SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
หน่วยที่ 1 
8 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชายหาด 
ที่มา : คู่มือเรียนรู้ขยะทะเล ชายฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
1. บอกความหมาย อธิบายการเกิดขึ้นและจาแนกประเภทของ ชายหาดได้ 
2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อชายหาดได้ 
3. อธิบายลักษณะ และแหล่งกาเนิดของตะกอนบนชายหาดได้ 
4. บอกความสาคัญ การใช้ประโยชน์และแนวทางการจัดการพื้นที่ ชายหาด และชายฝั่งทะเลได้ 
5. บอกประโยชน์ของพื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเลได้ 
6. บอกความสาคัญของการจัดการพื้นที่ชายหาดและฝั่งทะเลได้ 
สวัสดีจ้ะ...เด็ก ๆ พี่กบจะพาไป เรียนรู้ เรื่อง ชายหาดกัน...
หน่วยที่ 1 
9 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชายหาด 
ผลการเรียนรู้ 
1. อธิบายความหมาย ประเภท ลักษณะพื้นที่ และการเกิดของชายหาดรวมทั้งปัจจัย ที่มีผลต่อชายหาด 
2. เขียนบรรยายความสาคัญและการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ชายหาดและชายฝั่ง 
เนื้อหา 
1.1 การเกิดขึ้นของชายหาด 
1.2 รูปแบบชายหาด 
1.3 แนวต่าง ๆ บนหาด 
1.4 ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด 
1.5 ตะกอนชายหาด 
1.6 ความสาคัญและการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเล 
แนวคิด 
ชายหาด หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ โดยทั่วไปเรียกพื้นที่นี้ว่า ฝั่งทะเลหรือชายทะเล หรือหมายถึง ระบบนิเวศชายฝั่ง ตั้งแต่ระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้น ที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง ชายหาดมักประกอบด้วยตะกอนขนาดต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการผุพัง สึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน ตะกอนดินจากแม่น้าที่ไหลลงทะเล หรือการผุพังของปะการัง
หน่วยที่ 1 
10 
เปลือกหอย ขนาดของตะกอนที่ต่างชนิดกันทาให้เกิดชายหาดที่ต่างกัน โดยแบ่งได้ 3 ประเภท คือ หาดทราย หาดหินหรือหาดกรวด และหาดโคลน 
ชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวตลอดเวลาโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ น้าขึ้นน้าลง คลื่น กระแสน้า ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากชายหาด ทาให้ ตะกอนมีขนาดเล็กลง และอาจทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง หรือทาให้เกิดการทับถมทาให้เกิด ชายหาดเพิ่มขึ้น 
หาดทรายและชายฝั่งทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีคุณค่าและความสาคัญ เป็นแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าต่อระบบนิเวศ สังคมและเศรษฐกิจ ปัจจุบันชายหาดที่สวยงาม ถูกนาไปใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวนารายได้จานวนมากเข้าสู่ชุมชนและประเทศ ชายหาดยังมีบทบาทที่ สาคัญด้านอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เป็นพื้นฐานของสายใย อาหาร เป็นแหล่งอาศัยและวางไข่ของสัตว์น้าหายาก เป็นแหล่งอาศัยของนกทะเล เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งประมง รวมทั้งเป็นแนวป้องกันพายุ ดังนั้นเมื่อมีการใช้ประโยชน์จากชายหาดและชายฝั่ง ทะเลมากขึ้น จึงต้องมีการบริหารจัดการการใช้พื้นที่ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูบริเวณชายหาดและชายฝั่ง ทะเล ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชน ตลอดจนนักท่องเที่ยวเพื่อให้ ชายหาดและชายฝั่งทะเลมีความสมบูรณ์ สวยงามตลอดไป 
จุดประสงค์การเรียนรู้ประจาหน่วย 
1. บอกความหมาย อธิบายการเกิดขึ้นและจาแนกประเภทของชายหาดได้ 
2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อชายหาดได้ 
3. อธิบายลักษณะ และแหล่งกาเนิดของตะกอนบนชายหาดได้ 
4. บอกความสาคัญ การใช้ประโยชน์และแนวทางการจัดการพื้นที่ชายหาด และชายฝั่ง ทะเลได้
หน่วยที่ 1 
11 
เด็ก ๆ รู้จักชายหาดแค่ไหน.. 
.....ชายหาดที่ดีควรมีทรายขาว ดูสะอาดตา...จริงไหม 
.....หาดทรายเป็นพื้นที่คล้าย ทะเลทรายจึงไม่ค่อยมีสัตว์ อาศัยอยู่...เป็นอย่างนั้น หรือเปล่า 
แล้วชายหาดเหมือนกัน ทุกหาดหรือไม่..
หน่วยที่ 1 
12 
คนทั่วไปมักคิดอย่างนั้น แต่ที่จริงแล้ว...ไม่ใช่สักหน่อย 
เมื่อพูดถึงหาด คนมักคิดถึงแต่หาดทรายขาวทอดยาวสะอาดตา เหมาะแก่การพักผ่อนในวันหยุด แต่ความจริงหาดมีหลายแบบ หาดทราย หาดโคลน หาดหิน นับเป็นหาดที่ดีได้เท่าเทียมกัน 
ทุกวันนี้ หาดทรายมีค่าแค่เป็นแค่สถานที่ท่องเที่ยว หาดโคลน กลายเป็นที่เฉอะแฉะเปรอะเปื้อนไม่มีประโยชน์ คิดแต่ว่ามีไว้เพื่อพัฒนา เป็นเขตอุตสาหกรรม ส่วนแนวโขดหินชายฝั่งทะเล ดูเหมือนเป็นหิน โสโครกที่เกะกะและอันตราย 
ในความเป็นจริงที่ตามักมองไม่เห็น หาดแต่ละหาดมีชีวิตชีวามากกว่านั้น แต่ถ้าเรา สังเกตดูดี ๆ ไม่ว่าจะเป็นหาดทราย หาดหิน หรือหาดโคลน ต่างเป็นบ้านและโรงอาหาร ของสิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด สัตว์ใหญ่น้อย กระทั่งพืชที่อาศัยอยู่ริมหาดต้องสุดยอด อดทน สัตว์บางตัวอยู่ในแนวน้าขึ้นน้าลง น้าขึ้นตัวก็เปียก พอน้าลดตัวแห้ง แถมต้อง ตากแดดไปทั้งวัน หลายชนิดที่ทนเปียกทนตากแห้งไม่ไหว ก็มักเลือกอาศัยตรงน้าท่วมนาน ส่วนพืชต้องรับมือกับลมแรง ละอองเกลือ แดดจ้า มีน้าจืดและแร่ธาตุน้อย เรียกว่าพืชที่ขึ้น ชายหาดต้องเป็นสุดยอดนักปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมรุนแรง 
..........ไม่ใช่แค่นั้น หาดยังมีซากที่ถูกคลื่นซัดขึ้นมาเกยเป็นแนวยาว อาจเป็นซากพืช ซากสัตว์ หรือขยะ ซึ่งบอกร่องรอยของหาดหรือทะเลแห่งนั้นได้ไม่น้อย
หน่วยที่ 1 
13 
กิจกรรมที่ 1.1 ชายทะเลที่ฉันอยากไป 
คาชี้แจง 
1. ให้นักเรียนวาดภาพชายทะเลที่นักเรียนอยากไป แล้วระบายสีให้สวยงาม พร้อมเขียน บรรยายสภาพชายทะเลนั้น 5 บรรทัด ลงในสมุดงาน 
2. นาเสนอภาพวาด พร้อมบอกเล่าจินตนาการหน้าชั้นเรียน 
คาบรรยาย ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 
วาดภาพ 
เด็ก ๆ ..เล่าให้พี่กบฟังเกี่ยวกับ ชายหาดที่เคยไปบ้างสิ.....
หน่วยที่ 1 
14 
ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความยาวทั้งสิ้น 2,667 กิโลเมตร ครอบคลุม 23 จังหวัด แบ่งเป็นชายฝั่งด้านอ่าวไทย 1,653 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด และชายฝั่งทะเล ด้านอันดามัน 1,014 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด เป็นที่รวมของทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่เป็นฐานในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม มีความสาคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ซึ่งถือ เป็นแหล่งรายได้ที่สาคัญของประเทศ 
การเกิดขึ้นของชายหาด 
1. ความหมายของชายหาด 
ชายหาด (Beach) หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ โดยทั่วไปเรียกพื้นที่ นี้ว่า ฝั่งทะเลหรือชายทะเล ซึ่งจะพบในแผ่นดินหรือหมู่เกาะ หรือ หมายถึง ระบบนิเวศชายฝั่ง ตั้งแต่ระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง ประกอบด้วยพื้นผิวที่มี เม็ดทรายขนาดต่าง ๆ กัน และในพื้นที่แต่ละแห่งจะมีความลาดชันไม่เหมือนกัน กระแสน้าขึ้น น้าลงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ความชื้นและอุณหภูมิของชายหาดแตกต่างกัน และมีผลต่อการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตบริเวณชายหาด 
เด็ก ๆ ...รู้ไหม ชายฝั่งทะเลของ เรายาวเท่าไร.. 
1.1
หน่วยที่ 1 
15 
2 การเกิดขึ้นของชายหาด 
ชายหาดนั้นเกิดจากการผุพังสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน โดยเฉพาะหินทราย และ หินแกรนิต จนกลายเป็นทรายและดิน ถูกพัดพาลงสู่ท้องทะเล จากนั้นตะกอนดินและทราย จะถูกแยกจากกันโดยเกลียวคลื่น ส่วนที่เป็นดินจะตกตะกอนทับถมเป็นโคลนตมอยู่บริเวณ ใกล้ปากแม่น้าและงอกเป็นผืนแผ่นดินต่อไป ส่วนที่เป็นทรายซึ่งหนักและทนทานต่อการ ผุกร่อนกว่าก็จมลง และสะสมเป็นพื้นทรายใต้ท้องทะเล โดยมีบางส่วนถูกคลื่นพัดพาเข้าสู่ฝั่ง สะสมมากขึ้นจนเกิดเป็นแนวหาดตามชายฝั่งทั่วไป 
เม็ดทรายบนชายหาดจึงเป็นส่วนที่เหลือจากการผุกร่อนของหินนั่นเอง ซึ่งมักประกอบด้วย แร่ควอตซ์ ที่มีความแข็งและทนทานต่อการผุกร่อนสูง หาดแต่ละแห่งมีสีสันและขนาดของเม็ดทราย แตกต่างกันออกไป บางหาดมีเม็ดทรายเล็กขาวละเอียด บ้างมีสีขาวขุ่นและละเอียดราวกับแป้ง เพราะมีกาเนิดมาจากซากปะการังที่ผุพัง 
แล้วตะกอนที่ทับถมบนชายหาด มาจากไหนกันคะ... 
เป็นตะกอนที่มีมาแต่เดิม พบได้ใน บริเวณพื้นที่นั้น หรือ ถูกพัดพามา โดยคลื่น ทับถมกันเป็นชายหาดจ้ะ
หน่วยที่ 1 
16 
คลื่นจะเป็นตัวพัดพาที่สาคัญ ถ้าไม่มีคลื่น ตะกอน ทรายละเอียดและโคลน จะมีการทับถมอยู่บนชายหาดมากเกินไป ในบริเวณชายหาดที่เปิด ได้รับแรงจากคลื่นมาก มักพบทรายแบบหยาบ และเศษซากปะการังที่แตกหักตามแนวชายหาด 
นอกจากนี้ระบบนิเวศชายหาด ยังสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับระบบนิเวศป่าชายเลน และแนวปะการังด้วย เนื่องจากพื้นที่ที่เป็นทรายและโคลนยังแผ่ครอบคลุมถึงป่าชายเลน และบริเวณแนวปะการังในเขตปะการังแนวราบ (reef flat) ซึ่งเป็นบริเวณน้าตื้น จึงทาให้เรา สามารถพบสัตว์และพืชบางชนิดได้ในแหล่งที่อยู่ทั้งสามแบบนี้ เช่น บริเวณเศษซากปะการัง ใกล้แนวปะการังจะพบสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชนิดเดียวกับบริเวณทรายละเอียดในหาดทราย หญ้าทะเลจะพบบริเวณตะกอนขนาดกลางถึงละเอียด รากหญ้าทะเลจะทาหน้าที่ยึดตะกอนไว้ และไม่สามารถเติบโตได้ถ้าต้องอยู่เหนือน้าทะเลเป็นเวลานาน จึงมักพบแนวหญ้าทะเลบริเวณ ตอนล่างของชายหาด 
เด็ก ๆ รู้แล้วใช่ไหม ว่าชายหาด ที่เราไปเล่นน้าทะเล ก่อกองทราย นั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร 
แล้วชายหาด มีกี่แบบ อะไรบ้าง.....ตามครูไป ศึกษากันได้เลยจ้ะ
หน่วยที่ 1 
17 
รูปแบบชายหาด 
ชายหาดทั่วไปจะพบขนาดของเม็ดทรายที่แตกต่างกัน บริเวณส่วนบนของหาดจะประกอบ ด้วยทรายหยาบ ขณะที่บริเวณส่วนล่างของหาดจะพบทรายละเอียดหรือโคลน รูปแบบดังกล่าว มักพบบริเวณหาดที่อยู่ด้านหลังของแนวปะการัง ซึ่งจะเป็นแนวกาบังให้กับชายฝั่งที่อยู่ด้านหลัง คลื่นขนาดใหญ่จะซัดเข้าสู่แนวปะการังและแตกตัวลงเป็นคลื่นเล็ก ๆ เมื่อคลื่นพัดเข้าชายฝั่งก็จะ เป็นตัวแยกตะกอน ตะกอนและเม็ดทรายขนาดใหญ่จะถูกพัดขึ้นสู่ด้านบนของหาด ส่วนที่มีขนาด เล็กก็จะถูกพัดลงมาด้านล่างของหาดบริเวณแนวน้าลงต่าสุด ขนาดของตะกอนที่ต่างชนิดกันทาให้ เกิดชายหาดที่ต่างกันโดยแบ่งออกได้ 3 ประเภท ตามชนิดของตะกอน ดังนี้ 
1. หาดทราย (Sand Beach) 
เป็นหาดที่มีเม็ดทรายละเอียด ซึ่งวัตถุต้นกาเนิดของทรายได้มาจากหินแกรนิต หรือหินทราย ขนาดและสีของทรายจะแตกต่างกันตามโครงสร้างของหินต้นกาเนิดและวิธีการสลายตัว ซึ่งโดยมาก เป็นสีขาวเม็ดเล็กละเอียด เม็ดทรายบนชายหาดจึงเป็นส่วนที่เหลือจากการผุกร่อนของหินนั่นเอง ซึ่งมักประกอบด้วยแร่ควอตซ์ (Quartz) ที่มีความแข็งและทนทานต่อการผุกร่อนสูง 
หาดทรายแต่ละแห่งมีสีสันและขนาดของเม็ดทรายแตกต่างกันออกไป บางหาดมีเม็ดทราย เล็ก ขาว ละเอียด เช่น หาดทรายแก้วบนเกาะเสม็ด จ.ระยอง อย่างไรก็ตามมีหาดทราย อีกประเภทหนึ่งซึ่งมีต้นกาเนิดจากซากปะการังที่ผุพังแล้ว โดยมากจะมีสีขาวขุ่นและมีขนาดเล็ก ละเอียดมาก เช่น ที่หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน ทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน และหาดทราย ที่พื้นทรายเป็นเม็ดทรายปนปะการัง เช่น หาดทรายแก้ว ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี 
1.2
หน่วยที่ 1 
18 
ภาพที่ 1 - 1 หาดทรายแก้ว เกาะเสม็ด จ.ระยอง 
ที่มา : http://www.hamanan.com/tour/rayong/hsk.html 
ภาพที่ 1-3 หาดทราย หมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา 
