SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
ตัวอย่ างกรณีศึกษาโครงการมหาวิทยาลัยรังสิ ตปลอดบุหรี่                                         1

1.1 ให้ทำกำรศึกษำและวิเครำะห์สภำพพื้นที่ที่ท่ำนปฏิบติงำนอยูในเรื่ องที่เกี่ยวเนื่ องกับสำธำรณสุ ข
                                                   ั       ่
โดยให้อธิบำยสภำพแวดล้อมชุมชน สถำนกำรณ์ทำงด้ำนสำธำรณสุ ขของชุมชน และระบุประเด็น
สำคัญที่ควรให้ควำมสนใจในกำรปรับปรุ งแก้ไขทำงด้ำนสำธำรณสุ ข (ที่จะต้องแก้ไขด้วยระยะเวลำ
ภำยใน 3 ปี )

ปัญหาสุ ขภาพทีพบ นักศึกษำสู บบุหรี่ ท้ งอุบติกำรณ์ในกำรสู บบุหรี่ ใหม่ของนักศึกษำ และนักศึกษำ
                    ่                  ั ั
                ่
ที่ติดบุหรี่ อยูแล้ว

ข้ อมูลทัวไป
         ่
       มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ นสถำบันอุดมศึกษำ ที่ได้รับกำรประเมินจำกสำนักงำนรับรองมำตรฐำน
และประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (สมศ.) ให้เป็ นมหำวิทยำลัยเอกชนเพียงแห่งเดียวที่ได้รับกำรจัดให้
อยูในระดับ “ดีมำก” ในกลุ่มสถำบันที่เน้นกำรผลิตบัณฑิต จัดกำรเรี ยนกำรสอนโดยแบ่งกลุ่มคณะ
    ่
วิชำออกเป็ น 5 กลุ่ม ได้แก่
       1. กลุ่มคณะวิชำแพทยศำสตร์ และวิทยำศำสตร์ สุขภำพ : วิทยำลัยแพทยศำสตร์ คณะทันต
แพทยศำสตร์ คณะเภสัชศำสตร์ คณะเทคนิคกำรแพทย์ คณะพยำบำลศำสตร์ คณะกำยภำพบำบัด
คณะวิทยำศำสตร์ คณะทัศนมำตรศำสตร์ และคณะกำรแพทย์แผนตะวันออก
       2. กลุ่มคณะวิชำวิศวกรรมศำสตร์ และเทคโนโลยี : วิทยำลัยวิศวกรรมศำสตร์ คณะเทคโนโลยี
สำรสนเทศ คณะเทคโนโลยีชีวภำพ และสถำบันกำรบิน
       3. กลุ่มคณะวิชำมนุษยศำสตร์ และสังคมศำสตร์ : วิทยำลัยนวัตกรรมสังคม วิทยำลัยนำนำชำติ
สถำบันกำรทูตและกำรต่ำงประเทศ คณะศิลปศำสตร์ คณะนิเทศศำสตร์ คณะนิติศำสตร์ คณะ
ศึกษำศำสตร์ และบัณฑิตวิทยำลัย
       4. กลุ่มคณะวิชำศิลปะและกำรออกแบบ : วิทยำลัยดนตรี คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ คณะ
ศิลปะและกำรออกแบบ และคณะ Digital Art
       5. กลุ่มคณะวิชำเศรษฐกิจและธุ รกิจ : วิทยำลัยบริ หำรธุ รกิจและรัฐกิจ คณะบริ หำรธุ รกิจ คณะ
บัญชี คณะอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยวและกำรบริ กำร และคณะเศรษฐศำสตร์
ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย   2
                                                                          รั ง สิ ตตั้ง อยู่ ต ำบลหลั ก
                                                                          ห ก ถ น น พ ห ล โ ย ธิ น
                                                                          อ ำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด
                                                                          ปทุ ม ธำนี ห่ ำงจำกท่ ำ
