SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward
Design
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานช่าง ๑ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔
ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ งานไม้เบื้องต้น
๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความสำาคัญของงานไม้ ๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือ
หลีกเลี่ยง
๒.โครงสร้างของไม้ ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้
๓.การจำาแนกชนิดของไม้ ๘.เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน
๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ ๙.เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้
๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ๑๐. เบื้องต้นของ
การนำาไม้มาต่อกันและการนำา
ไม้
มาเข้ากัน
ผัง (Big Idea)
48
งานไม้
เบื้องต้น
เบื้องต้นของการนำา
ไม้มาต่อกันและ
การนำาไม้มาเข้ากัน
ความสำาคัญของ
งานไม้
การเลือกไม้ที่มี
คุณภาพและ
เหมาะสม
โครงสร้างของไม้
การจำาแนกชนิด
ของไม้
ชนิดของไม้ที่
นิยมใช้
ตำาหนิของไม้ที่ไม่
ควร
ซื้อหรือหลีกเลี่ยง
ผลิตภัณฑ์จากไม้
เครื่องมือช่างไม้
ประจำาบ้าน
เครื่องมือกลที่ใช้
ในงานไม้
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. เป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความเข้าใจที่คงทน
งานช่างในบ้านที่มีความสำาคัญอันหนึ่งก็คือ งานช่างไม้ เพราะ
ภายในบ้านจะต้องมีโต๊ะ เก้าอี้ ตู้
เตียง และอื่นๆ หากว่าอุปกรณ์ดังกล่าวเกิดชำารุด พัง หรือเสียหายขึ้น
มาก็ควรที่จะดูแลซ่อมแซมแก้ไขได้
เป็นการพึ่งพาตนเองและลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว ซึ่งงานไม้ที่
สำาคัญควรศึกษา ได้แก่ ชนิดของไม้
การเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิ เครื่องมือช่างไม้ การเลื่อยไม้ การต่อไม้
และการเข้าไม้ เป็นต้น
๒.จิตพิสัย
๑)การมีความสุขในการเรียนรู้
๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
๑)ความสามารถในการสื่อสาร
๒)ความสามารถในการคิด
๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา
49
๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒)ซื่อสัตย์สุจริต
๓)มีวินัย
๔)ใฝ่เรียนรู้
๕)อยู่อย่างพอเพียง
๖)มุ่งมั่นในการทำางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘)มีจิตสาธารณะ
๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
๑)อธิบายความสำาคัญของงานไม้ได้
๒)บอกโครงสร้างของไม้ได้
๓)จำาแนกไม้แต่ละชนิดได้
๔)เลือกต้นไม้ที่นิยมใช้กับงานไม้ได้
๕)เลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสมได้
๖)บอกวิธีการเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิได้
๗) บอกผลิตภัณฑ์จากงานไม้ได้
๘)ใช้เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้านได้
๙) ซ่อมแซมเครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้านได้
๑๐) ปฏิบัติงานเครื่องมือกลที่ใช้สำาหรับงานไม้ได้
๑๑) ปฏิบัติงานต่อไม้และงานเข้าไม้ได้ถูกต้อง
๑๒) ซ่อมแซมโต๊ะเก้าอี้ที่อยู่ในห้องเรียนได้
๖.ทักษะคร่อมวิชา
๑)การเขียนรายงาน ความสำาคัญของงานไม้
๒) การนำาเสนอซ่อมแซมเครื่องมือช่างไม้
ประจำาบ้าน
๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม มีกระบวนการ
ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน
50
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
วิชา งานช่าง ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ งานไม้เบื้องต้น
เวลา ๔ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
ความสำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของ
ไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้
ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง
ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่องมือช่างไม้
ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของการนำาไม้มาต่อ
กันและการนำาไม้มาเข้ากัน
๒.สาระสำาคัญ
งานช่างในบ้านที่มีความสำาคัญอันหนึ่งก็คือ งานช่างไม้ เพราะ
ภายในบ้านจะต้องมีโต๊ะ เก้าอี้ ตู้
เตียง และอื่นๆ หากว่าอุปกรณ์ดังกล่าวเกิดชำารุด พัง หรือเสียหายขึ้น