ภาพที่ 1 - 2 หาดทราย หมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา 
ที่มา : http://hilight.kapook.com/view/34702 
มาดูตัวอย่าง หาดทรายกันดีกว่า 
บทความ เรื่อง ชายหาดหลากสี http://wan1966.wordpress.com/ 
และชายหาด 9 สีในแต่ละมุมของโลก http://www.myfirstbrain.com/main_view.aspx?ID=74556
หน่วยที่ 1 
19 
2. หาดหินหรือหาดกรวด (Shingle Beach) 
เป็นหาดที่ประกอบด้วยหินหรือกรวดขนาดใหญ่ทับถมกันเมื่อถูกคลื่นซัดทาให้เกิดการขัดสีกัน จนแบนเรียบ บาง กลมมน เช่น หาดที่เกาะหินงาม อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล หาดหิน บริเวณหน้าสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุรี 
ภาพที่ 1 - 3 หาดหินบริเวณหน้าสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุรี 
ที่มา : http://www.arri.chula.ac.th/Cholatassathan_Z04.htm 
ภาพที่ 1 - 4 หาดหินงาม (เกาะตะรุเตา) จังหวัดสตูล 
ที่มา : http://www.dmcr.go.th/marinecenter/beach_satoon.php
หน่วยที่ 1 
20 
3. หาดโคลน (Mud Flat) 
ภาพที่ 1 - 5 หาดไร่เล ด้านตะวันออก จ.กระบี่ 
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=400805 
มักพบอยู่ใกล้กับบริเวณแม่น้าสายใหญ่ เมื่อตะกอนดิน จากแผ่นดินถูกน้ากัดเซาะละลายไปตามลาคลองหรือแม่น้า ไหลลงสู่ทะเล แล้วตกตะกอนลง ณ บริเวณปากแม่น้า เกิดเป็น ลานโคลนหรือเลนขึ้น เวลาน้าทะเลขึ้นจะถูกท่วมจนมิดลาน ทาให้ดินบริเวณนี้มีลักษณะเป็นเลนด้วย โดยมากมีความลาดชัน น้อยมาก เมื่อน้าลงจะปรากฏขึ้นเป็นลานกว้าง แต่อาจมีแอ่ง ที่น้าขังอยู่บ้างเล็กน้อย และด้วยความสมบูรณ์ของธาตุอาหาร ในตะกอนดินที่มีการทับถมกัน และระดับน้าทะเลหรือน้ากร่อย ที่พอเหมาะ หาดโคลนจะมีพรรณไม้ราบลุ่มป่าชายเลน ขึ้นตามธรรมชาติ ในบางแห่งที่หาดโคลน มีเม็ดทรายปนอยู่ด้วย และเป็นหาดที่มีความลึกน้อยจะพบว่ามีหญ้าทะเลขึ้นอยู่เป็น ลานกว้าง
หน่วยที่ 1 
21 
ภาพที่ 1 - 6 อ่าวพนังตัก จ.ชุมพร 
ที่มา : http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=222679&st=61 
ภาพที่ 1 - 7 หาดรูสะมิแล จ.ปัตตานี 
ที่มา : http://www.taklong.com/south/show-south.php?No=198074 
หาดโคลนก็สวยไปอีกแบบจ้ะ
หน่วยที่ 1 
22 
แนวต่าง ๆ บนหาด 
(Beach Zonation) 
ภาพที่ 1 - 8 แนวต่าง ๆ บนหาด 
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=249667 
ชายหาด มีลักษณะของพื้นที่ที่แตกต่างกัน โดยมีปัจจัยหลัก ที่เป็นตัวกาหนดรูปแบบของชายหาด คือ น้าขึ้นน้าลง แนวของ น้าขึ้นน้าลงจะเป็นตัวแบ่งความแตกต่างของลักษณะพื้นที่ ซึ่งจะแบ่งเป็น แนวเหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด แนวระหว่างน้าขึ้นและน้า ลง และแนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในบริเวณต่าง ๆ ของชายหาด ก็จะมีความแตกต่างกัน เช่น สัตว์ที่ต้องอาศัยในบริเวณ เขตระหว่างน้าขึ้นและน้าลง ต้องปรับตัวให้สามารถทนทานความร้อน จากแสงอาทิตย์ได้ ในช่วงเวลาที่น้าลง พวกที่อยู่เหนือเขตน้าขึ้นสูงสุด ก็ต้องสามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อหลบแสงอาทิตย์ หรือขุดรูเพื่อหนีจากผู้ล่า 
1.3
หน่วยที่ 1 
23 
1. แนวเหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด 
2. แนวน้าขึ้นและน้าลง 
3. แนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด 
เป็นพื้นที่ที่อยู่เหนือจากระดับน้า เมื่อน้าขึ้นสูงสุด อยู่ทางด้านในต่อเนื่องกับแผ่นดิน บริเวณนี้จะได้รับ ผลกระทบจากไอเค็มของทะเล แต่จะไม่มีช่วงที่จมใต้น้า 
เป็นบริเวณที่อยู่ระหว่างช่วงน้าขึ้นสูงสุดและน้าลงต่าสุด เมื่อน้าลงบริเวณนี้ จะเปิดสู่อากาศ เมื่อน้าขึ้นจะจมอยู่ใต้น้า บริเวณนี้จึงเป็นบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา สิ่งมีชีวิตที่อาศัยบริเวณนี้จึงต้องมีการปรับตัวอย่างมาก เช่น การฝังตัว ใต้พื้นทรายหรือสร้างท่อ มีเปลือกแข็งเพื่อป้องกันการเสียดสีจากทรายที่เกิดจาก การที่คลื่นซัดเข้าออกจากฝั่ง และในช่วงที่น้าลดร่างกายจะแห้ง จึงต้องมีเหงือกที่มี ความชุ่มชื้นตลอดเวลาทั้งนี้เกิดจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นจากแสงแดดที่ส่องในช่วง เวลากลางวัน 
เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกสุดของแนวชายหาด และในช่วงที่ น้าลงต่าสุดส่วนนี้จะจมอยู่ใต้ระดับน้า หรืออาจจะโผล่ พ้นน้าได้บ้างบางส่วน ตะกอนส่วนมากเป็นทรายละเอียด ปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง เนื่องจาก ได้รับอิทธิพลของคลื่นจากทะเลด้านนอกในการสะสมตัว
หน่วยที่ 1 
24 
กิจกรรมที่ 1.2 
ทดสอบความรู้เรื่องชายหาดกันหน่อย.. 
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน 
1. ชายหาด หมายถึงบริเวณใด 
.......................................................................................................................................................................... 
2. กระบวนการใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นของชายหาด 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
3. เมื่อจาแนกชายหาดตามชนิดของตะกอน สามารถแบ่งชายหาดออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................................................... 
4. หาดประเภทใดที่เกิดจากการผุกร่อนของหินแกรนิต หรือหินทราย 
.......................................................................................................................................................................... 
5. บริเวณใกล้ปากแม่น้าสายใหญ่ มักพบชายหาดประเภทใด 
.......................................................................................................................................................................... 
6. บริเวณใดของชายหาดที่ได้รับผลกระทบจากไอเค็มแต่ไม่มีส่วนใดจมน้า 
.......................................................................................................................................................................... 
7. บริเวณใดของชายหาดที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะเหตุใด 
.......................................................................................................................................................................... 
8. บริเวณใดของชายหาดที่ส่วนใหญ่จะจมอยู่ใต้น้าเกือบตลอดเวลา 
.......................................................................................................................................................................... 
ข้อใดที่เด็ก ๆ ทาไม่ได้ 
ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาอีกครั้งจ้ะ
หน่วยที่ 1 
25 
จากการศึกษาเกี่ยวกับชายหาด เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง 
........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ 
ชายหาด หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ 
ชายหาด เกิดจากการผุพังสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน โดยเฉพาะหินทราย และหินแกรนิต จนกลายเป็นทรายและดิน ถูกพัดพาลงสู่ท้องทะเล 
ชายหาดแบ่งออกได้ 3 ประเภท ตามชนิดของตะกอน ดังนี้ หาดทราย หาดหินหรือหาดกรวด และหาดโคลน 
ชายหาด แบ่งพื้นที่ออกเป็นแนวต่าง ๆ ดังนี้ แนวเหนือระดับน้าขึ้น สูงสุด แนวน้าขึ้นน้าลง และแนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด 
บริเวณแนวน้าขึ้นน้าลงนั้นสิ่งมีชีวิตต้อง ปรับตัวมากกว่าบริเวณอื่นจึงจะสามารถ อยู่รอดได้
หน่วยที่ 1 
26 
ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด 
(Beach Processes) 
1. น้าขึ้นน้าลง (Tides) 
เด็ก ๆ หลายคนคงชอบไปพักผ่อนหย่อนใจ ที่ชายหาด แต่รู้ไหมยังมีสิ่งมีชีวิตอีกไม่น้อยที่ใช้ชีวิต อยู่ใกล้และพึ่งพาชายหาด แล้วชายหาดที่เราคุ้นเคยมีอะไรมาเกี่ยวข้องบ้าง... 
เป็นการเปลี่ยนแปลงของระดับของผิวน้าทะเลในแนวตั้ง เกิดจากแรง ดึงดูดของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก และเปลี่ยนแปลงทุก ๆ วัน แตกต่างกันไปตามลักษณะของภูมิประเทศ การขึ้นลงของน้านั้นจะมีความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ 
แบ่งได้เป็น 
- น้าเดี่ยว น้าขึ้น 1 ครั้ง และน้าลง 1 ครั้งต่อวัน 
- น้าคู่ น้าขึ้น 2 ครั้ง และน้าลง 2 ครั้งต่อวัน 
- ระดับของน้าขึ้นลงในแต่วันนั้นจะไม่เท่ากัน 
1.4
หน่วยที่ 1 
27 
น้าเกิด - น้าตาย เป็นสภาวะอย่างหนึ่งของน้าขึ้นน้าลงในบริเวณริมทะเลหรือบริเวณ ที่ได้รับผลกระทบจากน้าทะเล 
น้าเกิด (spring tide) หมายถึง น้าขึ้นในระดับสูงมากและลงต่ามากในช่วงวัน เนื่องจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกับโลก จึงมีอิทธิพลในการดึงดูดน้าทะเล ให้มีระดับแตกต่างกันมากดังกล่าว ในแต่ละเดือน มีน้าเกิด 2 ช่วง คือ ช่วงวันเดือนเพ็ญ ตั้งแต่ วันขึ้น 13 ค่าถึงวันแรม 2 ค่า และช่วงวันเดือนดับ ตั้งแต่ วันแรม 13 ค่าถึงวันขึ้น 2 ค่า 
น้าตาย (neap tide) หมายถึง น้าขึ้นน้อยและลงน้อย บางครั้งจะสังเกตไม่ค่อยได้ว่าเป็น น้าขึ้นหรือน้าลง ทั้งนี้เนื่องจาก ดวงจันทร์ โลก และดวงอาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน ในแต่ละเดือนมีน้าตาย 2 ช่วง คือ ช่วงกึ่งปักษ์แรก คือ ระหว่างขึ้น 5 - 9 ค่า และช่วงกึ่งปักษ์หลัง คือ ระหว่างแรม 5 - 9 ค่า
หน่วยที่ 1 
28 
ดังนั้น ช่วงเวลาที่ดีที่สุดที่เราสามารถศึกษาสิ่งมีชีวิตบริเวณชายหาด 
คือ เวลาน้าลงต่าสุดในช่วงน้าเกิด นั่นเอง 
ภาพที่ 1 - 9 แสดงช่วงน้าเกิด - น้าตาย 
ที่มา : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=74272 
ชายหาด เป็นบริเวณที่น้าทะเลและแผ่นดินมาพบกัน จึงได้รับอิทธิพลจากน้าขึ้นน้าลง 
อย่างมาก ในช่วงที่น้าลงสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณด้านบนของหาดเหนือระดับน้าจะต้องได้รับ 
แสงอาทิตย์เป็นเวลานาน อาจทาให้ร่างกายต้องสูญเสียน้าได้ ส่วนพวกที่อยู่ด้านล่างต่ากว่า 
ระดับน้าลงก็จะยังคงจมอยู่ใต้น้า แต่ถ้าเป็นช่วงน้าเกิดมีความแตกต่างของระดับน้ามากเวลาที่ 
น้าลงต่าสุดกลุ่มสัตว์ที่อาศัยด้านล่างในเขตน้าขึ้นน้าลงก็อาจต้องได้รับแสงอาทิตย์และร่างกาย 
สูญเสียน้าได้เช่นกัน 
น้าลง 
น้าขึ้น น้าขึ้น 
น้าลง 
ดวงจันทร์ 
โลก 
ดวงอาทิตย์ 
รูปแสดงการเกิดน้าเกิด น้าขึ้นมากและลงมาก 
ดวงจันทร์ 
น้าขึ้น 
น้าขึ้น 
น้าลง โลก น้าลง 
ดวงอาทิตย์ 
รูปแสดงการเกิดน้าตาย น้าขึ้นน้อยและลงน้อย
หน่วยที่ 1 
29 
2. คลื่น (Wave) 
เด็กๆรู้จัก สึนามิ หรือไม่... 
เมื่อเวลาไปทะเล จะสังเกตได้ว่า มีคลื่นซัดเข้าหาฝั่งตลอดเวลา คลื่นเกิดจากลม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด และจากการที่ลมพัดมากระทบกับผิวน้า จะทาให้ผิวน้านูน สูงขึ้นคล้ายสันเขา ความสูงของคลื่นทาให้เราทราบถึงความแรงของลม เมื่อคลื่นเคลื่อนตัว ออกจากแหล่งกาเนิดจะมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมันรวมเอาคลื่นขนาดเล็ก ๆ เข้าไปไว้ด้วย เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข้ากระทบฝั่งจะกระทบกับพื้นก่อนทาให้คลื่นมีความสูงมากขึ้น แนวด้านหน้าของคลื่นจะโค้งขนานไปกับชายฝั่ง เรียกว่าการหักเหของคลื่น เมื่อใกล้ฝั่ง มากขึ้น แรงเสียดทานของพื้นทะเลจะมีมากขึ้น ทาให้ผิวหน้าของคลื่นแตก เรียกว่า “คลื่นหัวแตก” (Breaker) เราจะสังเกตเห็นได้เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข้ามากระทบฝั่ง น้าจะแตกซ่าเป็นฟองกลายเป็นฟองคลื่นบนหาด 