                                                                          อำกำศยำนดอนเมื อ ง 3
                                                                          กิ โ ลเมตร บริ เวณรอบ
                                                                          ข้ ำ งมหำวิ ท ยำลั ย เป็ น
                                                                          ชุ ม ชนเมื อ งเอก เนื้ อที่
4,000 ไร่ มหำวิทยำลัยรั งสิ ตอยู่ในทำเลที่ต้ งที่ดี ประกอบด้วยสิ่ งอำนวยควำมสะดวก อำทิ สนำม
                                               ั
กอล์ ฟ สระว่ ำ ยน้ ำ สนำมเทนนิ ส มี อ ำกำศที่ บ ริ สุ ทธิ์ แจ่ ม ใส เหมำะส ำหรั บ เป็ นที่ ต้ ัง ของ
สถำบันอุดมศึกษำ มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ นสถำบันอุดมศึกษำเอกชนที่มีจุดมุ่งหมำยสำคัญคือกำรผลิต
บัณฑิ ตในสำขำวิช ำที่ ตรงกับควำมต้องกำรในกำรพัฒนำประเทศ โดยมุ่ง เน้นด้ำนวิทยำศำสตร์
เทคโนโลยี กำรออกแบบ และกำรจัดกำรเป็ นสำคัญ รวมทั้งวิชำชี พอิสระที่สำมำรถสร้ำงงำนของ
ตนเองได้ ควำมคิดที่จะดำเนินกำรจัดตั้งมหำวิทยำลัยรังสิ ตมีมำนำนแล้ว โดยนำยประสิ ทธิ์ อุไรรัตน์
อดี ตผูว่ำกำรทำงพิเศษ และผูว่ำรำชกำรจังหวัดหลำยจังหวัด ตั้งแต่เมื่ อครั้ งยังอยู่ในรำชกำรว่ำจะ
         ้                     ้
รวบรวมบุคคลที่รักใคร่ ชอบพอ สร้ำงกิจกรรมขึ้นอย่ำงหนึ่งที่จะอำนวยประโยชน์แก่สังคมได้เต็มที่
โดยตั้งปณิ ธำนไว้วำ “เรำจะสร้ำงเยำวชนและคนรุ่ นใหม่ให้เป็ นบัณฑิ ตที่เพียบพร้อมด้วยวิทยำกำร
                      ่
และเพียบพร้อมด้วยจริ ยธรรม
           คณะผูก่อตั้งมหำวิทยำลัยรังสิ ตประกอบด้วยนักกำรศึกษำ นักวิชำกำร และผูชำนำญจำก
                   ้                                                                         ้
รัฐวิสำหกิ จต่ำงๆ ที่มีควำมเห็นพ้องกันว่ำกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำของประเทศยังไม้เพียงพอกับ
ควำมต้องกำร โดยเฉพำะอย่ำงยิงด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรออกแบบ และกำรจัดกำร เพื่อให้
                                 ่
บรรลุ เป้ ำหมำยดังกล่ำวมหำวิทยำลัยรั งสิ ตจึงได้วำงแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำไว้อย่ำงชัดเจน ดังนี้
คือ มุ่งเน้นในเรื่ องมำตรฐำนกำรศึกษำ และควำมเป็ นเลิศทำงวิชำกำร ส่ งเสริ มกำรพัฒนำหลักสู ตร
และสำขำวิชำให้สอดคล้องกัน และทันต่อควำมเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ และสังคม ส่ งเสริ มให้มี
กำรศึกษำภำคทฤษฎี ควบคู่และสัมพันธ์ไปกับภำคปฏิ บติ ซึ่ งนอกเหนื อจำกกำรฝึ กฝนปฏิ บติงำน
                                                            ั                                     ั