มาก็ควรที่จะดูแลซ่อมแซมแก้ไขได้
เป็นการพึ่งพาตนเองและลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว ซึ่งงานไม้ที่
สำาคัญควรศึกษา ได้แก่ ชนิดของไม้
การเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิ เครื่องมือช่างไม้ การเลื่อยไม้ การต่อไม้
และการเข้าไม้ เป็นต้น
๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
51
๑. ความสำาคัญของงานไม้ ๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือ
หลีกเลี่ยง
๒.โครงสร้างของไม้ ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้
๓.การจำาแนกชนิดของไม้ ๘.เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน
๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ ๙.เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้
๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ๑๐. เบื้องต้นของ
การนำาไม้มาต่อกันและการนำา
ไม้
มาเข้ากัน
๕.จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ ความ
เข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๑. อธิบายความ
สำาคัญของ
งานไม้ได้
๒.บอกโครงสร้างของ
ไม้ได้
๓.จำาแนกไม้แต่ละ
ชนิดได้
๔.อธิบายขั้นตอนการ
เลือกต้นไม้ที่นิยม
ใช้กับงานไม้ได้
๕.อธิบายขั้นตอนการ
เลือกไม้
ที่มีคุณภาพและ
เหมาะสมได้
๖.บอกวิธีการเลือกซื้อ
ไม้ที่ไม่มีตำาหนิได้
๗. บอก
ผลิตภัณฑ์จากงาน
ไม้ได้
๘. อธิบายขั้น
๑.รู้จักความสำาคัญของ
งานไม้
๒.สามารถบอก
โครงสร้างของไม้ได้
๓.สามารถจำาแนกไม้
แต่ละชนิดได้
๔.สามารถเลือกต้นไม้ที่
นิยมใช้กับงานไม้ได้
๕.สามารถเลือกไม้ที่มี
คุณภาพและเหมาะ
สมได้
๖.สามารถบอกวิธีการ
เลือกซื้อไม้ที่ไม่มี
ตำาหนิได้
๗. สามารถ
บอกผลิตภัณฑ์จาก
งานไม้ได้
๘.สามารถใช้เครื่องมือ
ช่างไม้ประจำาบ้าน
ได้
๑. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒.ซื่อสัตย์สุจริต
๓.มีวินัย
๔.ใฝ่เรียนรู้
๕.อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการ
ทำางาน
๗. รัก
ความเป็นไทย
๘.มีจิตสาธารณะ
52
ตอนการใช้เครื่องมือ
ช่างไม้ประจำาบ้าน
ได้
๙. อธิบายขั้น
ตอนการซ่อมแซม
เครื่องมือช่างไม้
ประจำาบ้านได้
๑๐. อธิบายขั้น
ตอนการปฏิบัติ
งานเครื่องมือกลที่
ใช้ สำาหรับงานไม้
ได้
๑๑. อธิบายขั้น
ตอนการปฏิบัติ
งานต่อไม้และงาน
เข้าไม้ได้ถูกต้อง
๑๒. อธิบายขั้น
ตอนการซ่อมแซม
โต๊ะเก้าอี้ที่อยู่ใน
ห้องเรียนได้
๙. สามารถ
ซ่อมแซมเครื่องมือ
ช่างไม้ประจำาบ้านได้
๑๐. สามารถ
ปฏิบัติงานเครื่องมือ
กลที่ใช้สำาหรับงาน
ไม้ได้
๑๑. สามารถ
ปฏิบัติงานต่อไม้
และงานเข้าไม้ได้
ถูกต้อง
๑๒. สามารถ
ซ่อมแซมโต๊ะเก้าอี้
ที่อยู่ในห้องเรียนได้
๖.การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)แบบทดสอบ
๓)ใบงาน
๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.วิธีวัดผล
๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)ตรวจแบบทดสอบ
53
๓)ตรวจใบงาน
๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑)สำาหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน
เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ
คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
๒)การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบ
เกินร้อยละ ๕๐
๓)การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๔)การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ต้อง
ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕)การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖)การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น
อยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำาแบบทดสอบ
๒. ผลการทำาใบงาน
๘.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูทบทวนเรื่อง งานสีเบื้องต้น ที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
ขั้นสอน
54
๒)ครูอธิบายเนื้อหาสาระสำาคัญ เรื่อง ความสำาคัญของงานไม้
โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิด
ของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะ
สม จากหนังสือเรียนรายวิชา
พื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์
๓)ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถามกับ
นักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้
เรื่อง ความสำาคัญของงานไม้
โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้
การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและ
เหมาะสม จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร
ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี
คุณครูคอยให้คำาแนะนำา นำาผลงานที่ได้มาร่วมกันอภิปราย
วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ
๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง ความสำาคัญ
ของงานไม้ โครงสร้างของไม้
การจำาแนกชนิดของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มี
คุณภาพและเหมาะสม เพื่อให้
เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้
- ใบงานที่ ๔.๑ - ใ บ
งานที่ ๔.๓
- ใบงานที่ ๔.๒ - ใ บ
งานที่ ๔.๔
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
55
๘) ครูทบทวนเรื่อง ความ
สำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของไม้
ชนิดของไม้
ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม
ขั้นสอน
๙) ครูอธิบายเรื่อง ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง
ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน
เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของการนำาไม้มาต่อกันและ
การนำาไม้มาเข้ากัน
๑๐) ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถาม
กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
๑๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้า เรื่อง
ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่อง
มือช่างไม้ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของ
การนำาไม้
มาต่อกันและการนำาไม้มาเข้ากัน จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้น
ฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร ผู้รู้
อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครูคอยให้คำาแนะนำา นำาผลงานที่ได้
มาร่วมกันอภิปรายวิเคราะห์
ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๒)ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ
๑๓)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง งานไม้เบื้องต้น
เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต
สมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑๔)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้
- ใบงานที่ ๔.๕ - ใบงานที่
๔.๑๐
- ใบงานที่ ๔.๖ - ใบงานที่
๔.๑๑
- ใบงานที่ ๔.๗ - ใบงานที่
๔.๑๒
- ใบงานที่ ๔.๘ - ใบงานที่
๔.๑๓
- ใบงานที่ ๔.๙ - ใบงานที่
๔.๑๔
๑๕)ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔
56
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม
พันธ์
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม
พันธ์
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน
รายงาน ทักษะการนำาเสนอรายงาน
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. เหตุผลใดที่ทำาให้ไม้ไปเกี่ยวข้องกับงานเครื่องมือกล
๒.โครงสร้างของไม้ชนิดใดเป็นแนวต่อไม้ที่เกิดขึ้นมาในแต่ละปี
๓.ชนิดของไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
๔. ลักษณะของไม้สักมีลักษณะอย่างไร
๕. ขนาดหน้าตัดของไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
๖. ตำาหนิของไม้ที่ควรหลีกเลี่ยงคืออะไร
๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
๘.เครื่องมือที่ใช้ในงานช่างไม้ทั่วไปมีอะไรบ้าง
๙.ลักษณะเด่นของค้อนหงอนคืออะไร
๑๐.เลื่อยมีกี่ชนิด มีหน้าที่อย่างไร
๑๑.เลื่อยมีวิธีการดูแลรักษาอย่างไร
๑๒.กบในงานไม้มีหน้าที่อย่างไรและกบมีกี่ชนิด
๑๓.สิ่วคืออะไร มีกี่ชนิด
๑๔.ฉากคืออะไร มีกี่ชนิด
๑๕.ตลับเมตรคืออะไร มีหน้าที่อย่างไร
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำาตอบที่ถูกต้อง
๑. หน้าที่ของขอขีด คืออะไร
ก. วัดระยะเป็นเมตร ข. ใช้ขีดเส้นหรือตรวจสอบขนาด
ชิ้นงาน
ค. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานอย่างเดียวง. วัดระยะเป็นนิ้ว
57
๒.การนำาไม้มาต่อกันเรียกว่าอะไร
ก. การบากไม้ ข. การชนไม้
ค. การเข้าไม้ ง. การต่อไม้