“สึนามิ” (Tsunami) ใช้เรียกคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิดมีความ ยาวของคลื่นประมาณ 100 - 200 กิโลเมตร แต่มีความสูงเพียง 0.3 - 0.6 เมตร เมื่อเกิดคลื่นชนิดนี้ผู้ที่อยู่บนเรือหรือชาวประมงจะไม่สามารถสังเกตเห็นได้ ประกอบกับ ระยะเวลาในการเกิดคลื่นจะสั้นมาก คือ ประมาณ 10 – 30 วินาทีเท่านั้น แต่คลื่น ชนิดนี้จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงถึง 500 - 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังนั้นเมื่อ คลื่นสึนามิเคลื่อนที่เข้าหาฝั่งจะทาให้ระดับน้าทะเลชายฝั่งสูงกว่าสภาพปกติ 15 - 30 เมตร จึงส่งผลให้เกิดน้าท่วมชายฝั่งทะเลอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ ทรัพย์สินเป็นอันมาก
หน่วยที่ 1 
30 
ภาพที่ 1 - 10 ส่วนประกอบของคลื่น 
ที่มา : http://www.sci.psu.ac.th/chm/biodiversity/beach_envi.html 
เมื่อคลื่นเข้าใกล้ชายฝั่ง ความเร็วจะเพิ่มมากขึ้น และแตกออกเป็นคลื่นเล็ก ๆ เกิดซ้า ๆ กันจนกว่าคลื่น จะเข้าถึงชายหาด เวลาที่คลื่นซัดเข้าหาฝั่งก็จะพาทราย จากท้องทะเลเข้ามาด้วยทาให้เกิดทับถมกันจนเป็นชายหาด หรือบางครั้งก็อาจทาให้เกิดการกัดเซาะพังทลายของชายฝั่ง ได้เช่นกัน 
คุณลุงจ๊ะ...แล้วคลื่นมีส่วนประกอบ อะไรบ้าง..ถึงมีแรงมหาศาล... 
คลื่นประกอบด้วย ยอดคลื่น (crest) 
ท้องคลื่น (trough) และ ความสูงของคลื่น (height) ซึ่งจะวัดได้จากท้องคลื่นไปจนถึงยอดคลื่น ในแนวดิ่ง และความยาวคลื่น (amplitude) จะวัด จากยอดคลื่นลูกหนึ่งถึงยอดคลื่นอีกลูกหนึ่ง ที่ต่อเนื่องกัน หรือจากท้องคลื่นลูกหนึ่งถึงท้องคลื่น อีกลูกหนึ่งที่อยู่ต่อเนื่องกัน 
ดูภาพประกอบด้วยจ้ะ
หน่วยที่ 1 
31 
คลื่นหัวแตก (Breaker) โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 
1) Plunging Breaker เป็นคลื่นที่มีการปล่อยพลังงานอย่างรวดเร็วและรุนแรง เดินทาง ด้วยความเร็วสูง คลื่นจะม้วนตัวไปข้างหน้าและแตกออกอย่างรวดเร็ว มักเกิดบริเวณชายฝั่ง ที่มีความลาดชันมาก น้าจะคลุมอากาศไว้ทาให้มีการใช้พลังงานอย่างรวดเร็ว และมีเสียงดังเกิดขึ้น 
ภาพที่ 1 - 11 การแตกของคลื่นแบบ Plunging Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
หน่วยที่ 1 
32 
2) Spilling Breaker คลื่นจะแตกโดยยอดคลื่นโค้งไปข้างหน้า ปลายยอดแตก เป็นฟองขาวทางด้านหน้า และคลื่นจะเว้าทั้งสองข้างเรียกว่า cycloid คลื่นแบบนี้จะมีความชัน มากกว่า 0.01 โดยเฉพาะเมื่อมีลมพัดเข้าสู่ฝั่งในชายหาดที่มีความลาดเอียงน้อย 
ภาพที่ 1 - 12 การแตกของคลื่นแบบ Spilling Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
หน่วยที่ 1 
33 
3) Surging Breaker เกิดกับชายฝั่งที่มีลักษณะแห้ง (มีบางบริเวณที่น้าซัดไม่ถึง) และมีความชันที่มีการเปลี่ยนแปลงความชันจากบริเวณที่มีความชันสูงมายังความชันน้อย คลื่นจะถอยหลังกลับ และกระแทกกับคลื่นลูกหลังที่ไล่มา ภาพที่ 1 - 13 การแตกของคลื่นแบบ Surging Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
หน่วยที่ 1 
34 
3. กระแสน้า (Current) 
เกิดจากการไหลของน้าอย่างต่อเนื่อง อาจมีสาเหตุมาจากการกระทาของลมที่พัดผ่านผิวน้า ทาให้น้าเคลื่อนที่ตามกระแสลมได้ กระแสน้าที่เกิดขึ้นเมื่อคลื่นซัดเข้ากระทบฝั่ง น้าทะเลถูก ผลักดันขึ้นมาและไหลกลับลงไปตามขอบหรือแนวชายฝั่ง เรียกว่า กระแสน้าชายฝั่ง (Longshore Currents) กระแสน้าที่มีลักษณะพิเศษอีกแบบหนึ่งเป็นกระแสน้าที่เกิดจาก คลื่นขนาดใหญ่ซัดกระทบชายหาดและสลายตัวลงไหลเป็นทางแคบ ๆ ลงสู่ทะเล เรียกว่า กระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) ซึ่งจะมีความเร็วและแรง เป็นอันตรายมาก 
ภาพที่ 1 - 14 การปักธงแดงเตือนนักท่องเที่ยวตลอดแนวชายหาด 
ที่มา : http://rtnpr.blogspot.com/2011/04/blog-post_185.html 
มีคนตายเพราะความไม่รู้จัก Rip Current โดยปกติแล้ว 
ทางเจ้าหน้าที่จะปักธงแดงให้เล่นน้าในเขตอยู่แล้ว แต่อาจจะมีบางคน ไม่เข้าใจ
หน่วยที่ 1 
35 
การเกิดกระแสน้ารูปเห็ดนี้จะมองเห็นได้จากในที่สูงเป็นลากว้างประมาณ 5 - 10 เมตร มีความเร็วประมาณ 8 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยขึ้นอยู่กับความสูงของคลื่น รูปร่างและความลาดชัน ของฝั่งทะเล รวมทั้งขนาดของตะกอนและสิ่งกีดขวาง เช่น โขดหินรอดักตะกอน โดยจะเกิดขึ้น บริเวณไม่ไกลจากริมฝั่ง ทาให้ผู้ที่ลงเล่นน้าใกล้ฝั่งตกใจเนื่องจากเมื่อเข้าไปในบริเวณลาของ กระแสน้ารูปเห็ดจะถูกกระแสน้าพาออกไปไกลจากฝั่งสู่น้าลึกอย่างรวดเร็ว ผู้ที่ว่ายน้าไม่แข็ง จะจมน้าเสียชีวิตได้ 
เราสามารถทราบว่าเกิดกระแสน้ารูปเห็ดขึ้นได้อย่างไรนั้น ให้สังเกตสีของน้าทะเล เพราะ มันเป็นกระแสน้าที่พาเอาตะกอนออกไปนอกชายฝั่ง บริเวณกระแสน้าจึงมีความขุ่นแตกต่างไปจาก น้าทะเลทั่ว ๆ ไปมีการไหลวนปั่นป่วนเพราะความแรงและมีลักษณะคล้ายรูปดอกเห็ดโดยมีลาต้น ยื่นจากชายฝั่งส่วนที่เป็นหมวกเห็ดยื่นไปในทะเลลึก ขนาดยิ่งใหญ่และยิ่งไกลก็ยิ่งแรงมาก เมื่อใด ก็ตามที่กระแสน้าไหลเข้าสู่ฝั่งแล้วถูกกีดขวางจากสิ่งต่าง ๆ เช่น โขดหิน หรือสันทรายไม่ให้ไหล กลับสู่ท้องทะเลได้สะดวก เมื่อมีช่องว่างกระแสน้าก็สามารถไหลกลับได้ ยิ่งเป็นร่องแคบ ๆ น้าก็ยิ่งจะไหลแรง ถ้าช่องกว้างน้าจะไหลช้าและกระจายออกไป ซึ่งความเร็วและความแรงขึ้นอยู่กับ รูปร่าง ความสูงของคลื่นและความลาดชันของชายหาด บางทีไม่ถึงกับตั้งฉากเสียทีเดียว 
คาว่า ริบ เคอร์เรนท์ (Rip Current) ถ้าแปลเป็น ภาษาไทยตรงตัวก็คือ “กระแสน้ารูปเห็ด” ซึ่งมีคนเข้าใจ ผิดว่าคือทะเลดูด ความจริงแล้วไม่ใช่ เนื่องจากทะเลดูด จะดูดสิ่งต่าง ๆ จากผิวน้าลงไปใต้น้าแต่กระแสน้ารูปเห็ดนี้ จะเกิดขึ้นบนผิวน้าและใกล้ชายฝั่งมีรูปร่างคล้ายดอกเห็ด จึงเรียกกันว่า Rip Current หรือกระแสน้ารูปเห็ด 
รู้หรือไม่
หน่วยที่ 1 
36 
ในประเทศไทยบริเวณที่เกิดการจมน้าตายจากกระแสน้านี้ประจา ได้แก่ ที่หาดสุรินทร์ จังหวัดภูเก็ต เนื่องจากหาดลาดชันมากถ้าเปรียบเทียบ กับหาดแม่ราพึงแล้วพบว่าหาดแม่ราพึงยังชันน้อยกว่ามาก 
ภาพที่ 1 - 15 การเกิดกระแสน้ารูปเห็ด 
ที่มา : http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05169.php
หน่วยที่ 1 
37 
ภาพที่ 1 - 16 การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) 
ที่มา : http://www.roomholidays.com/travel/newsdetail.php?hnewsid=355 
ภาพที่ 1 - 17 การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) 
ที่มา : http://www.safety-stou.com/sf50/?name=webboard&file=read&id=1020 
ก. เมื่อน้าพัดเข้าหาฝั่ง 
ข. เมื่อน้าไหลกลับ แนวลูกศรสีเหลืองจะเกิดแรงดูด 
การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current)
หน่วยที่ 1 
38 
ภาพที่ 1 - 18 แสดงให้เห็นว่ามีทะเลอยู่ส่วนหนึ่งที่จะดูดสีม่วงออกไปจากฝั่ง 
และนั่นคือบริเวณที่ข้างใต้กาลังมีคลื่นใต้น้า 
ที่มา : http://hotel2thailand.blogspot.com/2011/04/rip-current.html 
สิ่งที่สังเกตได้จากบนผิวน้าก็คือ ตรงทะเลส่วนนั้นจะไม่มีฟองคลื่นขาว ๆ เหมือนส่วนข้าง ๆ จะเป็นทะเลส่วนที่น้านิ่งคลื่นเบากว่าส่วนอื่น ซึ่งหากเรา ไม่มีความรู้เรื่องคลื่นใต้น้าแล้ว เราอาจจะโผเข้าหาทะเลส่วนนี้เพราะคลื่น เบากว่าส่วนอื่น ซึ่งจะเป็นภัยเงียบที่เราไม่รู้ตัวเลย 
บทความ เรื่อง คลื่นใต้น้า ( RIP Current ) ภัยใกล้ตัวที่อยากให้อ่าน http://hotel2thailand.blogspot.com/2011/04/rip-current.html 
คลิปวีดิทัศน์การเกิด RIP Current http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=- hCZuYzNujI#!
หน่วยที่ 1 
39 
ภาพที่ 1 - 19 การเอาตัวรอดจาก Rip Current 
ที่มา : http://thaiweekender.blogspot.com/2011/02/rip-current.html 
1. ถ้าน้าพัดออกฝั่ง อย่าตกใจ อย่าตื่นตระหนก และอย่าพยายามว่ายสวนกระแสน้า เพราะที่ตายกันส่วนใหญ่ เนื่องจากตกใจจนพยายามตะกายว่ายทวนกระแสน้าเพื่อกลับฝั่ง 
2. ให้ลอยตัวปล่อยให้น้าพัดเราออกไป อย่าว่ายทวนกระแสน้ามาเข้าฝั่ง 
3. เมื่อพ้นส่วนคลื่นใต้น้าแล้ว จะเริ่มรู้สึกว่าไม่มีแรงดูดออกไปในทะเลแล้ว ให้ว่ายเป็น แนวขนานกับฝั่ง 
4. ถ้าไม่รู้ว่าจะว่ายไปซ้ายหรือขวาดี ก็ให้ว่ายออกด้านข้างไปหาฟองคลื่นขาว ๆ เพราะ ตาแหน่งที่มีฟองคลื่นขาว ๆ คือตาแหน่งที่น้าเริ่มตื้น และเป็นบริเวณที่น้ากาลังถูกพัดเข้าฝั่ง 
5. เมื่อรู้สึกได้ว่าพ้นแนวคลื่นใต้น้าแล้ว ก็ให้ว่ายกลับเข้าฝั่งแล้วคลื่นจะช่วยดันเราเข้าฝั่งเอง ข้อควรระวัง คือ หากพาเด็กไปเล่นน้าทะเลหรือใครที่ว่ายน้าไม่เป็นหรือไม่แข็ง เพื่อความปลอดภัยให้ใส่ชูชีพไว้ก่อนจะดีกว่า และข้อควรระวังอีกอย่างคือ หาดบางที่แม้จะตื้นมากแบบน้าแค่เข่า ก็มีคลื่นใต้น้าที่สามารถ ดึงเราลงทะเลไปได้เช่นกัน 
ว่ายออกด้านข้าง 
ว่ายออกด้านข้าง 
การปฏิบัติตัวเมื่อเจอคลื่นใต้น้า (Rip Current)
หน่วยที่ 1 
40 
กิจกรรมที่ 1.3 
มีอะไรบ้างที่มีผลต่อชายหาด 
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน (ข้อละ 1 คะแนน) 
1. ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด คือ .................................................................................................................... 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
2. น้าเกิด หมายถึง ..................................................................................................................................... 
3. น้าตาย หมายถึง .................................................................................................................................... 
4. คลื่น ประกอบด้วย ................................................................................................................................ 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
5. ความยาวคลื่น จะวัดจาก......................................................................................................................... 
6. กระแสน้าชายฝั่ง เกิดจาก...................................................................................................................... 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
7. กระแสน้าที่มีอันตรายมาก คือ............................................................................................................... 
8. วิธีการเอาตัวรอดเมื่อเจอกระแสน้าที่อันตราย คือ ............................................................................ 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
หน่วยที่ 1 
41 
จากการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ 
ปัจจัยแรกที่มีผลคือ น้าขึ้นน้าลง ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่มีต่อน้าทะเล โดยถ้าดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่แนวเดียวกับโลกจะทาให้น้าขึ้นมาก และลงมาก เรียกว่าน้าเกิด แต่ถ้าดวงจันทร์ โลก ดวง อาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน น้าจะขึ้น น้อยและลงน้อย เรียก น้าตาย 
ปัจจัยที่สอง คือ คลื่น ซึ่งเกิดจากกระแสลมพัดกระทบผิวน้า หรือ บางครั้งเกิดจากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด คลื่นประกอบด้วย ยอดคลื่น ท้องคลื่น ความสูงของคลื่นและความยาวคลื่น ส่วนคลื่นที่ ทาให้เกิดความเสียหายมาก คือ คลื่นสึนามิ ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด 
ปัจจัยที่สาม คือ กระแสน้า เกิดจากการไหลของกระแสน้า อย่างต่อเนื่อง กระแสน้าที่เกิดขึ้นเมื่อคลื่นซัดเข้ากระทบฝั่ง น้าทะเลถูกผลักดันขึ้นมาและไหลกลับลงไปตามแนวชายฝั่ง เรียกว่า กระแสน้าชายฝั่ง ส่วนกระแสน้าที่มีอันตราย เรียกว่า กระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) เกิดจากคลื่นขนาดใหญ่ซัดกระทบชายหาดและสลายตัวลง ไหลเป็นทางแคบ ๆ ลงสู่ทะเล
หน่วยที่ 1 
42 
ตะกอนชายหาด 
