
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013
How NOT to Measure Latency, Gil Tene, London, Oct. 2013
 

Similar a ระดับครผู้ช่วย

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 

Similar a ระดับครผู้ช่วย (20)

ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 

ระดับครผู้ช่วย

  • 1.
  • 2.
  • 3. ภารกิจที่ 1 ให้ทานวิเคราะห์วิธการจัดการ ่ ี เรียนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยูใน ่ กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ใดและมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 4.  กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ของครูบุญมี คือ การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะครูบุญมี เน้นการถ่ายทอด เนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยตรง นักเรียนมีหน้า ที่ในการรับความรู้ จากครูเพียงฝ่ายเดียว ให้นักเรียนจดจำา เนื้อหาจากสิงที่ครูสอน ่
  • 5.  การจัดการเรียนรู้ของครูบุญมีมีพนฐาน ื้ มาจาก “ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม” เพราะมุ่ง เน้นการออกแบบ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาความรูให้ได้ ้ ในปริมาณมากที่สด ุ บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ ข้อมูลสารสนเทศ บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอ ข้อมูลสารสนเทศ
  • 6.  กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ของครูบุญช่วย คือ การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพราะ ครูบุญช่วยจะสร้างสื่อต่างๆ และมีกิจกรรม ที่ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรูด้วยตนเอง ้ จากสื่อการเรียนรู้ที่ครูบุญช่วยจัดทำาให้
  • 7.  การจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยมีมีพื้นฐาน มาจาก “ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์” ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือ การสร้าง ความรู้ซงมาจากพืนฐานที่วาการเรียนรู้จะเกิด ึ่ ้ ่ ขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งแทนความรู้ในความ จำาในระยะทำางานอย่างตื่นตัว และอาศัยการ เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของนักเรียน
  • 8. บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้ลงมือกระทำา อย่างตื่นตัว บทบาทของครู เป็นผู้แนะแนวทาง พุทธิปัญญา ซึงจะจัดแนะแนวและเป็น ่ โมเดลในภารกิจการเรียนตามสภาพจริง เช่น การแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้ว มอบสถานการณ์ ปัญหาหรือภารกิจการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุก ๆ กลุ่ม และครู เป็นผู้ให้คำาแนะนำา หากพบว่ามีผู้เรียนคนใด
  • 9. ะบวนทัศน์การออกแบบการสอนของครูบุญช่วย ค นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะ ครูเป็นผู้ถายทอดและสร้า ่ คต่างๆไปสูผู้เรียน โดยนักเรียนไม่ได้สร้างขึนมาเอง ่ ้
  • 10.  การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชูมีพื้นฐานมา จาก “ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม” เพราะผู้เรียนมี สิงที่เรียนรู้เพิมขึ้น สามารถจัดรวบรวมสิงที่ ่ ่ ่ เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพือสามารถ ่ เรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ ผู้เรียน สามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจำาระยะ ยาว
  • 11. บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ สารสนเทศ บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูล สารสนเทศ เช่น การที่ครูบญชูมีเทคนิคที่น่าสนใจ ุ ให้นักเรียนจดจำาได้ง่าย ได้แก่ การแต่งเป็น บทเพลง การใช้คำาคล้องจอง การใช้แผนภูมิรปภาพประกอบเนื้อหาที่ ู ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจ
  • 12. ภารกิจที่ 2 วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละคนมี ข้อดีและข้อเด่นอย่างไร
  • 13. ข้อดี ข้อเด่น • การมีสื่อประกอบการ • ครูจะมีการใช้การ สอน เช่น บทเรียน บรรยายในการสอน โปรแกรมและชุดการ • หากมีเนื้อหาที่สำาคัญ สอน จะเน้นยำ้าให้นักเรียนจด • มีการสอบเก็บคะแนน บันทึกและท่องซำ้า ถ้านักเรียนสอบตกก็จะ • ครูจะให้นักเรียนท่อง ให้สอบใหม่จนกว่าจะ คำาศัพท์วันละ 5 คำา ผ่านตามเกณฑ์
  • 14. ข้อดี ข้อเด่น • ให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบ • ครูมีการเชือมโยงเนื้อหา ่ และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ ที่เรียนกับประสบการณ์ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เดิมของผู้เรียน เช่น การ การลงมือทดลองเพื่อ ใช้คำาถาม การยกตัวอย่าง ทดสอบแนวคิดของกลุ่ม เหตุการณ์ในชีวตประจำาวัน ิ โดยมีครู ข่าวสารต่าง ๆ เป็นผู้ให้คำาแนะนำา เป็นต้น • ครูมีการเตรียมแหล่งการ • หลังจากได้คำาตอบแล้ว เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอ วีดิทัศน์ เว็บไซต์ที่ แนวคิดความ และร่วมกับ