๓.การเข้าไม้ คืออะไร
ก. นำาไม้มาเข้ากัน ข. นำาไม้มาเสริมกัน
ค. นำาไม้มาต่อกัน ง. ทำาไม้ให้สั้นลง
๔. การเพลาะไม้ คืออะไร
ก. ต่อไม้ให้หน้ากว้างมากขึ้น ข. เข้าไม้ให้หน้ากว้างมากขึ้น
ค. ต่อไม้ให้หนามากขึ้น ง. เข้าไม้ให้หนามากขึ้น
๕. ข้อใดไม่ใช่เป็นการต่อไม้เพื่อรับแรงดึง
ก. การบากไม้ชนิดมีขอเกี่ยว ข. การต่อไม้แบบปากกา
ค. การต่อชนไม้ ง. การต่อไม้แบบปากฉลาม
๖. ข้อใดไม่ใช่เป็นการต่อไม้เพื่อใช้รับแรงกด
ก. การต่อไม้ที่ใช้เดือย ข. การต่อไม้แบบบากตรง
ค. การต่อชนไม้ ง. การต่อไม้ที่ใช้เหล็กดามไว้
๗. การเข้าไม้ในข้อใดเป็นชนิดที่แข็งแรงมากที่สุด
ก. การต่อชนไม้ ข. การต่อชนไม้แบบเฉ
ค. การบากไม้แบบเฉ ง. การเข้าบากไม้
๘.ค้อนชนิดใดที่นิยมใช้กันทั่วไป คือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓ นิ้ว
และมีนำ้าหนัก ๑๒ ออนซ์
ก. ค้อนช่างไฟฟ้า ข. ค้อนหงอน
ค. ค้อนทองเหลือง ง. ค้อนไม้
๙.ข้อใดไม่ใช่เหตุผลหลักของการนำาค้อนไปใช้งาน
ก. ใช้ค้อนตอกสิ่ว ข. ใช้ค้อนไม้เคาะปรับแต่งใบกบ
ค. ใช้ค้อนตอกเลื่อยลันดา ง. ใช้ค้อนปรับแต่งชิ้นงาน
๑๐. เลื่อยชนิดใดเหมาะสำาหรับตัดซอยไม้ยาวๆ
ก. เลื่อยวงเดือนชนิดมือถือ ข. เลื่อยลอ
ค. เลื่อยฉลุ ง. เลื่อยลันดา
๑๑. เลื่อยชนิดใดที่ช่างไม้ใช้บ่อยที่สุด
ก. เลื่อยลอ ข. เลื่อยฉลุ
ค. เลื่อยวงเดือน ง. เลื่อยลันดา
๑๒. ลักษณะเด่นของกบไม้ คือข้อใด
ก. ทำาจากไม้เนื้อแกร่งขนาด ๑.๒๕ x ๗ นิ้ว
58
ข.ทำาจากไม้ชิงชันขนาด ๒ x ๗ นิ้ว
ค. ใบกบทำามาจากโลหะขนาด ๑.๒๕ x ๙ นิ้ว
ง. ทำาจากไม้ชิงชันขนาด ๑.๒๕ x ๙ นิ้ว
๑๓. ลักษณะเด่นของสิ่วปากบาง คือข้อใด
ก. ใบสิ่วเป็นขอบใบเฉียง มีความหนามากกว่าสิ่วเจาะเดือย
ข.เป็นสิ่วที่โค้งคล้ายกับเล็บมือ
ค. ใบสิ่วเป็นขอบเฉียง มีความหนาน้อยกว่าสิ่วเจาะเดือย
ง. ใบสิ่วจะหนามีคมตัดเป็นมุมฉาก
๑๔. ลักษณะเด่นของฉากเป็น คืออะไร
ก. ใบฉากทำาด้วยโลหะทำามุม ๙๐ องศา
ข.ทำามาจากพลาสติกแข็งปรับมุมได้
ค. มีขนาด ๖ นิ้ว
ง. ทำามาจากพลาสติกอ่อนปรับมุมได้
๑๕. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของฉากตาย
ก. อัดมุมได้ ๒ มุม คือ ๔๕ องศากับ ๙๐ องศา
ข.ใบฉากทำาด้วยโลหะ
ค. ใบฉากทำาด้วยพลาสติกสามารถปรับมุมได้
ง. นิยมใช้ฉากขนาด ๑๐ นิ้ว
๑๖. ไม้ที่นิยมใช้ในงานไม้ คือข้อใด
ก. ไม้มะเกลือ ข. ไม้ยาง
ค. ไม้ประดู่ ง. ไม้ตะเคียน
๑๗. ข้อใดคือหน้าตัดไม้ที่มีหน้าตัดเป็นนิ้ว ความยาวเป็นเมตร
ก. ๑ x ๑.๕ นิ้ว ข. ๑ x ๑.๒๕ นิ้ว
ค. ๑.๕ x ๑.๕ นิ้ว ง. ๑.๕ x ๓ นิ้ว
๑๘. ข้อใดไม่ใช่ความหนาของไม้อัด
ก. ๕ มิลลิเมตร ข. ๖ มิลลิเมตร
ค. ๘ มิลลิเมตร ง. ๑๐ มิลลิเมตร
๑๙. ข้อใดกล่าวถูกต้องในเรื่องของการจับค้อนตีชิ้นงาน
ก. ควรจับใกล้กับหัวค้อน
ข.ควรจับใกล้กับด้ามค้อน
ค. จับพอประมาณ ๑/๓ ของความยาวค้อน
ง. จับพอประมาณ ๑/๒ ของความยาวค้อน
59
๒๐. เลื่อยชนิดใดมีลักษณะคล้ายเลื่อยสันแข็ง โดยฟันเลื่อยมีทั้ง
หยาบและละเอียด
ก. เลื่อยลันดา ข. เลื่อยฉลุไฟฟ้า
ค. เลื่อยลอ ง. เลื่อยวงเดือน
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือ
มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความด้านซ้ายมือ
ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน
๑. ................ คีมตัด ก. เหล็กส่ง
๒................. เครื่องมือประกอบการตอกตะปู
ข. เครื่องเจาะแท่น
๓................. ปากกาไม้ ค. สว่านไฟฟ้า
๔. ................ สิ่วเจาะเดือย ง. แม่แรงมี
ความกว้างของปาก ๒๔ นิ้วขึ้นไป
๕. ................ สิ่วปากบาง จ. ความกว้าง
ของปากไม่เกิน ๑๒ นิ้ว
๖. ................ สิ่วเล็บมือ ฉ. ตัดตะปูและ
ลวด
๗. ................ แม่แรงยาว ช. ขอขีด
๘................. เจาะเนื้อไม้เพื่อฝังสกรู ซ .
มีใบสิ่วที่โค้งใช้เจาะเซาะและเฉือน
๙................. สว่านแทน ฌ. มีใบสิ่วเป็น
ขอบใบเฉียงใบสิ่วบาง
๑๐. ................ หมั่นสับปลายหมุดให้แหลมอยู่
เสมอ ญ. ใบสิ่วหนาและคมตัดเป็นมุมฉาก
60
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
61
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(..................................
.............)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................................
(......................
......................................)