ตะกอน เกิดจากการกร่อนตัวของหิน ชนิดของตะกอนขึ้นกับลักษณะของหินที่สลายตัวมา โดยที่มาของหินอาจมาจากการระเบิดของภูเขาไฟ การเปลี่ยนแปลงสภาพจากความร้อน การทับถม ของตะกอน เมื่อเวลาผ่านไปหินจะมีการผุกร่อน สลายตัว กลายเป็นตะกอนเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่ง โดยกระแสน้า ตะกอนจะประกอบด้วยแร่ต่าง ๆ มากมายขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของหิน 
- หินแกรนิต จะประกอบด้วยแร่ควอตซ์ 
- หินบะซอลต์ เป็นหินภูเขาไฟสีดา พบมากบริเวณเกาะ ตะกอนจากหินบะซอลต์นี้ จะทาให้ชายหาดมีสีเทา - แคลเซียมคาร์บอเนตจะเป็นแร่หลักที่พบในตะกอนบริเวณชายหาด ซึ่งเกิดจากพืชทะเล บางชนิดและกระดูกของสัตว์ หรือเรียกว่าตะกอนชีวภาพ ซึ่งเกิดจากสิ่งมีชีวิต 
ที่มาของแคลเซียมคาร์บอเนตในตะกอน ได้แก่ ซากปะการัง เปลือกหอย เปลือกปู 
....ตะกอนทรายที่ทับถมเป็น ชายหาดมาจากไหน...ใครรู้บ้าง.. 
ถ้าอยากรู้..ตามพี่กบมาจ้ะ ... 
1.5.
หน่วยที่ 1 
43 
บริเวณแนวปะการังแบบ Atolls ซึ่งเป็นแนวปะการังที่อยู่ในทะเลลึกไกลจากชายฝั่งมาก เกิดอยู่บนเกาะภูเขาไฟใต้น้ากลางมหาสมุทร มีลักษณะคล้ายวงแหวน ล้อมรอบด้วยทะเลสาบ น้าเค็มอยู่ภายใน แนวปะการังประเภทนี้จะมีหาดทรายเกิดจากการสลายตัวของโครงสร้างหินปูน ของปะการัง ดังนั้นตะกอนจะเกิดจากแคลเซียมคาร์บอเนตเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากซากของ ปะการัง ทาให้ชายหาดบริเวณนี้จะมีสีขาว สว่างมาก 
คลื่นที่ซัดเข้าหาชายหาด จะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากบริเวณชายหาด และ กระบวนการดังกล่าวจะเป็นตัวลดขนาดของตะกอนให้เล็กลง แคลเซียมคาร์บอเนตจะเป็นแร่ ที่นิ่มกว่าแร่อื่น ๆ ดังนั้นเปลือกหอยและโครงสร้างสัตว์ต่าง ๆ จะถูกกัดกร่อนและกลายเป็น ตะกอนละเอียดได้อย่างรวดเร็ว ตะกอนละเอียดเหล่านี้จะตกตะกอนช้า จะถูกกระแสน้าพัดพาไปยัง บริเวณน้าลึก ซึ่งเป็นบริเวณที่จะพบตะกอนที่มีลักษณะเป็นโคลนละเอียดบริเวณพื้นทะเล 
ขนาดตะกอน 
ขนาดของตะกอนนั้นจะทาให้เราสามารถแยกขนาด ตะกอนได้ เช่น ทรายหยาบ ทรายละเอียด สัตว์บางชนิด จะอาศัยอยู่ในตะกอนที่มีขนาดจาเพาะกับมันเท่านั้น ตะกอนขนาดต่าง ๆ เป็นผลมาจากการกระทาของคลื่น และกระแสน้า คลื่นขนาดใหญ่ และกระแสน้าที่แรง จะชะล้างให้ตะกอนมีขนาดเล็กลง และตกตะกอนลงสู่ที่ลึก ส่วนตะกอนหยาบจะถูกพัดขึ้นสู่ชายหาด
หน่วยที่ 1 
44 
เมื่อคลื่นกระทบชายฝั่งจะเกิดกระแสน้าที่มีความแรงขึ้นสู่ชายหาด แต่เมื่อน้าไหลกลับลงสู่ ทะเลจะเป็นกระแสน้าที่อ่อนตัวลง คลื่นจะเป็นตัวพัดพาทรายหยาบและทรายละเอียดขึ้นสู่ชายหาด เมื่อน้าไหลกลับลงทะเลจะนาตะกอนที่มีขนาดเล็กมาก ๆ กลับลงสู่ทะเลด้วย ส่งผลให้หาดทราย ตอนบนจะประกอบด้วยทรายหยาบ และบริเวณหาดทรายตอนล่างจะมีลักษณะเป็นทราย ละเอียด 
ถ้าคลื่นและกระแสน้าบริเวณชายหาดมีการ เปลี่ยนแปลง จะส่งผลต่อตะกอนด้วยเช่นกัน การเปลี่ยนแปลงอาจทาให้เกิดได้ทั้ง การกัดเซาะ ชายฝั่งทาให้ชายหาดหายไป หรืออาจเกิดการ ทับถมทาให้เกิดชายหาดเพิ่มขึ้น ดังนั้นถ้าสภาพ ของคลื่นเปลี่ยนจะทาให้ลักษณะของชายหาด เปลี่ยนไปเช่นกัน 
มาดูขนาดของตะกอนกันดีกว่า ...เปิดหน้าต่อไปเลยจ้ะเด็ก ๆ
หน่วยที่ 1 
45 
ขนาดตะกอนชายฝั่ง 
ภาพที่ 1 - 20 ขนาดตะกอนชายหาด ที่มา : นักสืบชายหาด : คู่มือดาเนินกิจกรรม 
เลน ขนาดเท่าเมล็ดงาป่น (<0.06 ซม.) ประกอบด้วย เศษซากพืชซากสัตว์และแร่ธาตุที่ย่อยหรือแตกสลายเป็น ผงละเอียด 
ทรายละเอียด 
ขนาดเท่าเมล็ดฝิ่น 
(0.06-0.1 ซม.) 
ทรายหยาบ 
ขนาดเท่าเมล็ดฝรั่ง 
(>0.1-0.2 ซม.) 
กรวดขนาดเล็ก 
ขนาดเท่าเมล็ดเสาวรส 
(>0.2-0.5 ซม.) 
กรวดขนาดใหญ่ ขนาดเท่าเมล็ดมะละกอหรือเมล็ดลาไย (>0.5-2.5 ซม.) อาจเป็นเศษที่แตกสลายมาจากปะการัง เปลือกหอย หรือหินริมฝั่งก็ได้ 
-หินก้อน หมายถึงหินที่แตกออกมาเป็นก้อน ๆ ขนาดเล็กพอจะ หยิบจับพลิกได้ 
-หินโขด หมายถึงหินขนาดใหญ่ที่มักพบบริเวณหัวหาด บางครั้ง เป็นชั้นหินผืนใหญ่ที่มักพบบริเวณหัวหาด ขนาดใหญ่เกินจะพลิก ได้ 
หิน
หน่วยที่ 1 
46 
ลักษณะตะกอนชายหาดที่ถูกพัดพามาสะสมตัว มีลักษณะเป็นริ้ว 
ภาพที่ 1 - 21 การสะสมตัวของตะกอนชายหาด 
ที่มา : http://winbookclub.com/wormtalkdetail.php?topicid=458
หน่วยที่ 1 
47 
กิจกรรมที่ 1.4 
มีอะไรในทรายจากชายหาด 
จุดประสงค์ 
1. เพื่อให้นักเรียนศึกษาและจาแนกส่วนประกอบของทรายจากชายหาด 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. ทรายจากชายหาดบางแสน 
2. แว่นขยาย 
3. ปากคีบ 
4. กระดาษขาว 
5. ไม้บรรทัด 
6. กล่องพลาสติกใส 
วิธีการทดลอง 
1. เททรายจากชายหาดลงในกล่องพลาสติกใส 
2. สังเกตลักษณะและส่วนประกอบของทรายในกล่อง โดยใช้แว่นขยายส่องดู และใช้ปากคีบ คีบจาแนกสิ่งที่สังเกตได้ บันทึกผลการสังเกต 
3. นาสิ่งที่จาแนกได้ วางเรียงบนกระดาษขาว ใช้ไม้บรรทัดวัดขนาด บันทึกผล 
ผลการสังเกต 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................
หน่วยที่ 1 
48 
คาถามท้ายกิจกรรม 
จากการทดลองจะพบว่า ตะกอนจากชายหาดประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นซาก ของสัตว์ทะเล และส่วนที่เป็นหินขนาดต่าง ๆ ลักษณะของตะกอนจะมีลักษณะมน เนื่องจาก การซัดของคลื่นและการพัดพาของกระแสน้า 
- สิ่งที่ได้จากการสังเกตมีอะไรบ้าง 
……………………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
- นักเรียนจาแนกสิ่งที่สังเกตได้เป็นอะไรบ้าง และใช้อะไรเป็นเกณฑ์ 
……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
- ขนาดของตะกอนที่พบเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
- นักเรียนจะสรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
หน่วยที่ 1 
49 
กิจกรรมที่ 1.5 
รู้จักตะกอนชายหาดหรือยัง 
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน 
1. ตะกอนชายหาด เกิดจาก.................................................................................................................... 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
2. ตะกอนชายหาดที่เกิดจากซากปะการัง เกิดจาก............................................................................ 
และจะทาให้ชายหาดมีลักษณะ......................................................................................................... 
3. กระบวนการที่ทาให้ตะกอนมีขนาดเล็กลง คือ............................................................................. 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 
เด็กๆรู้จักชายหาดกันมากขึ้นแล้ว ใช่ไหม 
ตามพี่กบมาจ้ะ... ..พี่กบจะพาเด็กๆไปดูว่าชายหาดนั้น มีความสาคัญ และมีประโยชน์อะไรบ้าง
หน่วยที่ 1 
50 
จากการศึกษาเกี่ยวกับตะกอนชายหาด 
เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ 
ตะกอน เกิดจากการกร่อนตัวของหิน การผุพังของซาก ปะการัง เปลือกหอย เปลือกปู กระดูกสัตว์ ตะกอน จะประกอบด้วยแร่ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของหิน และวัตถุต้นกาเนิดของตะกอน 
แร่ธาตุที่พบในตะกอนจะทาให้ชายหาดมีสีต่าง ๆ เช่น หินแกรนิต จะมีแร่ควอตซ์อยู่ทาให้ทรายระยิบระยับ หินภูเขาไฟจะเป็นหินบะซอลต์ ทาให้ชายหาดมีสีดาหรือเทา ส่วนซากปะการังซึ่งเป็นหินปูนจะให้ ตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต ทาให้ชายหาดมีสีขาว 
คลื่นจะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากชายหาด และทาให้ ตะกอนมีขนาดเล็กลง ตะกอนขนาดเล็กละเอียดจะตกตะกอน ช้าจะถูกคลื่นพัดพาไปยังบริเวณน้าลึก ตะกอนหยาบกว่าจะ พัดพาขึ้นสู่ชายหาด
หน่วยที่ 1 
51 
ความสาคัญและการใช้ประโยชน์ 
พื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเล 
หาดทรายและชายฝั่งทะเลเป็นระบบนิเวศหนึ่งที่มีคุณค่าและมีความสาคัญ เนื่องจากเป็น แหล่งที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าต่อระบบนิเวศวิทยา สังคมและเศรษฐกิจ ปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ นอกจาก ความสวยงามของหาดทรายที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญแล้วนั้น หาดทรายยังมีบทบาทและ ความสาคัญต่อระบบนิเวศด้านอื่น ๆ อีกมากมาย 
1. บทบาทของชายหาดและชายฝั่งทะเล 
แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต 
เนื่องจากสภาพแวดล้อมและพื้นที่ชายหาดที่มีความแตกต่างกัน ได้แก่ ขนาดของตะกอน ทราย ระดับของน้าขึ้นน้าลง ส่งผลให้เกิดเป็นแหล่งที่อยู่มากมายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ในแต่ละแห่งเราจะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายขนาดอาศัยอยู่มากมาย ซึ่งบางครั้งถ้าไม่สังเกต อาจไม่เห็นการเคลื่อนไหวใด ๆ ของสัตว์เลย แต่ที่จริงแล้วไม่ว่าจะเป็นใต้พื้นทราย ใต้ก้อนหิน หรือตามซอกหินจะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้เนื่องจากพวกมันต้องซ่อนตัวและหลบแดด ที่ส่องมาถูกตัว เพราะอาจทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและตายได้ ลักษณะดังกล่าวบนหาดทราย ทาให้เราพบสิ่งมีชีวิตน้อย เราจึงไม่ค่อยพบพืชขนาดใหญ่แต่จะพบไดอะตอมที่อาศัยอยู่หน้าดิน หรืออยู่ตามเม็ดทราย 
1.6
หน่วยที่ 1 
52 
ดังนั้นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามหาดทรายจะมีความสามารถพิเศษในการฝังตัว เช่น ปูหนุมาน มีขาที่แบนเป็นใบพาย ใช้ในการว่ายน้าและพุ้ยทรายฝังตัวเอง หอยเสียบจะมีเท้าขนาดใหญ่ ช่วยในการฝังตัว หอยตลับจะมีเปลือกหนาแข็งแรง และจะยื่นท่อน้าออกเหนือพื้นทราย ในช่วงเวลาน้าขึ้น เป็นต้น 
ภาพที่ 1 - 22 ปูหนุมานหรือปูลาย 
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=639&s=tblanimal 
ภาพที่ 1 - 23 หอยเสียบ ที่มา : http://www.siamfishing.com/content/view.php?id=542&cat=youtube
หน่วยที่ 1 
53 
เป็นพื้นฐานของสายใยอาหาร 
ด้วยความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่สามารถพบได้ในระบบนิเวศหาดทรายนั้น ส่งผลให้เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสัตว์หลาย ๆ ชนิด เป็นแหล่งฐานพลังงานของสิ่งมีชีวิต ต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ เช่น เป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์ที่กรองกินอาหารจากทราย รวมถึงเป็นแหล่ง อาหารของนกและปลาทะเลหลายชนิด ก่อให้เกิดเป็นห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารที่สาคัญใน ระบบนิเวศ แหล่งอาศัยและวางไข่ของสัตว์น้าหายาก 
เป็นแหล่งวางไข่ของเต่าทะเล เนื่องจากเต่าทะเลต้องขึ้นมาวางไข่บนหาดทรายบริเวณเหนือ ระดับน้าขึ้นสูงสุด และพื้นที่หาดทรายนั้นต้องมีลักษณะเป็นทรายขาว สะอาด โดยทั่วไปเต่าทะเล จะขุดหลุมสาหรับวางไข่เหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด แต่ก็มีเต่าทะเลบางตัวที่ขึ้นวางไข่ไกลจากระดับ น้าขึ้นสูงสุดถึง 200 เมตร และพื้นที่แหล่งหญ้าทะเลยังเป็นอาหารหลักที่สาคัญของพะยูน โดยพะยูนจะหากินตามแนวหญ้าทะเลที่ความลึก 1 - 3 เมตร นอกจากจะเป็นอาหารของพะยูน แล้ว ยังเป็นอาหารของเต่าทะเล เป็นที่อยู่อาศัย ที่หลบภัย ผสมพันธุ์ วางไข่ และเป็นแหล่ง อนุบาลของสัตว์น้าวัยอ่อน 
ภาพที่ 1 - 24 เต่าทะเลวางไข่บนชายหาด ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=mindbechild&month=22-07- 2008&group=3&gblog=4
หน่วยที่ 1 
54 
แหล่งอาศัยของนกทะเล 
ชายหาดบางแห่งหรือพื้นที่เกาะบางเกาะเป็นบริเวณที่ที่มีนกทะเลหลายชนิดอาศัยอยู่ ทั้งนกประจาถิ่นและนกต่างถิ่นที่เข้ามาหาอาหาร ผสมพันธุ์หรือวางไข่ ในบริเวณพื้นที่ชายหาด เช่น นกอีก๋อย นกกระแตแต้แว้ด และในบางบริเวณยังเป็นที่อาศัยของนกที่หายาก 
ภาพที่ 1 - 25 นกอีก๋อย 
ที่มา : http://www.phitsanulokfishing.com/board/index.php?topic=137.0 
ภาพที่ 1 - 26 นกกระแตแต้แว้ด ที่มา : http://www.rspg.or.th/articles/anurak/anurak8.htm
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด

