SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
หลงตัวลืมตาย
หลงกายลืมแก่
หลงกามคุณลืมพ่อแม่
ไม่มีพอ เพราะพอไม่เป็ น
หลวงปู่ จาม มหาปุญโญ
ตามรอยบูรพาจารย์ 9
"คนเราแม้จะมั่งมีศรีสุข
ขนาดไหนก็ไม่มีวันพอ
ไม่มีวันอิ่ม มีเงินทองมากมาย
ขนาดไหนก็ไม่มีวันอิ่ม
วันพอเหมือนกัน
กินข้าวปลาก็เหมือนกัน
ไม่มีวันอิ่มวันพอ
เช้ามาก็กิน กินแล้วก็ถ่าย
ถ่ายแล้วก็กินอยู่อย่างนี้
ไม่มีที่สุขของมนุษย์"
.หลวงปู่ เจี๊ยะ จุนฺโท
อย่าไปข่มความรู้สึก อย่าไปบังคับจิตให ้สงบ
นึกพุทโธๆๆเอาไว ้อย่าไปนึกว่าเมื่อใดจิตจะสงบ
เมื่อใดจิตจะรู้เมื่อใดจิตจะสว่าง ให ้กาหนดรู้ลงทีจิต
อย่างเดียว นึกพุทโธๆๆ พุทโธก็อยู่กับจิต
จิตก็อยู่กับพุทโธ เมื่อมีการตั้งใจนึกพุทโธ
สติสัมปชัญญะจะมาเอง หน้าที่เพียงนึกพุธโธๆๆไว ้
จนกว่าจะถึงเวลาอันสมควร จิตจะสงบหรือไม่สงบ
ไม่สาคัญ ให ้เรานึกพุทโธไว ้โดยไม่ขาดระยะเป็น
เวลานานๆจนกระทั่งจิตมันคล่องตัว
ต่อการนึกพุทโธ
ในที่สุด
จิตจะนึกพุทโธๆๆเองโดยไม่ได ้ตั้งใจ
เมื่อจิตนึกพุทโธเองโดยไม่ได ้ตั้งใจ
แสดงว่าการภาวนาของเรากาลังจะได ้ผลแล ้ว
ในเมื่อจิตนึกอยู่ที่พุทโธๆๆ พุทโธก็เป็นเครื่องรู้ของ
จิต เครื่องระลึกของสติ เมื่อจิตมีเครื่องรู้สติมีเครื่อง
ระลึก ผู้ปฏิบัติตั้งใจปฏิบัติให ้มากๆ กระทาให ้มากๆ
ในที่สุดจิตจะเกิดความสงบ
หลวงพ่อพุธ ฐานิโย
อาตมาตั้งใจไว้ว่า...
“จะให้เลือดทุกๆ หยดในร่างกาย
ตั้งแต่ศรีษะจรดปลายเท้า
เป็ นไปเพื่อกิจพระศาสนา
ไม่ว่าจะเป็ นบนฟ้ าหรือใต้ดินก็
จะต้องขอเอาจนสุดชีวิต”.
ท่านพ่อลี ธมฺมธโร
ที่ให้ภาวนาพุทโธนั้น
เพราะพุทโธเป็ นกิริยาของใจ
ซึ่งเมื่อจิตภาวนาพุทโธแล้ว
มันสงบวูบลงไป นิ่ง สว่าง
รู้ตื่น เบิกบาน พอหลังจากนั้น
คาว่า พุทโธ มันก็หายไปแล้ว
ทาไมมันจึงหายไป
เพราะจิตมันถึงพุทโธแล้ว
จิตกลายเป็ นพุทธะ
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
เป็ นคุณธรรมที่ทาจิต
ให้เป็ นพุทธะเกิดขึ้นในจิต
ของท่านผู้ภาวนา
หลวงปู่ เสาร์ กันตสีโล
“ถ้าถูกอิจฉา
อย่าเสียใจหรือ
โกรธผู้อิจฉา
แสดงว่าเราจะต้องดีกว่าเขา
เพราะไม่มีผู้ใด
จะอิจฉาคนที่เลวกว่าตน
และเราก็อย่าไปอิจฉาผู้อื่น”
ธมมฺวิตกฺโกภิกขุ (เจ้าคุณนรฯ)
"หากยามใดท้อถอย
เหนื่อยหน่ายต่อการปฏิบัติ
ก็ให้ระลึกถึงภัยข้างหน้าที่จะมีมา
ต้องตระหนักว่า
ขณะนี้เรายังอยู่ในมรสุม
อยู่ท่ามกลางคลื่น
ภัยนั้นมีอยู่รอบด้าน
เอาไว้ให้ถึงฝั่งเสียก่อน
อย่ามัวเที่ยวเก็บ เที่ยวชมดอกไม้
มืดค่าแล้ว
เดี๋ยวจะหาทางออกไม่พบ"
หลวงปู่ สุวัจน์ สุวโจ
ที่เราสวดมนต์ไหว้พระอยู่เสมอ
ก็อย่าไหว้แต่วาจา
อย่ากราบแต่ด้วยมือ
ต้องจิตใจน้อมระลึกถึงความจริงด้วย
ให้เกิดขึ้นในจิตใจ ให้มีศรัทธา
ความผ่องใสในจิตในใจ
จะเห็นอานิสงส์
จะได้เกิดความอุตสาหะพยายาม
เกิดความพากเพียร
เกิดสติระลึกคุ้มครองรักษาตัวเรา
ให้เป็ นผู้หมดจดสะอาด
ไปถึงสภาพแห่งความบริสุทธิ์
หลวงปู่ สุวัจน์ สุวโจ
สมาธิเป็นกาลังสาคัญมาก ถ ้า
ไม่มีสมาธิแล ้ววิปัสสนาจะเอา
กาลังมาจากไหน ปัญญา
วิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึง
แต่งเอาได ้เมื่อไร แต่เกิดจาก
สมาธิที่หัดได ้ชานิชานาญ
มั่นคงดีแล ้วต่างหาก
ถึงผู้ได ้สุกขวิปัสสโกก็เถิด ถ ้า
ไม่สมถะแล ้วจะเอาวิปัสสนามา
จากไหน เป็นแต่สมถะของ
ท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้
พอฟังได ้
1/3
ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย
เมื่อได ้ทาสมาธิให ้มั่นคง
แน่นหนาดีแล ้ว
จนกระทั่งจะเข ้าจะออกก็ได ้
จะอยู่ให ้นานๆ และพิจารณา
กายอันนี้ให ้เป็นอสุภะหรือ
เป็นธาตุก็ได ้พิจารณาคนใน
โลกนี้ทั้งหมดให ้เป็นโครง