62

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
teerachon
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
Utsani Yotwilai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
Ummara Kijruangsri
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
teerachon
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
อำนาจ ศรีทิม
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
Rapheephan Phola
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
beauntp
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 

What's hot (20)

หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Viewers also liked (9)

งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to แผนการเรียนรู้งานช่าง 4

การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
pannee
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
thkitiya
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3
pannee
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
Theyok Tanya
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
Theyok Tanya
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
Theyok Tanya
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
Theyok Tanya
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
heemaa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Meaw Sukee
 
ครูเปี๊ยก
ครูเปี๊ยกครูเปี๊ยก
ครูเปี๊ยก
krupeak
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
nook868640
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
nook868640
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
Pum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
Pum Pep
 

Similar to แผนการเรียนรู้งานช่าง 4 (20)

K13
K13K13
K13
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
 
ใบงานท 13-16
ใบงานท  13-16ใบงานท  13-16
ใบงานท 13-16
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
ใบงานที่14 16
ใบงานที่14 16ใบงานที่14 16
ใบงานที่14 16
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
ครูเปี๊ยก
ครูเปี๊ยกครูเปี๊ยก
ครูเปี๊ยก
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 

แผนการเรียนรู้งานช่าง 4

  • 1. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานช่าง ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ งานไม้เบื้องต้น ๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความสำาคัญของงานไม้ ๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือ หลีกเลี่ยง ๒.โครงสร้างของไม้ ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้ ๓.การจำาแนกชนิดของไม้ ๘.เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน ๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ ๙.เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ ๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ๑๐. เบื้องต้นของ การนำาไม้มาต่อกันและการนำา ไม้ มาเข้ากัน ผัง (Big Idea) 48 งานไม้ เบื้องต้น เบื้องต้นของการนำา ไม้มาต่อกันและ การนำาไม้มาเข้ากัน ความสำาคัญของ งานไม้ การเลือกไม้ที่มี คุณภาพและ เหมาะสม โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิด ของไม้ ชนิดของไม้ที่ นิยมใช้ ตำาหนิของไม้ที่ไม่ ควร ซื้อหรือหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่องมือช่างไม้ ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ ในงานไม้
  • 2. ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความเข้าใจที่คงทน งานช่างในบ้านที่มีความสำาคัญอันหนึ่งก็คือ งานช่างไม้ เพราะ ภายในบ้านจะต้องมีโต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตียง และอื่นๆ หากว่าอุปกรณ์ดังกล่าวเกิดชำารุด พัง หรือเสียหายขึ้น มาก็ควรที่จะดูแลซ่อมแซมแก้ไขได้ เป็นการพึ่งพาตนเองและลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว ซึ่งงานไม้ที่ สำาคัญควรศึกษา ได้แก่ ชนิดของไม้ การเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิ เครื่องมือช่างไม้ การเลื่อยไม้ การต่อไม้ และการเข้าไม้ เป็นต้น ๒.จิตพิสัย ๑)การมีความสุขในการเรียนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน ๑)ความสามารถในการสื่อสาร ๒)ความสามารถในการคิด ๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา 49