More Related Content

What's hot

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการNatthawut Sutthi
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน Suthee Saritsiri
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 

What's hot (20)

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 

Viewers also liked

หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...Dr.Choen Krainara
 
เมธอด ชั้น ม 6 ห้อง 2
เมธอด ชั้น ม  6 ห้อง 2เมธอด ชั้น ม  6 ห้อง 2
เมธอด ชั้น ม 6 ห้อง 2Pookie Pook
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1sukanya petin
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 

Viewers also liked (20)

หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 
เมธอด ชั้น ม 6 ห้อง 2
เมธอด ชั้น ม  6 ห้อง 2เมธอด ชั้น ม  6 ห้อง 2
เมธอด ชั้น ม 6 ห้อง 2
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 

Similar to หน่วยที่1ชายหาด

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยpiyanatpatitang
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfคู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfSuthat Wannalert
 
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...Dr.Choen Krainara
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งjumjaP
 
10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอOporfunJubJub
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอOporfunJubJub
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programguestd73ff2
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 

Similar to หน่วยที่1ชายหาด (20)

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ขยะล้นทะเล
ขยะล้นทะเลขยะล้นทะเล
ขยะล้นทะเล
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
3.คำนำ
3.คำนำ3.คำนำ
3.คำนำ
 
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdfคู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
คู่มือความรู้การกัดเซาะชายฝั่ง.pdf
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่งภูมิภาคชายฝั่ง
ภูมิภาคชายฝั่ง
 
10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ10 อันดับทะเลปอโอ
10 อันดับทะเลปอโอ
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 