หรื อกำรเรี ยนรู ้โดยตรงจำกธุ รกิ จ อุตสำหกรรม หรื อสถำนประกอบกำรในสำขำที่ตนศึกษำแล้ว ยัง
มุ่งส่ งเสริ มให้คณะและสำขำวิชำต่ำงๆ ของมหำวิทยำลัยเป็ นองค์กรหรื อสถำนที่ปฏิบติงำนในตัวเอง
                                                                                        ั
ทั้งนี้ โดยมีจุดมุ่งหมำยให้องค์กรเหล่ำนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของกำรศึกษำ แอละยังเป็ นกำรบริ กำรชุ มชน
อีกด้วย
ปั จจุ บนมหำวิทยำลัยรั งสิ ตดำเนิ นกำรจัดกำรศึกษำทั้งระดับปริ ญญำตรี โท และเอก รวม
                    ั                                                                                     3
ทั้งสิ้ น 44 หลัก สู ตร 121 สำขำวิช ำ โดยเป็ นระดับปริ ญญำตรี 23 หลัก สู ตร 79 สำขำวิชำ ระดับ
ปริ ญญำโท 17 หลักสู ตร 35 สำขำวิชำ และระดับปริ ญญำเอก 4 หลักสู ตร 7 สำขำวิชำ มีอำจำรย์
ประจำ 1,294 คน บุคลำกรฝ่ ำยสนับสนุ นกำรศึก ษำ 708 คน มีจำนวนผูสำเร็ จกำรศึกษำปี 2554
                                                                             ้
จำนวน 4,331 คน มีจำนวนนักศึกษำในมหำวิทยำลัยในปี กำรศึกษำ 2555 ประมำณ 20,000 คน
            มหำวิทยำลัยรังสิ ต ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรมีสุขภำพกำยและสุ ขภำพจิตที่ดีของ
นัก ศึ ก ษำและบุ ค ลำกร ซึ่ ง สุ ข ภำพกำยและสุ ข ภำพจิ ต ที่ ดี มี ควำมส ำคัญ ในกำรปฏิ บ ัติง ำน และ
กำรศึกษำเล่ำเรี ยน เพื่อให้บรรลุวตถุ ประสงค์ดงกล่ำว มหำวิทยำลัยรังสิ ตได้จดตั้งสานักงานสานัก
                                     ั            ั                             ั
บริการสุ ขภาพ สังกัดฝ่ ำยกิจกำรนักศึกษำ เป็ นหน่วยงำนสนับสนุ นกำรเรี ยนกำรสอนและให้บริ กำร
ด้ำนสุ ขภำพขั้นพื้นฐำน โดยแยกกำรดำเนินงำนเป็ น 2 หน่วย คือ
            1. หน่ วยบริการสุ ขภาพ (Health Center) มีหน้ำที่ดูแลจัดบริ กำรและสวัสดิกำรด้ำนสุ ขภำพ
ให้แก่นกศึกษำและบุคลำกรดังนี้
          ั




         1.1 บริ กำรปฐมพยำบำล โดยทีมพยำบำลวิชำชี พประจำกำรตลอด เวลำทำกำร คือ เวลำ
                                                                     ่
08.30 - 16.30 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ ในช่วงเวลำที่ไม่มีแพทย์เวรอยูประจำกำร ถ้ำมีกรณี ฉุกเฉิ นจะมี
รถมหำวิทยำลัยนำส่ งโรงพยำบำล เพื่อรับกำรรักษำที่เหมำะสมต่อไป
         1.2 บริ กำรรักษำพยำบำลโรคเบื้องต้นโดยพยำบำลเวชปฏิบติทุกวันทำกำร จันทร์ -ศุกร์ เวลำ
                                                                       ั
08.30-16.30 น.
         1.3 บริ กำรตรวจรักษำโรคทัวไป โดยแพทย์หน่วยบริ กำรปฐมภูมิ โรงพยำบำลปทุมธำนี มี
                                       ่
แพทย์เวรประจำ ทุกวันทำกำร ในเวลำ 13.00-16.00 น.