  • 3. ๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินัย ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑)อธิบายความสำาคัญของงานไม้ได้ ๒)บอกโครงสร้างของไม้ได้ ๓)จำาแนกไม้แต่ละชนิดได้ ๔)เลือกต้นไม้ที่นิยมใช้กับงานไม้ได้ ๕)เลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสมได้ ๖)บอกวิธีการเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิได้ ๗) บอกผลิตภัณฑ์จากงานไม้ได้ ๘)ใช้เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้านได้ ๙) ซ่อมแซมเครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้านได้ ๑๐) ปฏิบัติงานเครื่องมือกลที่ใช้สำาหรับงานไม้ได้ ๑๑) ปฏิบัติงานต่อไม้และงานเข้าไม้ได้ถูกต้อง ๑๒) ซ่อมแซมโต๊ะเก้าอี้ที่อยู่ในห้องเรียนได้ ๖.ทักษะคร่อมวิชา ๑)การเขียนรายงาน ความสำาคัญของงานไม้ ๒) การนำาเสนอซ่อมแซมเครื่องมือช่างไม้ ประจำาบ้าน ๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม มีกระบวนการ ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน 50
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ งานไม้เบื้องต้น เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ความสำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของ ไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่องมือช่างไม้ ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของการนำาไม้มาต่อ กันและการนำาไม้มาเข้ากัน ๒.สาระสำาคัญ งานช่างในบ้านที่มีความสำาคัญอันหนึ่งก็คือ งานช่างไม้ เพราะ ภายในบ้านจะต้องมีโต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตียง และอื่นๆ หากว่าอุปกรณ์ดังกล่าวเกิดชำารุด พัง หรือเสียหายขึ้น มาก็ควรที่จะดูแลซ่อมแซมแก้ไขได้ เป็นการพึ่งพาตนเองและลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัว ซึ่งงานไม้ที่ สำาคัญควรศึกษา ได้แก่ ชนิดของไม้ การเลือกซื้อไม้ที่ไม่มีตำาหนิ เครื่องมือช่างไม้ การเลื่อยไม้ การต่อไม้ และการเข้าไม้ เป็นต้น ๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ 51
  • 5. ๑. ความสำาคัญของงานไม้ ๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือ หลีกเลี่ยง ๒.โครงสร้างของไม้ ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้ ๓.การจำาแนกชนิดของไม้ ๘.เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน ๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ ๙.เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ ๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ๑๐. เบื้องต้นของ การนำาไม้มาต่อกันและการนำา ไม้ มาเข้ากัน ๕.จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ ความ เข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๑. อธิบายความ สำาคัญของ งานไม้ได้ ๒.บอกโครงสร้างของ ไม้ได้ ๓.จำาแนกไม้แต่ละ ชนิดได้ ๔.อธิบายขั้นตอนการ เลือกต้นไม้ที่นิยม ใช้กับงานไม้ได้ ๕.อธิบายขั้นตอนการ เลือกไม้ ที่มีคุณภาพและ เหมาะสมได้ ๖.บอกวิธีการเลือกซื้อ ไม้ที่ไม่มีตำาหนิได้ ๗. บอก ผลิตภัณฑ์จากงาน ไม้ได้ ๘. อธิบายขั้น ๑.รู้จักความสำาคัญของ งานไม้ ๒.สามารถบอก โครงสร้างของไม้ได้ ๓.สามารถจำาแนกไม้ แต่ละชนิดได้ ๔.สามารถเลือกต้นไม้ที่ นิยมใช้กับงานไม้ได้ ๕.สามารถเลือกไม้ที่มี คุณภาพและเหมาะ สมได้ ๖.สามารถบอกวิธีการ เลือกซื้อไม้ที่ไม่มี ตำาหนิได้ ๗. สามารถ บอกผลิตภัณฑ์จาก งานไม้ได้ ๘.สามารถใช้เครื่องมือ ช่างไม้ประจำาบ้าน ได้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๓.มีวินัย ๔.ใฝ่เรียนรู้ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการ ทำางาน ๗. รัก ความเป็นไทย ๘.มีจิตสาธารณะ 52
  • 6. ตอนการใช้เครื่องมือ ช่างไม้ประจำาบ้าน ได้ ๙. อธิบายขั้น ตอนการซ่อมแซม เครื่องมือช่างไม้ ประจำาบ้านได้ ๑๐. อธิบายขั้น ตอนการปฏิบัติ งานเครื่องมือกลที่ ใช้ สำาหรับงานไม้ ได้ ๑๑. อธิบายขั้น ตอนการปฏิบัติ งานต่อไม้และงาน เข้าไม้ได้ถูกต้อง ๑๒. อธิบายขั้น ตอนการซ่อมแซม โต๊ะเก้าอี้ที่อยู่ใน ห้องเรียนได้ ๙. สามารถ ซ่อมแซมเครื่องมือ ช่างไม้ประจำาบ้านได้ ๑๐. สามารถ ปฏิบัติงานเครื่องมือ กลที่ใช้สำาหรับงาน ไม้ได้ ๑๑. สามารถ ปฏิบัติงานต่อไม้ และงานเข้าไม้ได้ ถูกต้อง ๑๒. สามารถ ซ่อมแซมโต๊ะเก้าอี้ ที่อยู่ในห้องเรียนได้ ๖.การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)แบบทดสอบ ๓)ใบงาน ๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.วิธีวัดผล ๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)ตรวจแบบทดสอบ 53