More from Wan Ngamwongwan

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 

หน่วยที่1ชายหาด

  • 1. หน่วยที่ 1 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชายหาด ที่มา : คู่มือเรียนรู้ขยะทะเล ชายฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมาย อธิบายการเกิดขึ้นและจาแนกประเภทของ ชายหาดได้ 2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อชายหาดได้ 3. อธิบายลักษณะ และแหล่งกาเนิดของตะกอนบนชายหาดได้ 4. บอกความสาคัญ การใช้ประโยชน์และแนวทางการจัดการพื้นที่ ชายหาด และชายฝั่งทะเลได้ 5. บอกประโยชน์ของพื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเลได้ 6. บอกความสาคัญของการจัดการพื้นที่ชายหาดและฝั่งทะเลได้ สวัสดีจ้ะ...เด็ก ๆ พี่กบจะพาไป เรียนรู้ เรื่อง ชายหาดกัน...
  • 2. หน่วยที่ 1 9 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชายหาด ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ประเภท ลักษณะพื้นที่ และการเกิดของชายหาดรวมทั้งปัจจัย ที่มีผลต่อชายหาด 2. เขียนบรรยายความสาคัญและการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ชายหาดและชายฝั่ง เนื้อหา 1.1 การเกิดขึ้นของชายหาด 1.2 รูปแบบชายหาด 1.3 แนวต่าง ๆ บนหาด 1.4 ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด 1.5 ตะกอนชายหาด 1.6 ความสาคัญและการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเล แนวคิด ชายหาด หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ โดยทั่วไปเรียกพื้นที่นี้ว่า ฝั่งทะเลหรือชายทะเล หรือหมายถึง ระบบนิเวศชายฝั่ง ตั้งแต่ระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้น ที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง ชายหาดมักประกอบด้วยตะกอนขนาดต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการผุพัง สึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน ตะกอนดินจากแม่น้าที่ไหลลงทะเล หรือการผุพังของปะการัง
  • 3. หน่วยที่ 1 10 เปลือกหอย ขนาดของตะกอนที่ต่างชนิดกันทาให้เกิดชายหาดที่ต่างกัน โดยแบ่งได้ 3 ประเภท คือ หาดทราย หาดหินหรือหาดกรวด และหาดโคลน ชายหาดมีการเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวตลอดเวลาโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ น้าขึ้นน้าลง คลื่น กระแสน้า ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากชายหาด ทาให้ ตะกอนมีขนาดเล็กลง และอาจทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง หรือทาให้เกิดการทับถมทาให้เกิด ชายหาดเพิ่มขึ้น หาดทรายและชายฝั่งทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีคุณค่าและความสาคัญ เป็นแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าต่อระบบนิเวศ สังคมและเศรษฐกิจ ปัจจุบันชายหาดที่สวยงาม ถูกนาไปใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวนารายได้จานวนมากเข้าสู่ชุมชนและประเทศ ชายหาดยังมีบทบาทที่ สาคัญด้านอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เป็นพื้นฐานของสายใย อาหาร เป็นแหล่งอาศัยและวางไข่ของสัตว์น้าหายาก เป็นแหล่งอาศัยของนกทะเล เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งประมง รวมทั้งเป็นแนวป้องกันพายุ ดังนั้นเมื่อมีการใช้ประโยชน์จากชายหาดและชายฝั่ง ทะเลมากขึ้น จึงต้องมีการบริหารจัดการการใช้พื้นที่ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูบริเวณชายหาดและชายฝั่ง ทะเล ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชน ตลอดจนนักท่องเที่ยวเพื่อให้ ชายหาดและชายฝั่งทะเลมีความสมบูรณ์ สวยงามตลอดไป จุดประสงค์การเรียนรู้ประจาหน่วย 1. บอกความหมาย อธิบายการเกิดขึ้นและจาแนกประเภทของชายหาดได้ 2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อชายหาดได้ 3. อธิบายลักษณะ และแหล่งกาเนิดของตะกอนบนชายหาดได้ 4. บอกความสาคัญ การใช้ประโยชน์และแนวทางการจัดการพื้นที่ชายหาด และชายฝั่ง ทะเลได้
  • 4. หน่วยที่ 1 11 เด็ก ๆ รู้จักชายหาดแค่ไหน.. .....ชายหาดที่ดีควรมีทรายขาว ดูสะอาดตา...จริงไหม .....หาดทรายเป็นพื้นที่คล้าย ทะเลทรายจึงไม่ค่อยมีสัตว์ อาศัยอยู่...เป็นอย่างนั้น หรือเปล่า แล้วชายหาดเหมือนกัน ทุกหาดหรือไม่..
  • 5. หน่วยที่ 1 12 คนทั่วไปมักคิดอย่างนั้น แต่ที่จริงแล้ว...ไม่ใช่สักหน่อย เมื่อพูดถึงหาด คนมักคิดถึงแต่หาดทรายขาวทอดยาวสะอาดตา เหมาะแก่การพักผ่อนในวันหยุด แต่ความจริงหาดมีหลายแบบ หาดทราย หาดโคลน หาดหิน นับเป็นหาดที่ดีได้เท่าเทียมกัน ทุกวันนี้ หาดทรายมีค่าแค่เป็นแค่สถานที่ท่องเที่ยว หาดโคลน กลายเป็นที่เฉอะแฉะเปรอะเปื้อนไม่มีประโยชน์ คิดแต่ว่ามีไว้เพื่อพัฒนา เป็นเขตอุตสาหกรรม ส่วนแนวโขดหินชายฝั่งทะเล ดูเหมือนเป็นหิน โสโครกที่เกะกะและอันตราย ในความเป็นจริงที่ตามักมองไม่เห็น หาดแต่ละหาดมีชีวิตชีวามากกว่านั้น แต่ถ้าเรา สังเกตดูดี ๆ ไม่ว่าจะเป็นหาดทราย หาดหิน หรือหาดโคลน ต่างเป็นบ้านและโรงอาหาร ของสิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด สัตว์ใหญ่น้อย กระทั่งพืชที่อาศัยอยู่ริมหาดต้องสุดยอด อดทน สัตว์บางตัวอยู่ในแนวน้าขึ้นน้าลง น้าขึ้นตัวก็เปียก พอน้าลดตัวแห้ง แถมต้อง ตากแดดไปทั้งวัน หลายชนิดที่ทนเปียกทนตากแห้งไม่ไหว ก็มักเลือกอาศัยตรงน้าท่วมนาน ส่วนพืชต้องรับมือกับลมแรง ละอองเกลือ แดดจ้า มีน้าจืดและแร่ธาตุน้อย เรียกว่าพืชที่ขึ้น ชายหาดต้องเป็นสุดยอดนักปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมรุนแรง ..........ไม่ใช่แค่นั้น หาดยังมีซากที่ถูกคลื่นซัดขึ้นมาเกยเป็นแนวยาว อาจเป็นซากพืช ซากสัตว์ หรือขยะ ซึ่งบอกร่องรอยของหาดหรือทะเลแห่งนั้นได้ไม่น้อย
  • 6. หน่วยที่ 1 13 กิจกรรมที่ 1.1 ชายทะเลที่ฉันอยากไป คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนวาดภาพชายทะเลที่นักเรียนอยากไป แล้วระบายสีให้สวยงาม พร้อมเขียน บรรยายสภาพชายทะเลนั้น 5 บรรทัด ลงในสมุดงาน 2. นาเสนอภาพวาด พร้อมบอกเล่าจินตนาการหน้าชั้นเรียน คาบรรยาย ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... วาดภาพ เด็ก ๆ ..เล่าให้พี่กบฟังเกี่ยวกับ ชายหาดที่เคยไปบ้างสิ.....
  • 7. หน่วยที่ 1 14 ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความยาวทั้งสิ้น 2,667 กิโลเมตร ครอบคลุม 23 จังหวัด แบ่งเป็นชายฝั่งด้านอ่าวไทย 1,653 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด และชายฝั่งทะเล ด้านอันดามัน 1,014 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด เป็นที่รวมของทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่เป็นฐานในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม มีความสาคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ซึ่งถือ เป็นแหล่งรายได้ที่สาคัญของประเทศ การเกิดขึ้นของชายหาด 1. ความหมายของชายหาด ชายหาด (Beach) หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ โดยทั่วไปเรียกพื้นที่ นี้ว่า ฝั่งทะเลหรือชายทะเล ซึ่งจะพบในแผ่นดินหรือหมู่เกาะ หรือ หมายถึง ระบบนิเวศชายฝั่ง ตั้งแต่ระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง ประกอบด้วยพื้นผิวที่มี เม็ดทรายขนาดต่าง ๆ กัน และในพื้นที่แต่ละแห่งจะมีความลาดชันไม่เหมือนกัน กระแสน้าขึ้น น้าลงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ความชื้นและอุณหภูมิของชายหาดแตกต่างกัน และมีผลต่อการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตบริเวณชายหาด เด็ก ๆ ...รู้ไหม ชายฝั่งทะเลของ เรายาวเท่าไร.. 1.1
  • 8. หน่วยที่ 1 15 2 การเกิดขึ้นของชายหาด ชายหาดนั้นเกิดจากการผุพังสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน โดยเฉพาะหินทราย และ หินแกรนิต จนกลายเป็นทรายและดิน ถูกพัดพาลงสู่ท้องทะเล จากนั้นตะกอนดินและทราย จะถูกแยกจากกันโดยเกลียวคลื่น ส่วนที่เป็นดินจะตกตะกอนทับถมเป็นโคลนตมอยู่บริเวณ ใกล้ปากแม่น้าและงอกเป็นผืนแผ่นดินต่อไป ส่วนที่เป็นทรายซึ่งหนักและทนทานต่อการ ผุกร่อนกว่าก็จมลง และสะสมเป็นพื้นทรายใต้ท้องทะเล โดยมีบางส่วนถูกคลื่นพัดพาเข้าสู่ฝั่ง สะสมมากขึ้นจนเกิดเป็นแนวหาดตามชายฝั่งทั่วไป เม็ดทรายบนชายหาดจึงเป็นส่วนที่เหลือจากการผุกร่อนของหินนั่นเอง ซึ่งมักประกอบด้วย แร่ควอตซ์ ที่มีความแข็งและทนทานต่อการผุกร่อนสูง หาดแต่ละแห่งมีสีสันและขนาดของเม็ดทราย แตกต่างกันออกไป บางหาดมีเม็ดทรายเล็กขาวละเอียด บ้างมีสีขาวขุ่นและละเอียดราวกับแป้ง เพราะมีกาเนิดมาจากซากปะการังที่ผุพัง แล้วตะกอนที่ทับถมบนชายหาด มาจากไหนกันคะ... เป็นตะกอนที่มีมาแต่เดิม พบได้ใน บริเวณพื้นที่นั้น หรือ ถูกพัดพามา โดยคลื่น ทับถมกันเป็นชายหาดจ้ะ
  • 9. หน่วยที่ 1 16 คลื่นจะเป็นตัวพัดพาที่สาคัญ ถ้าไม่มีคลื่น ตะกอน ทรายละเอียดและโคลน จะมีการทับถมอยู่บนชายหาดมากเกินไป ในบริเวณชายหาดที่เปิด ได้รับแรงจากคลื่นมาก มักพบทรายแบบหยาบ และเศษซากปะการังที่แตกหักตามแนวชายหาด นอกจากนี้ระบบนิเวศชายหาด ยังสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับระบบนิเวศป่าชายเลน และแนวปะการังด้วย เนื่องจากพื้นที่ที่เป็นทรายและโคลนยังแผ่ครอบคลุมถึงป่าชายเลน และบริเวณแนวปะการังในเขตปะการังแนวราบ (reef flat) ซึ่งเป็นบริเวณน้าตื้น จึงทาให้เรา สามารถพบสัตว์และพืชบางชนิดได้ในแหล่งที่อยู่ทั้งสามแบบนี้ เช่น บริเวณเศษซากปะการัง ใกล้แนวปะการังจะพบสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชนิดเดียวกับบริเวณทรายละเอียดในหาดทราย หญ้าทะเลจะพบบริเวณตะกอนขนาดกลางถึงละเอียด รากหญ้าทะเลจะทาหน้าที่ยึดตะกอนไว้ และไม่สามารถเติบโตได้ถ้าต้องอยู่เหนือน้าทะเลเป็นเวลานาน จึงมักพบแนวหญ้าทะเลบริเวณ ตอนล่างของชายหาด เด็ก ๆ รู้แล้วใช่ไหม ว่าชายหาด ที่เราไปเล่นน้าทะเล ก่อกองทราย นั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร แล้วชายหาด มีกี่แบบ อะไรบ้าง.....ตามครูไป ศึกษากันได้เลยจ้ะ
  • 10. หน่วยที่ 1 17 รูปแบบชายหาด ชายหาดทั่วไปจะพบขนาดของเม็ดทรายที่แตกต่างกัน บริเวณส่วนบนของหาดจะประกอบ ด้วยทรายหยาบ ขณะที่บริเวณส่วนล่างของหาดจะพบทรายละเอียดหรือโคลน รูปแบบดังกล่าว มักพบบริเวณหาดที่อยู่ด้านหลังของแนวปะการัง ซึ่งจะเป็นแนวกาบังให้กับชายฝั่งที่อยู่ด้านหลัง คลื่นขนาดใหญ่จะซัดเข้าสู่แนวปะการังและแตกตัวลงเป็นคลื่นเล็ก ๆ เมื่อคลื่นพัดเข้าชายฝั่งก็จะ เป็นตัวแยกตะกอน ตะกอนและเม็ดทรายขนาดใหญ่จะถูกพัดขึ้นสู่ด้านบนของหาด ส่วนที่มีขนาด เล็กก็จะถูกพัดลงมาด้านล่างของหาดบริเวณแนวน้าลงต่าสุด ขนาดของตะกอนที่ต่างชนิดกันทาให้ เกิดชายหาดที่ต่างกันโดยแบ่งออกได้ 3 ประเภท ตามชนิดของตะกอน ดังนี้ 1. หาดทราย (Sand Beach) เป็นหาดที่มีเม็ดทรายละเอียด ซึ่งวัตถุต้นกาเนิดของทรายได้มาจากหินแกรนิต หรือหินทราย ขนาดและสีของทรายจะแตกต่างกันตามโครงสร้างของหินต้นกาเนิดและวิธีการสลายตัว ซึ่งโดยมาก เป็นสีขาวเม็ดเล็กละเอียด เม็ดทรายบนชายหาดจึงเป็นส่วนที่เหลือจากการผุกร่อนของหินนั่นเอง ซึ่งมักประกอบด้วยแร่ควอตซ์ (Quartz) ที่มีความแข็งและทนทานต่อการผุกร่อนสูง หาดทรายแต่ละแห่งมีสีสันและขนาดของเม็ดทรายแตกต่างกันออกไป บางหาดมีเม็ดทราย เล็ก ขาว ละเอียด เช่น หาดทรายแก้วบนเกาะเสม็ด จ.ระยอง อย่างไรก็ตามมีหาดทราย อีกประเภทหนึ่งซึ่งมีต้นกาเนิดจากซากปะการังที่ผุพังแล้ว โดยมากจะมีสีขาวขุ่นและมีขนาดเล็ก ละเอียดมาก เช่น ที่หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน ทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน และหาดทราย ที่พื้นทรายเป็นเม็ดทรายปนปะการัง เช่น หาดทรายแก้ว ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี 1.2
  • 11. หน่วยที่ 1 18 ภาพที่ 1 - 1 หาดทรายแก้ว เกาะเสม็ด จ.ระยอง ที่มา : http://www.hamanan.com/tour/rayong/hsk.html ภาพที่ 1-3 หาดทราย หมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา ภาพที่ 1 - 2 หาดทราย หมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา ที่มา : http://hilight.kapook.com/view/34702 มาดูตัวอย่าง หาดทรายกันดีกว่า บทความ เรื่อง ชายหาดหลากสี http://wan1966.wordpress.com/ และชายหาด 9 สีในแต่ละมุมของโลก http://www.myfirstbrain.com/main_view.aspx?ID=74556
  • 12. หน่วยที่ 1 19 2. หาดหินหรือหาดกรวด (Shingle Beach) เป็นหาดที่ประกอบด้วยหินหรือกรวดขนาดใหญ่ทับถมกันเมื่อถูกคลื่นซัดทาให้เกิดการขัดสีกัน จนแบนเรียบ บาง กลมมน เช่น หาดที่เกาะหินงาม อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล หาดหิน บริเวณหน้าสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุรี ภาพที่ 1 - 3 หาดหินบริเวณหน้าสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุรี ที่มา : http://www.arri.chula.ac.th/Cholatassathan_Z04.htm ภาพที่ 1 - 4 หาดหินงาม (เกาะตะรุเตา) จังหวัดสตูล ที่มา : http://www.dmcr.go.th/marinecenter/beach_satoon.php
  • 13. หน่วยที่ 1 20 3. หาดโคลน (Mud Flat) ภาพที่ 1 - 5 หาดไร่เล ด้านตะวันออก จ.กระบี่ ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=400805 มักพบอยู่ใกล้กับบริเวณแม่น้าสายใหญ่ เมื่อตะกอนดิน จากแผ่นดินถูกน้ากัดเซาะละลายไปตามลาคลองหรือแม่น้า ไหลลงสู่ทะเล แล้วตกตะกอนลง ณ บริเวณปากแม่น้า เกิดเป็น ลานโคลนหรือเลนขึ้น เวลาน้าทะเลขึ้นจะถูกท่วมจนมิดลาน ทาให้ดินบริเวณนี้มีลักษณะเป็นเลนด้วย โดยมากมีความลาดชัน น้อยมาก เมื่อน้าลงจะปรากฏขึ้นเป็นลานกว้าง แต่อาจมีแอ่ง ที่น้าขังอยู่บ้างเล็กน้อย และด้วยความสมบูรณ์ของธาตุอาหาร ในตะกอนดินที่มีการทับถมกัน และระดับน้าทะเลหรือน้ากร่อย ที่พอเหมาะ หาดโคลนจะมีพรรณไม้ราบลุ่มป่าชายเลน ขึ้นตามธรรมชาติ ในบางแห่งที่หาดโคลน มีเม็ดทรายปนอยู่ด้วย และเป็นหาดที่มีความลึกน้อยจะพบว่ามีหญ้าทะเลขึ้นอยู่เป็น ลานกว้าง
  • 14. หน่วยที่ 1 21 ภาพที่ 1 - 6 อ่าวพนังตัก จ.ชุมพร ที่มา : http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=222679&st=61 ภาพที่ 1 - 7 หาดรูสะมิแล จ.ปัตตานี ที่มา : http://www.taklong.com/south/show-south.php?No=198074 หาดโคลนก็สวยไปอีกแบบจ้ะ
  • 15. หน่วยที่ 1 22 แนวต่าง ๆ บนหาด (Beach Zonation) ภาพที่ 1 - 8 แนวต่าง ๆ บนหาด ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=249667 ชายหาด มีลักษณะของพื้นที่ที่แตกต่างกัน โดยมีปัจจัยหลัก ที่เป็นตัวกาหนดรูปแบบของชายหาด คือ น้าขึ้นน้าลง แนวของ น้าขึ้นน้าลงจะเป็นตัวแบ่งความแตกต่างของลักษณะพื้นที่ ซึ่งจะแบ่งเป็น แนวเหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด แนวระหว่างน้าขึ้นและน้า ลง และแนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในบริเวณต่าง ๆ ของชายหาด ก็จะมีความแตกต่างกัน เช่น สัตว์ที่ต้องอาศัยในบริเวณ เขตระหว่างน้าขึ้นและน้าลง ต้องปรับตัวให้สามารถทนทานความร้อน จากแสงอาทิตย์ได้ ในช่วงเวลาที่น้าลง พวกที่อยู่เหนือเขตน้าขึ้นสูงสุด ก็ต้องสามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อหลบแสงอาทิตย์ หรือขุดรูเพื่อหนีจากผู้ล่า 1.3