  • 15. ข้อดี ข้อเด่น • ครูสอนให้นักเรียนจำาคำา • ครูมีเทคนิคต่างๆ เช่น การ ศัพท์ภาษาอังกฤษได้โดยไม่ แต่งเป็นบทเพลง การใช้คำา ลืม คล้องจอง การใช้แผนภูมิ • ครูมีการเชือมโยง ่ รูปภาพประกอบเนื้อหาที่ ประสบการณ์เดิมที่ผเรียนรู้จัก ู้ ต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจถึง มาช่วยในการจดจำาคำาศัพท์ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ ประกอบ ในการจดจำา • การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์ ู้ โดยใช้การออกเสียงภาษา อังกฤษที่เหมือนกับภาษา
  • 16. ภารกิจที่ 3 วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาก ทีสุด เพราะเหตุใด ่
  • 17. วิธีการจัดการเรียนรู้ของ “ครูบุญช่วย” สอดคล้องก าชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่ส เพราะ เป็นการจัดการเรียนรูที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักย ้ ผู้เรียนเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างความ นากระบวนการคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้น ตนเอง โดยอาศัยแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
  • 18. เช่น การที่ครูบุญช่วยเตรียมแหล่งการเรียน รู้ต่างๆให้กับ นักเรียน ไม่วาจะเป็น หนังสือ วีดิทัศน์ ่ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ เพือให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบและร่วมมือกัน ่ เรียนรู้มีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลอง เพือทดสอบแนวคิด ่ ของกลุ่ม โดยมีครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หลัง
  • 20. ภารกิจที่ 1 ให้ทานวิเคราะห์ปัญหาทีเกิดขึ้น ่ ่ ว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง
  • 21. จากตัวครู • ครูผู้สอนไม่สามารถสร้างปัญหาทาง คณิตศาสตร์ให้นักเรียนรับรู้ได้วาเป็นปัญหาของ ่ ตนเอง จึงทำาให้นกเรียนรู้สกว่าเป็นวิชาที่ไม่มี ั ึ ความจำาเป็นต้องเรียน • ครูมงเน้นการสอนให้นกเรียนอย่างเดียวแล้ว ุ้ ั นักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล โดยครูไม่จัดกระบวนการ แก้ปัญหาเป็นกลุ่มหรือจัดการเรียนรู้ที่นักเรียน สามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาได้ด้วยตนเอง
  • 22. • ครูไม่มีเทคนิคการสอนโดยไม่มีการเชื่อมโยง เนือหาให้เข้ากับชีวิตประจำาวันทำาให้ ้ คณิตศาสตร์ดเป็นวิชาที่ยากและห่างไกลจาก ู ชีวิตจริง • การที่ครูยึดติดต่อคำาถามที่ต้องการคำาตอบที่ถูก ผิด โดยไม่มีการตั้งคำาถามปลายเปิดที่ทำาให้ นักเรียนรู้สกว่าตนเองควรมีส่วนร่วมกับการตอบ ึ คำาถาม
  • 23. จากตัว นักเรียน • นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ เช่น ี การที่นกเรียนบ่นว่าวิชาคณิตศาสตร์ "เรียนก็ ั ยาก สูตรก็เยอะ " • นักเรียนไม่เห็นความสำาคัญของวิชาคณิตศาสตร์ เช่น นักเรียนพูดว่า “ไม่รู้จะเรียนไปทำาไม ไม่ เห็นได้นำาไปใช้เลย” • นักเรียนไม่มีแรงจูงใจที่จะมีความกระตือรือร้นใน การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ จึงทำาให้คิดว่ายาก และทำาไม่ได้
  • 24. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการสอนที่ สามารถแก้ปัญหาได้
  • 25. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สามารถนำามาใช้แก้ ปัญหา คือ “ทฤษฎีของคอนสตรัคติวิสต์” เพราะ • เป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จึงทำาให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบติ และเข้าถึงปัญหาทาง ั คณิตศาสตร์ได้ดี ได้แก้ปัญหาด้วยตนเอง จะ ทำาให้ได้เห็นความสำาคัญและเข้าใจในเนื้อหาได้ • เป็นการที่เชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์ เดิม ทำาให้นกเรียนได้รู้วามีความเกี่ยวเนืองกัน ั ่ ่ และเห็นความสำาคัญยิ่งขึ้น
  • 26. การออกแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหา ได้ คือ • ครูเป็นผู้ผลิตสื่อต่างๆที่ใช้ในการประกอบการ สอน ไม่ว่าจะเป็น วีดิทัศน์ สไลด์ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น • ในห้องเรียนครูจะเป็นผู้ชแนะปัญหาให้นักเรียน ี้ และการสอนจะไม่ใช่การบรรยายเพียงอย่าง เดียว มีสอประกอบและสิงที่น่าสนใจด้วย ื่ ่ • ครูผู้สอนจะต้องมีเทคนิคการสอนที่นาสนใจ มี ่
  • 27. ภารกิจที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้
  • 28. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถแก้ ปัญหาดังกล่าวได้  การสร้างสถานการณ์ปัญหาขึ้นมาเพื่อให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบติ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ั และแสวงหาคำาตอบด้วยตนเอง  จัดกลุ่มการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้ร่วมกันแก้ ปัญหาเป็นกลุ่มจะได้เห็นถึงปัญหาที่แท้จริงร่วม กัน และร่วมมือกันแก้ปัญหานันๆได้ ้
  • 29.  ผลิตสื่อที่มาประกอบการเรียนรู้ของนักเรียน เพือให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น และรู้สกว่า ่ ึ คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนมากยิ่งขึ้น  การตั้งคำาถามแบบปลายเปิดเพื่อให้นักเรียนได้ แสดงแนวคิดของตนเองที่ไม่มีว่าถูกผิด เด็กจะ ได้รู้สกว่าคณิตศาสตร์อยู่ใกล้ตัว และค้นหาได้ ึ
  • 30. บรรณานุกร ม เอกสารประกอบ การเรียนรู้ รายวิชา นวัตกรรมและ เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการ เรียนรู้ 241 203
  • 31. รายชื่อ สมาชิก 1. นางสาวณัฐธิดา นามบุดดี 543050018-1 2. นางสาวสุรรตน์ ี ั สุมาลัย 543050074-1 3. นางสาวพรชนก เทียมทัด 543050358-7 คณิตศาสตรศึกษา ชันปีที่ 2 ้