  • 7. ๓)ตรวจใบงาน ๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑)สำาหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒)การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบ เกินร้อยละ ๕๐ ๓)การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ ประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔)การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ต้อง ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕)การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖)การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น อยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบ ๒. ผลการทำาใบงาน ๘.กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูทบทวนเรื่อง งานสีเบื้องต้น ที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว ขั้นสอน 54
  • 8. ๒)ครูอธิบายเนื้อหาสาระสำาคัญ เรื่อง ความสำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิด ของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะ สม จากหนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓)ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถามกับ นักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ ๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เรื่อง ความสำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและ เหมาะสม จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี คุณครูคอยให้คำาแนะนำา นำาผลงานที่ได้มาร่วมกันอภิปราย วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ ๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง ความสำาคัญ ของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของไม้ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มี คุณภาพและเหมาะสม เพื่อให้ เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้ - ใบงานที่ ๔.๑ - ใ บ งานที่ ๔.๓ - ใบงานที่ ๔.๒ - ใ บ งานที่ ๔.๔ ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 55
  • 9. ๘) ครูทบทวนเรื่อง ความ สำาคัญของงานไม้ โครงสร้างของไม้ การจำาแนกชนิดของไม้ ชนิดของไม้ ที่นิยมใช้ การเลือกไม้ที่มีคุณภาพและเหมาะสม ขั้นสอน ๙) ครูอธิบายเรื่อง ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่องมือช่างไม้ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของการนำาไม้มาต่อกันและ การนำาไม้มาเข้ากัน ๑๐) ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถาม กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ ๑๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้า เรื่อง ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อหรือหลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์จากไม้ เครื่อง มือช่างไม้ประจำาบ้าน เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไม้ เบื้องต้นของ การนำาไม้ มาต่อกันและการนำาไม้มาเข้ากัน จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้น ฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครูคอยให้คำาแนะนำา นำาผลงานที่ได้ มาร่วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒)ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ ๑๓)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง งานไม้เบื้องต้น เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต สมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๔)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้ - ใบงานที่ ๔.๕ - ใบงานที่ ๔.๑๐ - ใบงานที่ ๔.๖ - ใบงานที่ ๔.๑๑ - ใบงานที่ ๔.๗ - ใบงานที่ ๔.๑๒ - ใบงานที่ ๔.๘ - ใบงานที่ ๔.๑๓ - ใบงานที่ ๔.๙ - ใบงานที่ ๔.๑๔ ๑๕)ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ 56
  • 10. ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม พันธ์ ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม พันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน รายงาน ทักษะการนำาเสนอรายงาน คำาชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. เหตุผลใดที่ทำาให้ไม้ไปเกี่ยวข้องกับงานเครื่องมือกล ๒.โครงสร้างของไม้ชนิดใดเป็นแนวต่อไม้ที่เกิดขึ้นมาในแต่ละปี ๓.ชนิดของไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ๔. ลักษณะของไม้สักมีลักษณะอย่างไร ๕. ขนาดหน้าตัดของไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ๖. ตำาหนิของไม้ที่ควรหลีกเลี่ยงคืออะไร ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ๘.เครื่องมือที่ใช้ในงานช่างไม้ทั่วไปมีอะไรบ้าง ๙.ลักษณะเด่นของค้อนหงอนคืออะไร ๑๐.เลื่อยมีกี่ชนิด มีหน้าที่อย่างไร ๑๑.เลื่อยมีวิธีการดูแลรักษาอย่างไร ๑๒.กบในงานไม้มีหน้าที่อย่างไรและกบมีกี่ชนิด ๑๓.สิ่วคืออะไร มีกี่ชนิด ๑๔.ฉากคืออะไร มีกี่ชนิด ๑๕.ตลับเมตรคืออะไร มีหน้าที่อย่างไร คำาชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำาตอบที่ถูกต้อง ๑. หน้าที่ของขอขีด คืออะไร ก. วัดระยะเป็นเมตร ข. ใช้ขีดเส้นหรือตรวจสอบขนาด ชิ้นงาน ค. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานอย่างเดียวง. วัดระยะเป็นนิ้ว 57