  • 16. หน่วยที่ 1 23 1. แนวเหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด 2. แนวน้าขึ้นและน้าลง 3. แนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด เป็นพื้นที่ที่อยู่เหนือจากระดับน้า เมื่อน้าขึ้นสูงสุด อยู่ทางด้านในต่อเนื่องกับแผ่นดิน บริเวณนี้จะได้รับ ผลกระทบจากไอเค็มของทะเล แต่จะไม่มีช่วงที่จมใต้น้า เป็นบริเวณที่อยู่ระหว่างช่วงน้าขึ้นสูงสุดและน้าลงต่าสุด เมื่อน้าลงบริเวณนี้ จะเปิดสู่อากาศ เมื่อน้าขึ้นจะจมอยู่ใต้น้า บริเวณนี้จึงเป็นบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา สิ่งมีชีวิตที่อาศัยบริเวณนี้จึงต้องมีการปรับตัวอย่างมาก เช่น การฝังตัว ใต้พื้นทรายหรือสร้างท่อ มีเปลือกแข็งเพื่อป้องกันการเสียดสีจากทรายที่เกิดจาก การที่คลื่นซัดเข้าออกจากฝั่ง และในช่วงที่น้าลดร่างกายจะแห้ง จึงต้องมีเหงือกที่มี ความชุ่มชื้นตลอดเวลาทั้งนี้เกิดจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นจากแสงแดดที่ส่องในช่วง เวลากลางวัน เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกสุดของแนวชายหาด และในช่วงที่ น้าลงต่าสุดส่วนนี้จะจมอยู่ใต้ระดับน้า หรืออาจจะโผล่ พ้นน้าได้บ้างบางส่วน ตะกอนส่วนมากเป็นทรายละเอียด ปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง เนื่องจาก ได้รับอิทธิพลของคลื่นจากทะเลด้านนอกในการสะสมตัว
  • 17. หน่วยที่ 1 24 กิจกรรมที่ 1.2 ทดสอบความรู้เรื่องชายหาดกันหน่อย.. คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน 1. ชายหาด หมายถึงบริเวณใด .......................................................................................................................................................................... 2. กระบวนการใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นของชายหาด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. เมื่อจาแนกชายหาดตามชนิดของตะกอน สามารถแบ่งชายหาดออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. หาดประเภทใดที่เกิดจากการผุกร่อนของหินแกรนิต หรือหินทราย .......................................................................................................................................................................... 5. บริเวณใกล้ปากแม่น้าสายใหญ่ มักพบชายหาดประเภทใด .......................................................................................................................................................................... 6. บริเวณใดของชายหาดที่ได้รับผลกระทบจากไอเค็มแต่ไม่มีส่วนใดจมน้า .......................................................................................................................................................................... 7. บริเวณใดของชายหาดที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะเหตุใด .......................................................................................................................................................................... 8. บริเวณใดของชายหาดที่ส่วนใหญ่จะจมอยู่ใต้น้าเกือบตลอดเวลา .......................................................................................................................................................................... ข้อใดที่เด็ก ๆ ทาไม่ได้ ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาอีกครั้งจ้ะ
  • 18. หน่วยที่ 1 25 จากการศึกษาเกี่ยวกับชายหาด เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง ........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ ชายหาด หมายถึง พื้นที่ระหว่างขอบฝั่งกับแนวน้าลงเต็มที่ ชายหาด เกิดจากการผุพังสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน โดยเฉพาะหินทราย และหินแกรนิต จนกลายเป็นทรายและดิน ถูกพัดพาลงสู่ท้องทะเล ชายหาดแบ่งออกได้ 3 ประเภท ตามชนิดของตะกอน ดังนี้ หาดทราย หาดหินหรือหาดกรวด และหาดโคลน ชายหาด แบ่งพื้นที่ออกเป็นแนวต่าง ๆ ดังนี้ แนวเหนือระดับน้าขึ้น สูงสุด แนวน้าขึ้นน้าลง และแนวต่ากว่าระดับน้าลงต่าสุด บริเวณแนวน้าขึ้นน้าลงนั้นสิ่งมีชีวิตต้อง ปรับตัวมากกว่าบริเวณอื่นจึงจะสามารถ อยู่รอดได้
  • 19. หน่วยที่ 1 26 ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด (Beach Processes) 1. น้าขึ้นน้าลง (Tides) เด็ก ๆ หลายคนคงชอบไปพักผ่อนหย่อนใจ ที่ชายหาด แต่รู้ไหมยังมีสิ่งมีชีวิตอีกไม่น้อยที่ใช้ชีวิต อยู่ใกล้และพึ่งพาชายหาด แล้วชายหาดที่เราคุ้นเคยมีอะไรมาเกี่ยวข้องบ้าง... เป็นการเปลี่ยนแปลงของระดับของผิวน้าทะเลในแนวตั้ง เกิดจากแรง ดึงดูดของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก และเปลี่ยนแปลงทุก ๆ วัน แตกต่างกันไปตามลักษณะของภูมิประเทศ การขึ้นลงของน้านั้นจะมีความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ แบ่งได้เป็น - น้าเดี่ยว น้าขึ้น 1 ครั้ง และน้าลง 1 ครั้งต่อวัน - น้าคู่ น้าขึ้น 2 ครั้ง และน้าลง 2 ครั้งต่อวัน - ระดับของน้าขึ้นลงในแต่วันนั้นจะไม่เท่ากัน 1.4
  • 20. หน่วยที่ 1 27 น้าเกิด - น้าตาย เป็นสภาวะอย่างหนึ่งของน้าขึ้นน้าลงในบริเวณริมทะเลหรือบริเวณ ที่ได้รับผลกระทบจากน้าทะเล น้าเกิด (spring tide) หมายถึง น้าขึ้นในระดับสูงมากและลงต่ามากในช่วงวัน เนื่องจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกับโลก จึงมีอิทธิพลในการดึงดูดน้าทะเล ให้มีระดับแตกต่างกันมากดังกล่าว ในแต่ละเดือน มีน้าเกิด 2 ช่วง คือ ช่วงวันเดือนเพ็ญ ตั้งแต่ วันขึ้น 13 ค่าถึงวันแรม 2 ค่า และช่วงวันเดือนดับ ตั้งแต่ วันแรม 13 ค่าถึงวันขึ้น 2 ค่า น้าตาย (neap tide) หมายถึง น้าขึ้นน้อยและลงน้อย บางครั้งจะสังเกตไม่ค่อยได้ว่าเป็น น้าขึ้นหรือน้าลง ทั้งนี้เนื่องจาก ดวงจันทร์ โลก และดวงอาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน ในแต่ละเดือนมีน้าตาย 2 ช่วง คือ ช่วงกึ่งปักษ์แรก คือ ระหว่างขึ้น 5 - 9 ค่า และช่วงกึ่งปักษ์หลัง คือ ระหว่างแรม 5 - 9 ค่า
  • 21. หน่วยที่ 1 28 ดังนั้น ช่วงเวลาที่ดีที่สุดที่เราสามารถศึกษาสิ่งมีชีวิตบริเวณชายหาด คือ เวลาน้าลงต่าสุดในช่วงน้าเกิด นั่นเอง ภาพที่ 1 - 9 แสดงช่วงน้าเกิด - น้าตาย ที่มา : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=74272 ชายหาด เป็นบริเวณที่น้าทะเลและแผ่นดินมาพบกัน จึงได้รับอิทธิพลจากน้าขึ้นน้าลง อย่างมาก ในช่วงที่น้าลงสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณด้านบนของหาดเหนือระดับน้าจะต้องได้รับ แสงอาทิตย์เป็นเวลานาน อาจทาให้ร่างกายต้องสูญเสียน้าได้ ส่วนพวกที่อยู่ด้านล่างต่ากว่า ระดับน้าลงก็จะยังคงจมอยู่ใต้น้า แต่ถ้าเป็นช่วงน้าเกิดมีความแตกต่างของระดับน้ามากเวลาที่ น้าลงต่าสุดกลุ่มสัตว์ที่อาศัยด้านล่างในเขตน้าขึ้นน้าลงก็อาจต้องได้รับแสงอาทิตย์และร่างกาย สูญเสียน้าได้เช่นกัน น้าลง น้าขึ้น น้าขึ้น น้าลง ดวงจันทร์ โลก ดวงอาทิตย์ รูปแสดงการเกิดน้าเกิด น้าขึ้นมากและลงมาก ดวงจันทร์ น้าขึ้น น้าขึ้น น้าลง โลก น้าลง ดวงอาทิตย์ รูปแสดงการเกิดน้าตาย น้าขึ้นน้อยและลงน้อย
  • 22. หน่วยที่ 1 29 2. คลื่น (Wave) เด็กๆรู้จัก สึนามิ หรือไม่... เมื่อเวลาไปทะเล จะสังเกตได้ว่า มีคลื่นซัดเข้าหาฝั่งตลอดเวลา คลื่นเกิดจากลม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด และจากการที่ลมพัดมากระทบกับผิวน้า จะทาให้ผิวน้านูน สูงขึ้นคล้ายสันเขา ความสูงของคลื่นทาให้เราทราบถึงความแรงของลม เมื่อคลื่นเคลื่อนตัว ออกจากแหล่งกาเนิดจะมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมันรวมเอาคลื่นขนาดเล็ก ๆ เข้าไปไว้ด้วย เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข้ากระทบฝั่งจะกระทบกับพื้นก่อนทาให้คลื่นมีความสูงมากขึ้น แนวด้านหน้าของคลื่นจะโค้งขนานไปกับชายฝั่ง เรียกว่าการหักเหของคลื่น เมื่อใกล้ฝั่ง มากขึ้น แรงเสียดทานของพื้นทะเลจะมีมากขึ้น ทาให้ผิวหน้าของคลื่นแตก เรียกว่า “คลื่นหัวแตก” (Breaker) เราจะสังเกตเห็นได้เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข้ามากระทบฝั่ง น้าจะแตกซ่าเป็นฟองกลายเป็นฟองคลื่นบนหาด “สึนามิ” (Tsunami) ใช้เรียกคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิดมีความ ยาวของคลื่นประมาณ 100 - 200 กิโลเมตร แต่มีความสูงเพียง 0.3 - 0.6 เมตร เมื่อเกิดคลื่นชนิดนี้ผู้ที่อยู่บนเรือหรือชาวประมงจะไม่สามารถสังเกตเห็นได้ ประกอบกับ ระยะเวลาในการเกิดคลื่นจะสั้นมาก คือ ประมาณ 10 – 30 วินาทีเท่านั้น แต่คลื่น ชนิดนี้จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงถึง 500 - 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังนั้นเมื่อ คลื่นสึนามิเคลื่อนที่เข้าหาฝั่งจะทาให้ระดับน้าทะเลชายฝั่งสูงกว่าสภาพปกติ 15 - 30 เมตร จึงส่งผลให้เกิดน้าท่วมชายฝั่งทะเลอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ ทรัพย์สินเป็นอันมาก
  • 23. หน่วยที่ 1 30 ภาพที่ 1 - 10 ส่วนประกอบของคลื่น ที่มา : http://www.sci.psu.ac.th/chm/biodiversity/beach_envi.html เมื่อคลื่นเข้าใกล้ชายฝั่ง ความเร็วจะเพิ่มมากขึ้น และแตกออกเป็นคลื่นเล็ก ๆ เกิดซ้า ๆ กันจนกว่าคลื่น จะเข้าถึงชายหาด เวลาที่คลื่นซัดเข้าหาฝั่งก็จะพาทราย จากท้องทะเลเข้ามาด้วยทาให้เกิดทับถมกันจนเป็นชายหาด หรือบางครั้งก็อาจทาให้เกิดการกัดเซาะพังทลายของชายฝั่ง ได้เช่นกัน คุณลุงจ๊ะ...แล้วคลื่นมีส่วนประกอบ อะไรบ้าง..ถึงมีแรงมหาศาล... คลื่นประกอบด้วย ยอดคลื่น (crest) ท้องคลื่น (trough) และ ความสูงของคลื่น (height) ซึ่งจะวัดได้จากท้องคลื่นไปจนถึงยอดคลื่น ในแนวดิ่ง และความยาวคลื่น (amplitude) จะวัด จากยอดคลื่นลูกหนึ่งถึงยอดคลื่นอีกลูกหนึ่ง ที่ต่อเนื่องกัน หรือจากท้องคลื่นลูกหนึ่งถึงท้องคลื่น อีกลูกหนึ่งที่อยู่ต่อเนื่องกัน ดูภาพประกอบด้วยจ้ะ
  • 24. หน่วยที่ 1 31 คลื่นหัวแตก (Breaker) โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1) Plunging Breaker เป็นคลื่นที่มีการปล่อยพลังงานอย่างรวดเร็วและรุนแรง เดินทาง ด้วยความเร็วสูง คลื่นจะม้วนตัวไปข้างหน้าและแตกออกอย่างรวดเร็ว มักเกิดบริเวณชายฝั่ง ที่มีความลาดชันมาก น้าจะคลุมอากาศไว้ทาให้มีการใช้พลังงานอย่างรวดเร็ว และมีเสียงดังเกิดขึ้น ภาพที่ 1 - 11 การแตกของคลื่นแบบ Plunging Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
  • 25. หน่วยที่ 1 32 2) Spilling Breaker คลื่นจะแตกโดยยอดคลื่นโค้งไปข้างหน้า ปลายยอดแตก เป็นฟองขาวทางด้านหน้า และคลื่นจะเว้าทั้งสองข้างเรียกว่า cycloid คลื่นแบบนี้จะมีความชัน มากกว่า 0.01 โดยเฉพาะเมื่อมีลมพัดเข้าสู่ฝั่งในชายหาดที่มีความลาดเอียงน้อย ภาพที่ 1 - 12 การแตกของคลื่นแบบ Spilling Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
  • 26. หน่วยที่ 1 33 3) Surging Breaker เกิดกับชายฝั่งที่มีลักษณะแห้ง (มีบางบริเวณที่น้าซัดไม่ถึง) และมีความชันที่มีการเปลี่ยนแปลงความชันจากบริเวณที่มีความชันสูงมายังความชันน้อย คลื่นจะถอยหลังกลับ และกระแทกกับคลื่นลูกหลังที่ไล่มา ภาพที่ 1 - 13 การแตกของคลื่นแบบ Surging Breaker ที่มา : http://www.agri.kmitl.ac.th/elearning/courseware/aquatic/__1.html
  • 27. หน่วยที่ 1 34 3. กระแสน้า (Current) เกิดจากการไหลของน้าอย่างต่อเนื่อง อาจมีสาเหตุมาจากการกระทาของลมที่พัดผ่านผิวน้า ทาให้น้าเคลื่อนที่ตามกระแสลมได้ กระแสน้าที่เกิดขึ้นเมื่อคลื่นซัดเข้ากระทบฝั่ง น้าทะเลถูก ผลักดันขึ้นมาและไหลกลับลงไปตามขอบหรือแนวชายฝั่ง เรียกว่า กระแสน้าชายฝั่ง (Longshore Currents) กระแสน้าที่มีลักษณะพิเศษอีกแบบหนึ่งเป็นกระแสน้าที่เกิดจาก คลื่นขนาดใหญ่ซัดกระทบชายหาดและสลายตัวลงไหลเป็นทางแคบ ๆ ลงสู่ทะเล เรียกว่า กระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) ซึ่งจะมีความเร็วและแรง เป็นอันตรายมาก ภาพที่ 1 - 14 การปักธงแดงเตือนนักท่องเที่ยวตลอดแนวชายหาด ที่มา : http://rtnpr.blogspot.com/2011/04/blog-post_185.html มีคนตายเพราะความไม่รู้จัก Rip Current โดยปกติแล้ว ทางเจ้าหน้าที่จะปักธงแดงให้เล่นน้าในเขตอยู่แล้ว แต่อาจจะมีบางคน ไม่เข้าใจ
  • 28. หน่วยที่ 1 35 การเกิดกระแสน้ารูปเห็ดนี้จะมองเห็นได้จากในที่สูงเป็นลากว้างประมาณ 5 - 10 เมตร มีความเร็วประมาณ 8 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยขึ้นอยู่กับความสูงของคลื่น รูปร่างและความลาดชัน ของฝั่งทะเล รวมทั้งขนาดของตะกอนและสิ่งกีดขวาง เช่น โขดหินรอดักตะกอน โดยจะเกิดขึ้น บริเวณไม่ไกลจากริมฝั่ง ทาให้ผู้ที่ลงเล่นน้าใกล้ฝั่งตกใจเนื่องจากเมื่อเข้าไปในบริเวณลาของ กระแสน้ารูปเห็ดจะถูกกระแสน้าพาออกไปไกลจากฝั่งสู่น้าลึกอย่างรวดเร็ว ผู้ที่ว่ายน้าไม่แข็ง จะจมน้าเสียชีวิตได้ เราสามารถทราบว่าเกิดกระแสน้ารูปเห็ดขึ้นได้อย่างไรนั้น ให้สังเกตสีของน้าทะเล เพราะ มันเป็นกระแสน้าที่พาเอาตะกอนออกไปนอกชายฝั่ง บริเวณกระแสน้าจึงมีความขุ่นแตกต่างไปจาก น้าทะเลทั่ว ๆ ไปมีการไหลวนปั่นป่วนเพราะความแรงและมีลักษณะคล้ายรูปดอกเห็ดโดยมีลาต้น ยื่นจากชายฝั่งส่วนที่เป็นหมวกเห็ดยื่นไปในทะเลลึก ขนาดยิ่งใหญ่และยิ่งไกลก็ยิ่งแรงมาก เมื่อใด ก็ตามที่กระแสน้าไหลเข้าสู่ฝั่งแล้วถูกกีดขวางจากสิ่งต่าง ๆ เช่น โขดหิน หรือสันทรายไม่ให้ไหล กลับสู่ท้องทะเลได้สะดวก เมื่อมีช่องว่างกระแสน้าก็สามารถไหลกลับได้ ยิ่งเป็นร่องแคบ ๆ น้าก็ยิ่งจะไหลแรง ถ้าช่องกว้างน้าจะไหลช้าและกระจายออกไป ซึ่งความเร็วและความแรงขึ้นอยู่กับ รูปร่าง ความสูงของคลื่นและความลาดชันของชายหาด บางทีไม่ถึงกับตั้งฉากเสียทีเดียว คาว่า ริบ เคอร์เรนท์ (Rip Current) ถ้าแปลเป็น ภาษาไทยตรงตัวก็คือ “กระแสน้ารูปเห็ด” ซึ่งมีคนเข้าใจ ผิดว่าคือทะเลดูด ความจริงแล้วไม่ใช่ เนื่องจากทะเลดูด จะดูดสิ่งต่าง ๆ จากผิวน้าลงไปใต้น้าแต่กระแสน้ารูปเห็ดนี้ จะเกิดขึ้นบนผิวน้าและใกล้ชายฝั่งมีรูปร่างคล้ายดอกเห็ด จึงเรียกกันว่า Rip Current หรือกระแสน้ารูปเห็ด รู้หรือไม่
  • 29. หน่วยที่ 1 36 ในประเทศไทยบริเวณที่เกิดการจมน้าตายจากกระแสน้านี้ประจา ได้แก่ ที่หาดสุรินทร์ จังหวัดภูเก็ต เนื่องจากหาดลาดชันมากถ้าเปรียบเทียบ กับหาดแม่ราพึงแล้วพบว่าหาดแม่ราพึงยังชันน้อยกว่ามาก ภาพที่ 1 - 15 การเกิดกระแสน้ารูปเห็ด ที่มา : http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05169.php
  • 30. หน่วยที่ 1 37 ภาพที่ 1 - 16 การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) ที่มา : http://www.roomholidays.com/travel/newsdetail.php?hnewsid=355 ภาพที่ 1 - 17 การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) ที่มา : http://www.safety-stou.com/sf50/?name=webboard&file=read&id=1020 ก. เมื่อน้าพัดเข้าหาฝั่ง ข. เมื่อน้าไหลกลับ แนวลูกศรสีเหลืองจะเกิดแรงดูด การเกิดกระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current)
  • 31. หน่วยที่ 1 38 ภาพที่ 1 - 18 แสดงให้เห็นว่ามีทะเลอยู่ส่วนหนึ่งที่จะดูดสีม่วงออกไปจากฝั่ง และนั่นคือบริเวณที่ข้างใต้กาลังมีคลื่นใต้น้า ที่มา : http://hotel2thailand.blogspot.com/2011/04/rip-current.html สิ่งที่สังเกตได้จากบนผิวน้าก็คือ ตรงทะเลส่วนนั้นจะไม่มีฟองคลื่นขาว ๆ เหมือนส่วนข้าง ๆ จะเป็นทะเลส่วนที่น้านิ่งคลื่นเบากว่าส่วนอื่น ซึ่งหากเรา ไม่มีความรู้เรื่องคลื่นใต้น้าแล้ว เราอาจจะโผเข้าหาทะเลส่วนนี้เพราะคลื่น เบากว่าส่วนอื่น ซึ่งจะเป็นภัยเงียบที่เราไม่รู้ตัวเลย บทความ เรื่อง คลื่นใต้น้า ( RIP Current ) ภัยใกล้ตัวที่อยากให้อ่าน http://hotel2thailand.blogspot.com/2011/04/rip-current.html คลิปวีดิทัศน์การเกิด RIP Current http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=- hCZuYzNujI#!