กระดูกทั้งหมดก็ได ้หรือ
พิจารณาให ้เห็นในโลกนี้
ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตา
กาศว่างเปล่าไปหมดก็ได ้
ฯลฯ
2/3
จิตผู้มีอสุภะเต็มที่แล ้ว
ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน
ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา
แล ้วก็มองเห็นกิเลสของตน
ซึ่งเกิดจากจิตของตนได ้ชัดเจนว่ากิเลส
คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง
มันเกิดจากสิ่งนี้ๆและมันตั้งอยู่ได ้ด ้วย
อาการอย่างนี้ๆ
แล ้วหาอุบายละด ้วยอย่างนี้ๆ
เหมือนกับน้าในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆปี
เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัด
ที่มีอยู่ก ้นสระว่า
แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า
ในก ้นสระมันจะมีของเหล่านี้ นั้นเรียกว่า
วิปัสสนาคือความรู้ความเห็นตามสภาพ
จริง มันเป็นจริงอย่างไรก็เห็นตามความ
เป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจาก
ความเป็นจริงของมัน
3/3
สักวันหนึ่งความตายจะมาถึงเรา
มาบีบบังคับให้เราปล่อยทุกสิ่งทุกอย่าง
ฉะนั้น
เราต้องหัดปล่อยวางล่วงหน้าให้มันเคย
ไม่อย่างนั้น พอถึงเวลาไปจะลาบาก
ท่านพ่อเฟื่อง โชติโก
"ก่อนที่จะพูดอะไร
ให้ถามตัวเองว่า
ที่จะพูดนี้จาเป็ นหรือเปล่า
ถ้าไม่จาเป็ นก็อย่าพูด
นี่เป็ นขั้นแรกในการอบรมใจ
เพราะถ้าเราควบคุมปากตัวเองไม่ได้
เราจะควบคุมใจได้อย่างไร".
.ท่านพ่อเฟื่อง โชติโก
ถ้าใจเราเป็ นโทษเสียแล้ว
จะไปทาบุญทาทานอะไรก็ไม่ได้ผล
เหมือนกับเราขนปุ๋ ย
ไปใส่ต้นไม้ที่ตายแล้ว"
ยากแสนยาก
ก็ให้ตั้งใจบาเพ็ญในตนของตน
ให้ปิติยินดีพอใจในมรรคา
คือหนทางปฎิปทาของตน
อย่าอ้างความเกียจคร้าน
ผลัดผ่อน ให้ขวนขวายในกิจ
ของตนเสมอตลอดไป
หลวงปู่ จาม มหาปุญโญ
คนเราเมื่อประพฤติปฏิบัติให้
อยู่ในกรอบแห่งศีลธรรม
อยู่ในความไม่ประมาท
หมั่นบาเพ็ญบุญ
สวดมนต์ไหว้พระทุกวันแล้ว
ก็ไม่ต้องวิ่งไปหาพระที่ไหน
ชีวิตก็เป็ นสุข
หลวงปู่ จาม มหาปุญโญ
วัดป่ าวิเวกวัฒนาราม

More Related Content

What's hot

ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
Wataustin Austin
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
aon04937
 

What's hot (20)

Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6   intrinsic nature of a personCarita 6 จริต 6   intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
 
Luangpoo boonpeng
Luangpoo boonpengLuangpoo boonpeng
Luangpoo boonpeng
 
Luangpoo lee
Luangpoo leeLuangpoo lee
Luangpoo lee
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwat
 
Luangpoo la
Luangpoo laLuangpoo la
Luangpoo la
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโทคำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท
 
Luangpoo on
Luangpoo onLuangpoo on
Luangpoo on
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท2
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท2คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท2
คำสอนของหลวงพ่อชา สุภัทโท2
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
080จิตภาวนา
080จิตภาวนา080จิตภาวนา
080จิตภาวนา
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
คำสอนหลวงพ่อชา6
คำสอนหลวงพ่อชา6คำสอนหลวงพ่อชา6
คำสอนหลวงพ่อชา6
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 

More from MI

More from MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17
 

ตามรอยบูรพาจารย์ 9