  • 11. ๒.การนำาไม้มาต่อกันเรียกว่าอะไร ก. การบากไม้ ข. การชนไม้ ค. การเข้าไม้ ง. การต่อไม้ ๓.การเข้าไม้ คืออะไร ก. นำาไม้มาเข้ากัน ข. นำาไม้มาเสริมกัน ค. นำาไม้มาต่อกัน ง. ทำาไม้ให้สั้นลง ๔. การเพลาะไม้ คืออะไร ก. ต่อไม้ให้หน้ากว้างมากขึ้น ข. เข้าไม้ให้หน้ากว้างมากขึ้น ค. ต่อไม้ให้หนามากขึ้น ง. เข้าไม้ให้หนามากขึ้น ๕. ข้อใดไม่ใช่เป็นการต่อไม้เพื่อรับแรงดึง ก. การบากไม้ชนิดมีขอเกี่ยว ข. การต่อไม้แบบปากกา ค. การต่อชนไม้ ง. การต่อไม้แบบปากฉลาม ๖. ข้อใดไม่ใช่เป็นการต่อไม้เพื่อใช้รับแรงกด ก. การต่อไม้ที่ใช้เดือย ข. การต่อไม้แบบบากตรง ค. การต่อชนไม้ ง. การต่อไม้ที่ใช้เหล็กดามไว้ ๗. การเข้าไม้ในข้อใดเป็นชนิดที่แข็งแรงมากที่สุด ก. การต่อชนไม้ ข. การต่อชนไม้แบบเฉ ค. การบากไม้แบบเฉ ง. การเข้าบากไม้ ๘.ค้อนชนิดใดที่นิยมใช้กันทั่วไป คือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓ นิ้ว และมีนำ้าหนัก ๑๒ ออนซ์ ก. ค้อนช่างไฟฟ้า ข. ค้อนหงอน ค. ค้อนทองเหลือง ง. ค้อนไม้ ๙.ข้อใดไม่ใช่เหตุผลหลักของการนำาค้อนไปใช้งาน ก. ใช้ค้อนตอกสิ่ว ข. ใช้ค้อนไม้เคาะปรับแต่งใบกบ ค. ใช้ค้อนตอกเลื่อยลันดา ง. ใช้ค้อนปรับแต่งชิ้นงาน ๑๐. เลื่อยชนิดใดเหมาะสำาหรับตัดซอยไม้ยาวๆ ก. เลื่อยวงเดือนชนิดมือถือ ข. เลื่อยลอ ค. เลื่อยฉลุ ง. เลื่อยลันดา ๑๑. เลื่อยชนิดใดที่ช่างไม้ใช้บ่อยที่สุด ก. เลื่อยลอ ข. เลื่อยฉลุ ค. เลื่อยวงเดือน ง. เลื่อยลันดา ๑๒. ลักษณะเด่นของกบไม้ คือข้อใด ก. ทำาจากไม้เนื้อแกร่งขนาด ๑.๒๕ x ๗ นิ้ว 58
  • 12. ข.ทำาจากไม้ชิงชันขนาด ๒ x ๗ นิ้ว ค. ใบกบทำามาจากโลหะขนาด ๑.๒๕ x ๙ นิ้ว ง. ทำาจากไม้ชิงชันขนาด ๑.๒๕ x ๙ นิ้ว ๑๓. ลักษณะเด่นของสิ่วปากบาง คือข้อใด ก. ใบสิ่วเป็นขอบใบเฉียง มีความหนามากกว่าสิ่วเจาะเดือย ข.เป็นสิ่วที่โค้งคล้ายกับเล็บมือ ค. ใบสิ่วเป็นขอบเฉียง มีความหนาน้อยกว่าสิ่วเจาะเดือย ง. ใบสิ่วจะหนามีคมตัดเป็นมุมฉาก ๑๔. ลักษณะเด่นของฉากเป็น คืออะไร ก. ใบฉากทำาด้วยโลหะทำามุม ๙๐ องศา ข.ทำามาจากพลาสติกแข็งปรับมุมได้ ค. มีขนาด ๖ นิ้ว ง. ทำามาจากพลาสติกอ่อนปรับมุมได้ ๑๕. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของฉากตาย ก. อัดมุมได้ ๒ มุม คือ ๔๕ องศากับ ๙๐ องศา ข.ใบฉากทำาด้วยโลหะ ค. ใบฉากทำาด้วยพลาสติกสามารถปรับมุมได้ ง. นิยมใช้ฉากขนาด ๑๐ นิ้ว ๑๖. ไม้ที่นิยมใช้ในงานไม้ คือข้อใด ก. ไม้มะเกลือ ข. ไม้ยาง ค. ไม้ประดู่ ง. ไม้ตะเคียน ๑๗. ข้อใดคือหน้าตัดไม้ที่มีหน้าตัดเป็นนิ้ว ความยาวเป็นเมตร ก. ๑ x ๑.๕ นิ้ว ข. ๑ x ๑.๒๕ นิ้ว ค. ๑.๕ x ๑.๕ นิ้ว ง. ๑.๕ x ๓ นิ้ว ๑๘. ข้อใดไม่ใช่ความหนาของไม้อัด ก. ๕ มิลลิเมตร ข. ๖ มิลลิเมตร ค. ๘ มิลลิเมตร ง. ๑๐ มิลลิเมตร ๑๙. ข้อใดกล่าวถูกต้องในเรื่องของการจับค้อนตีชิ้นงาน ก. ควรจับใกล้กับหัวค้อน ข.ควรจับใกล้กับด้ามค้อน ค. จับพอประมาณ ๑/๓ ของความยาวค้อน ง. จับพอประมาณ ๑/๒ ของความยาวค้อน 59
  • 13. ๒๐. เลื่อยชนิดใดมีลักษณะคล้ายเลื่อยสันแข็ง โดยฟันเลื่อยมีทั้ง หยาบและละเอียด ก. เลื่อยลันดา ข. เลื่อยฉลุไฟฟ้า ค. เลื่อยลอ ง. เลื่อยวงเดือน คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือ มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความด้านซ้ายมือ ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน ๑. ................ คีมตัด ก. เหล็กส่ง ๒................. เครื่องมือประกอบการตอกตะปู ข. เครื่องเจาะแท่น ๓................. ปากกาไม้ ค. สว่านไฟฟ้า ๔. ................ สิ่วเจาะเดือย ง. แม่แรงมี ความกว้างของปาก ๒๔ นิ้วขึ้นไป ๕. ................ สิ่วปากบาง จ. ความกว้าง ของปากไม่เกิน ๑๒ นิ้ว ๖. ................ สิ่วเล็บมือ ฉ. ตัดตะปูและ ลวด ๗. ................ แม่แรงยาว ช. ขอขีด ๘................. เจาะเนื้อไม้เพื่อฝังสกรู ซ . มีใบสิ่วที่โค้งใช้เจาะเซาะและเฉือน ๙................. สว่านแทน ฌ. มีใบสิ่วเป็น ขอบใบเฉียงใบสิ่วบาง ๑๐. ................ หมั่นสับปลายหมุดให้แหลมอยู่ เสมอ ญ. ใบสิ่วหนาและคมตัดเป็นมุมฉาก 60
  • 14. บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 61
  • 15. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.................................. .............) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ หมาย ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ............................................................... (...................... ......................................) 62