  • 32. หน่วยที่ 1 39 ภาพที่ 1 - 19 การเอาตัวรอดจาก Rip Current ที่มา : http://thaiweekender.blogspot.com/2011/02/rip-current.html 1. ถ้าน้าพัดออกฝั่ง อย่าตกใจ อย่าตื่นตระหนก และอย่าพยายามว่ายสวนกระแสน้า เพราะที่ตายกันส่วนใหญ่ เนื่องจากตกใจจนพยายามตะกายว่ายทวนกระแสน้าเพื่อกลับฝั่ง 2. ให้ลอยตัวปล่อยให้น้าพัดเราออกไป อย่าว่ายทวนกระแสน้ามาเข้าฝั่ง 3. เมื่อพ้นส่วนคลื่นใต้น้าแล้ว จะเริ่มรู้สึกว่าไม่มีแรงดูดออกไปในทะเลแล้ว ให้ว่ายเป็น แนวขนานกับฝั่ง 4. ถ้าไม่รู้ว่าจะว่ายไปซ้ายหรือขวาดี ก็ให้ว่ายออกด้านข้างไปหาฟองคลื่นขาว ๆ เพราะ ตาแหน่งที่มีฟองคลื่นขาว ๆ คือตาแหน่งที่น้าเริ่มตื้น และเป็นบริเวณที่น้ากาลังถูกพัดเข้าฝั่ง 5. เมื่อรู้สึกได้ว่าพ้นแนวคลื่นใต้น้าแล้ว ก็ให้ว่ายกลับเข้าฝั่งแล้วคลื่นจะช่วยดันเราเข้าฝั่งเอง ข้อควรระวัง คือ หากพาเด็กไปเล่นน้าทะเลหรือใครที่ว่ายน้าไม่เป็นหรือไม่แข็ง เพื่อความปลอดภัยให้ใส่ชูชีพไว้ก่อนจะดีกว่า และข้อควรระวังอีกอย่างคือ หาดบางที่แม้จะตื้นมากแบบน้าแค่เข่า ก็มีคลื่นใต้น้าที่สามารถ ดึงเราลงทะเลไปได้เช่นกัน ว่ายออกด้านข้าง ว่ายออกด้านข้าง การปฏิบัติตัวเมื่อเจอคลื่นใต้น้า (Rip Current)
  • 33. หน่วยที่ 1 40 กิจกรรมที่ 1.3 มีอะไรบ้างที่มีผลต่อชายหาด คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด คือ .................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. น้าเกิด หมายถึง ..................................................................................................................................... 3. น้าตาย หมายถึง .................................................................................................................................... 4. คลื่น ประกอบด้วย ................................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. ความยาวคลื่น จะวัดจาก......................................................................................................................... 6. กระแสน้าชายฝั่ง เกิดจาก...................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. กระแสน้าที่มีอันตรายมาก คือ............................................................................................................... 8. วิธีการเอาตัวรอดเมื่อเจอกระแสน้าที่อันตราย คือ ............................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
  • 34. หน่วยที่ 1 41 จากการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อชายหาด เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ ปัจจัยแรกที่มีผลคือ น้าขึ้นน้าลง ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่มีต่อน้าทะเล โดยถ้าดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่แนวเดียวกับโลกจะทาให้น้าขึ้นมาก และลงมาก เรียกว่าน้าเกิด แต่ถ้าดวงจันทร์ โลก ดวง อาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน น้าจะขึ้น น้อยและลงน้อย เรียก น้าตาย ปัจจัยที่สอง คือ คลื่น ซึ่งเกิดจากกระแสลมพัดกระทบผิวน้า หรือ บางครั้งเกิดจากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด คลื่นประกอบด้วย ยอดคลื่น ท้องคลื่น ความสูงของคลื่นและความยาวคลื่น ส่วนคลื่นที่ ทาให้เกิดความเสียหายมาก คือ คลื่นสึนามิ ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด ปัจจัยที่สาม คือ กระแสน้า เกิดจากการไหลของกระแสน้า อย่างต่อเนื่อง กระแสน้าที่เกิดขึ้นเมื่อคลื่นซัดเข้ากระทบฝั่ง น้าทะเลถูกผลักดันขึ้นมาและไหลกลับลงไปตามแนวชายฝั่ง เรียกว่า กระแสน้าชายฝั่ง ส่วนกระแสน้าที่มีอันตราย เรียกว่า กระแสน้าจากคลื่นซัดหาด (Rip Current) เกิดจากคลื่นขนาดใหญ่ซัดกระทบชายหาดและสลายตัวลง ไหลเป็นทางแคบ ๆ ลงสู่ทะเล
  • 35. หน่วยที่ 1 42 ตะกอนชายหาด ตะกอน เกิดจากการกร่อนตัวของหิน ชนิดของตะกอนขึ้นกับลักษณะของหินที่สลายตัวมา โดยที่มาของหินอาจมาจากการระเบิดของภูเขาไฟ การเปลี่ยนแปลงสภาพจากความร้อน การทับถม ของตะกอน เมื่อเวลาผ่านไปหินจะมีการผุกร่อน สลายตัว กลายเป็นตะกอนเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่ง โดยกระแสน้า ตะกอนจะประกอบด้วยแร่ต่าง ๆ มากมายขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของหิน - หินแกรนิต จะประกอบด้วยแร่ควอตซ์ - หินบะซอลต์ เป็นหินภูเขาไฟสีดา พบมากบริเวณเกาะ ตะกอนจากหินบะซอลต์นี้ จะทาให้ชายหาดมีสีเทา - แคลเซียมคาร์บอเนตจะเป็นแร่หลักที่พบในตะกอนบริเวณชายหาด ซึ่งเกิดจากพืชทะเล บางชนิดและกระดูกของสัตว์ หรือเรียกว่าตะกอนชีวภาพ ซึ่งเกิดจากสิ่งมีชีวิต ที่มาของแคลเซียมคาร์บอเนตในตะกอน ได้แก่ ซากปะการัง เปลือกหอย เปลือกปู ....ตะกอนทรายที่ทับถมเป็น ชายหาดมาจากไหน...ใครรู้บ้าง.. ถ้าอยากรู้..ตามพี่กบมาจ้ะ ... 1.5.
  • 36. หน่วยที่ 1 43 บริเวณแนวปะการังแบบ Atolls ซึ่งเป็นแนวปะการังที่อยู่ในทะเลลึกไกลจากชายฝั่งมาก เกิดอยู่บนเกาะภูเขาไฟใต้น้ากลางมหาสมุทร มีลักษณะคล้ายวงแหวน ล้อมรอบด้วยทะเลสาบ น้าเค็มอยู่ภายใน แนวปะการังประเภทนี้จะมีหาดทรายเกิดจากการสลายตัวของโครงสร้างหินปูน ของปะการัง ดังนั้นตะกอนจะเกิดจากแคลเซียมคาร์บอเนตเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากซากของ ปะการัง ทาให้ชายหาดบริเวณนี้จะมีสีขาว สว่างมาก คลื่นที่ซัดเข้าหาชายหาด จะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากบริเวณชายหาด และ กระบวนการดังกล่าวจะเป็นตัวลดขนาดของตะกอนให้เล็กลง แคลเซียมคาร์บอเนตจะเป็นแร่ ที่นิ่มกว่าแร่อื่น ๆ ดังนั้นเปลือกหอยและโครงสร้างสัตว์ต่าง ๆ จะถูกกัดกร่อนและกลายเป็น ตะกอนละเอียดได้อย่างรวดเร็ว ตะกอนละเอียดเหล่านี้จะตกตะกอนช้า จะถูกกระแสน้าพัดพาไปยัง บริเวณน้าลึก ซึ่งเป็นบริเวณที่จะพบตะกอนที่มีลักษณะเป็นโคลนละเอียดบริเวณพื้นทะเล ขนาดตะกอน ขนาดของตะกอนนั้นจะทาให้เราสามารถแยกขนาด ตะกอนได้ เช่น ทรายหยาบ ทรายละเอียด สัตว์บางชนิด จะอาศัยอยู่ในตะกอนที่มีขนาดจาเพาะกับมันเท่านั้น ตะกอนขนาดต่าง ๆ เป็นผลมาจากการกระทาของคลื่น และกระแสน้า คลื่นขนาดใหญ่ และกระแสน้าที่แรง จะชะล้างให้ตะกอนมีขนาดเล็กลง และตกตะกอนลงสู่ที่ลึก ส่วนตะกอนหยาบจะถูกพัดขึ้นสู่ชายหาด
  • 37. หน่วยที่ 1 44 เมื่อคลื่นกระทบชายฝั่งจะเกิดกระแสน้าที่มีความแรงขึ้นสู่ชายหาด แต่เมื่อน้าไหลกลับลงสู่ ทะเลจะเป็นกระแสน้าที่อ่อนตัวลง คลื่นจะเป็นตัวพัดพาทรายหยาบและทรายละเอียดขึ้นสู่ชายหาด เมื่อน้าไหลกลับลงทะเลจะนาตะกอนที่มีขนาดเล็กมาก ๆ กลับลงสู่ทะเลด้วย ส่งผลให้หาดทราย ตอนบนจะประกอบด้วยทรายหยาบ และบริเวณหาดทรายตอนล่างจะมีลักษณะเป็นทราย ละเอียด ถ้าคลื่นและกระแสน้าบริเวณชายหาดมีการ เปลี่ยนแปลง จะส่งผลต่อตะกอนด้วยเช่นกัน การเปลี่ยนแปลงอาจทาให้เกิดได้ทั้ง การกัดเซาะ ชายฝั่งทาให้ชายหาดหายไป หรืออาจเกิดการ ทับถมทาให้เกิดชายหาดเพิ่มขึ้น ดังนั้นถ้าสภาพ ของคลื่นเปลี่ยนจะทาให้ลักษณะของชายหาด เปลี่ยนไปเช่นกัน มาดูขนาดของตะกอนกันดีกว่า ...เปิดหน้าต่อไปเลยจ้ะเด็ก ๆ
  • 38. หน่วยที่ 1 45 ขนาดตะกอนชายฝั่ง ภาพที่ 1 - 20 ขนาดตะกอนชายหาด ที่มา : นักสืบชายหาด : คู่มือดาเนินกิจกรรม เลน ขนาดเท่าเมล็ดงาป่น (<0.06 ซม.) ประกอบด้วย เศษซากพืชซากสัตว์และแร่ธาตุที่ย่อยหรือแตกสลายเป็น ผงละเอียด ทรายละเอียด ขนาดเท่าเมล็ดฝิ่น (0.06-0.1 ซม.) ทรายหยาบ ขนาดเท่าเมล็ดฝรั่ง (>0.1-0.2 ซม.) กรวดขนาดเล็ก ขนาดเท่าเมล็ดเสาวรส (>0.2-0.5 ซม.) กรวดขนาดใหญ่ ขนาดเท่าเมล็ดมะละกอหรือเมล็ดลาไย (>0.5-2.5 ซม.) อาจเป็นเศษที่แตกสลายมาจากปะการัง เปลือกหอย หรือหินริมฝั่งก็ได้ -หินก้อน หมายถึงหินที่แตกออกมาเป็นก้อน ๆ ขนาดเล็กพอจะ หยิบจับพลิกได้ -หินโขด หมายถึงหินขนาดใหญ่ที่มักพบบริเวณหัวหาด บางครั้ง เป็นชั้นหินผืนใหญ่ที่มักพบบริเวณหัวหาด ขนาดใหญ่เกินจะพลิก ได้ หิน
  • 39. หน่วยที่ 1 46 ลักษณะตะกอนชายหาดที่ถูกพัดพามาสะสมตัว มีลักษณะเป็นริ้ว ภาพที่ 1 - 21 การสะสมตัวของตะกอนชายหาด ที่มา : http://winbookclub.com/wormtalkdetail.php?topicid=458
  • 40. หน่วยที่ 1 47 กิจกรรมที่ 1.4 มีอะไรในทรายจากชายหาด จุดประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนศึกษาและจาแนกส่วนประกอบของทรายจากชายหาด วัสดุอุปกรณ์ 1. ทรายจากชายหาดบางแสน 2. แว่นขยาย 3. ปากคีบ 4. กระดาษขาว 5. ไม้บรรทัด 6. กล่องพลาสติกใส วิธีการทดลอง 1. เททรายจากชายหาดลงในกล่องพลาสติกใส 2. สังเกตลักษณะและส่วนประกอบของทรายในกล่อง โดยใช้แว่นขยายส่องดู และใช้ปากคีบ คีบจาแนกสิ่งที่สังเกตได้ บันทึกผลการสังเกต 3. นาสิ่งที่จาแนกได้ วางเรียงบนกระดาษขาว ใช้ไม้บรรทัดวัดขนาด บันทึกผล ผลการสังเกต .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................
  • 41. หน่วยที่ 1 48 คาถามท้ายกิจกรรม จากการทดลองจะพบว่า ตะกอนจากชายหาดประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นซาก ของสัตว์ทะเล และส่วนที่เป็นหินขนาดต่าง ๆ ลักษณะของตะกอนจะมีลักษณะมน เนื่องจาก การซัดของคลื่นและการพัดพาของกระแสน้า - สิ่งที่ได้จากการสังเกตมีอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. - นักเรียนจาแนกสิ่งที่สังเกตได้เป็นอะไรบ้าง และใช้อะไรเป็นเกณฑ์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. - ขนาดของตะกอนที่พบเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. - นักเรียนจะสรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 42. หน่วยที่ 1 49 กิจกรรมที่ 1.5 รู้จักตะกอนชายหาดหรือยัง คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ลงในสมุดงานของนักเรียน 1. ตะกอนชายหาด เกิดจาก.................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตะกอนชายหาดที่เกิดจากซากปะการัง เกิดจาก............................................................................ และจะทาให้ชายหาดมีลักษณะ......................................................................................................... 3. กระบวนการที่ทาให้ตะกอนมีขนาดเล็กลง คือ............................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เด็กๆรู้จักชายหาดกันมากขึ้นแล้ว ใช่ไหม ตามพี่กบมาจ้ะ... ..พี่กบจะพาเด็กๆไปดูว่าชายหาดนั้น มีความสาคัญ และมีประโยชน์อะไรบ้าง
  • 43. หน่วยที่ 1 50 จากการศึกษาเกี่ยวกับตะกอนชายหาด เด็ก ๆ ได้เรียนรู้อะไรบ้าง........สรุปให้ฟังหน่อยจ้ะ ตะกอน เกิดจากการกร่อนตัวของหิน การผุพังของซาก ปะการัง เปลือกหอย เปลือกปู กระดูกสัตว์ ตะกอน จะประกอบด้วยแร่ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของหิน และวัตถุต้นกาเนิดของตะกอน แร่ธาตุที่พบในตะกอนจะทาให้ชายหาดมีสีต่าง ๆ เช่น หินแกรนิต จะมีแร่ควอตซ์อยู่ทาให้ทรายระยิบระยับ หินภูเขาไฟจะเป็นหินบะซอลต์ ทาให้ชายหาดมีสีดาหรือเทา ส่วนซากปะการังซึ่งเป็นหินปูนจะให้ ตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต ทาให้ชายหาดมีสีขาว คลื่นจะเป็นตัวนาตะกอนเข้าและออกจากชายหาด และทาให้ ตะกอนมีขนาดเล็กลง ตะกอนขนาดเล็กละเอียดจะตกตะกอน ช้าจะถูกคลื่นพัดพาไปยังบริเวณน้าลึก ตะกอนหยาบกว่าจะ พัดพาขึ้นสู่ชายหาด
  • 44. หน่วยที่ 1 51 ความสาคัญและการใช้ประโยชน์ พื้นที่ชายหาดและชายฝั่งทะเล หาดทรายและชายฝั่งทะเลเป็นระบบนิเวศหนึ่งที่มีคุณค่าและมีความสาคัญ เนื่องจากเป็น แหล่งที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าต่อระบบนิเวศวิทยา สังคมและเศรษฐกิจ ปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ นอกจาก ความสวยงามของหาดทรายที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญแล้วนั้น หาดทรายยังมีบทบาทและ ความสาคัญต่อระบบนิเวศด้านอื่น ๆ อีกมากมาย 1. บทบาทของชายหาดและชายฝั่งทะเล แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากสภาพแวดล้อมและพื้นที่ชายหาดที่มีความแตกต่างกัน ได้แก่ ขนาดของตะกอน ทราย ระดับของน้าขึ้นน้าลง ส่งผลให้เกิดเป็นแหล่งที่อยู่มากมายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ในแต่ละแห่งเราจะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายขนาดอาศัยอยู่มากมาย ซึ่งบางครั้งถ้าไม่สังเกต อาจไม่เห็นการเคลื่อนไหวใด ๆ ของสัตว์เลย แต่ที่จริงแล้วไม่ว่าจะเป็นใต้พื้นทราย ใต้ก้อนหิน หรือตามซอกหินจะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้เนื่องจากพวกมันต้องซ่อนตัวและหลบแดด ที่ส่องมาถูกตัว เพราะอาจทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและตายได้ ลักษณะดังกล่าวบนหาดทราย ทาให้เราพบสิ่งมีชีวิตน้อย เราจึงไม่ค่อยพบพืชขนาดใหญ่แต่จะพบไดอะตอมที่อาศัยอยู่หน้าดิน หรืออยู่ตามเม็ดทราย 1.6
  • 45. หน่วยที่ 1 52 ดังนั้นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามหาดทรายจะมีความสามารถพิเศษในการฝังตัว เช่น ปูหนุมาน มีขาที่แบนเป็นใบพาย ใช้ในการว่ายน้าและพุ้ยทรายฝังตัวเอง หอยเสียบจะมีเท้าขนาดใหญ่ ช่วยในการฝังตัว หอยตลับจะมีเปลือกหนาแข็งแรง และจะยื่นท่อน้าออกเหนือพื้นทราย ในช่วงเวลาน้าขึ้น เป็นต้น ภาพที่ 1 - 22 ปูหนุมานหรือปูลาย ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=639&s=tblanimal ภาพที่ 1 - 23 หอยเสียบ ที่มา : http://www.siamfishing.com/content/view.php?id=542&cat=youtube
  • 46. หน่วยที่ 1 53 เป็นพื้นฐานของสายใยอาหาร ด้วยความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่สามารถพบได้ในระบบนิเวศหาดทรายนั้น ส่งผลให้เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสัตว์หลาย ๆ ชนิด เป็นแหล่งฐานพลังงานของสิ่งมีชีวิต ต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ เช่น เป็นแหล่งอาหารให้กับสัตว์ที่กรองกินอาหารจากทราย รวมถึงเป็นแหล่ง อาหารของนกและปลาทะเลหลายชนิด ก่อให้เกิดเป็นห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารที่สาคัญใน ระบบนิเวศ แหล่งอาศัยและวางไข่ของสัตว์น้าหายาก เป็นแหล่งวางไข่ของเต่าทะเล เนื่องจากเต่าทะเลต้องขึ้นมาวางไข่บนหาดทรายบริเวณเหนือ ระดับน้าขึ้นสูงสุด และพื้นที่หาดทรายนั้นต้องมีลักษณะเป็นทรายขาว สะอาด โดยทั่วไปเต่าทะเล จะขุดหลุมสาหรับวางไข่เหนือระดับน้าขึ้นสูงสุด แต่ก็มีเต่าทะเลบางตัวที่ขึ้นวางไข่ไกลจากระดับ น้าขึ้นสูงสุดถึง 200 เมตร และพื้นที่แหล่งหญ้าทะเลยังเป็นอาหารหลักที่สาคัญของพะยูน โดยพะยูนจะหากินตามแนวหญ้าทะเลที่ความลึก 1 - 3 เมตร นอกจากจะเป็นอาหารของพะยูน แล้ว ยังเป็นอาหารของเต่าทะเล เป็นที่อยู่อาศัย ที่หลบภัย ผสมพันธุ์ วางไข่ และเป็นแหล่ง อนุบาลของสัตว์น้าวัยอ่อน ภาพที่ 1 - 24 เต่าทะเลวางไข่บนชายหาด ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=mindbechild&month=22-07- 2008&group=3&gblog=4
  • 47. หน่วยที่ 1 54 แหล่งอาศัยของนกทะเล ชายหาดบางแห่งหรือพื้นที่เกาะบางเกาะเป็นบริเวณที่ที่มีนกทะเลหลายชนิดอาศัยอยู่ ทั้งนกประจาถิ่นและนกต่างถิ่นที่เข้ามาหาอาหาร ผสมพันธุ์หรือวางไข่ ในบริเวณพื้นที่ชายหาด เช่น นกอีก๋อย นกกระแตแต้แว้ด และในบางบริเวณยังเป็นที่อาศัยของนกที่หายาก ภาพที่ 1 - 25 นกอีก๋อย ที่มา : http://www.phitsanulokfishing.com/board/index.php?topic=137.0 ภาพที่ 1 - 26 นกกระแตแต้แว้ด ที่มา : http://www.rspg.or.th/articles/anurak/anurak8.htm