         1.4 จัดโครงกำรบัตรประกันสุ ขภำพถ้วนหน้ำ (บัตรทอง 30 บำท) โดยร่ วมกันโรงพยำบำล
ปทุ ม ธำนี เปิ ดให้บริ กำรกับนัก ศึ ก ษำที่ ป ระสงค์จะขอใช้สิ ทธิ์ ในกำรขอขึ้ นทะเบี ยน ผูมี สิท ธิ์ ใน
                                                                                          ้
โครงกำรบัต รประกัน สุ ข ภำพ นัก ศึ ก ษำ        4
สำมำรถขอขึ้ นทะเบี ย นบั ต รทองได้ ที่
หน่วยบริ กำรสุ ขภำพมหำวิทยำลัยรังสิ ต
        1.5 บริ กำรห้องพักสำหรับผูป่วย
                                    ้
เพื่อ นอนพักและสังเกตอำกำรผิดปกติ

          1.6 ร่ วมจัดโครงกำรรั บ บริ จำค
โลหิ ต ดวงตำ และอวัย วะ กับสภำกำชำด
ไทย ปี ละ 4 ครั้ง
          1.7 จัด โครงกำรและกิ จ กรรม
ส่ งเสริ มและพัฒนำพฤติกรรมสุ ขภำพ เช่ น
โครงกำรเสริ มสร้ ำงพลังชี วิตและสุ ขภำพ
เต้นแอโรบิก เดิ นรณรงค์ต่อต้ำนโรคเอดส์
คลินิกอดบุหรี่
          1.8 บริ กำรให้ควำมรู้ดำนสุ ขภำพ
                                ้
และคำปรึ กษำแนะนำปัญหำด้ำนสุ ขภำพ
และเป็ นแหล่งสนับสนุนวิชำกำร ให้ขอมูล  ้
ควำมรู ้ปัญหำทำงสุ ขภำพแก่บุคลำกรและ
นักศึกษำคณะต่ำงๆ
          1.9 เป็ นสถำนที่ฝึกปฏิบติงำน เพื่อ
                                  ั
เสริ มประสบกำรณ์กำรพยำบำลของ
นักศึกษำพยำบำลและนักศึกษำคณะต่ำงๆ
สำขำวิชำที่เกี่ยวข้อง กับกำรรักษำพยำบำล
          1.10 บริ กำรยืมอุปกรณ์ทำงกำร
แพทย์ สื่ อ โสต ด้ำนสุ ขภำพ และบริ กำร
อื่นๆ
5




           2. หน่ วยพัฒนาคุณภาพชี วต (Counseling Center) มีหน้ำที่ดูแลรับผิดชอบงำนบริ กำรด้ำน
                                    ิ
กำรให้คำปรึ กษำแก่นกศึกษำ/บุคลำกร ดังนี้
                        ั
           2.1 บริ กำรให้คำปรึ กษำแก่นกศึกษำและบุคลำกร ที่มำรับบริ กำรด้วยตนเองหรื อรับกำรส่ ง
                                       ั
ต่อจำกคณะต่ำง ๆ และขอรับกำรปรึ กษำทำงโทรศัพท์ (Hot line ) เบอร์ โทร 1462 และสำนักงำน
ธุรกำรเบอร์โทร 1415
           2.2 เวลำเปิ ดทำกำร ทุกวันทำกำร จันทร์ -วันศุกร์ เวลำ 8.30-16.30 น. และเปิ ดคลินิกให้
คำปรึ กษำ/ปรึ กษำทำงโทรศัพท์ เวลำ 11.30-13.30 น.
           2.3 ให้กำรบริ กำรอื่นๆ เช่ น ประเมินภำวะชี วจิตสังคม กำรปรับตัว ประเมินควำมเครี ยด
สุ ขภำพจิต ควำมเศร้ ำ กังวล กำรทดสอบทำงจิตวิทยำ กำรประเมินเชำวน์ปัญญำ ควำมฉลำดทำง
อำรมณ์ บุคลิกภำพ และอื่นๆ
           2.4 ให้บริ กำรวิชำกำรแก่สังคม เช่น แจกเอกสำรแผ่นพับ จัดบอร์ ดเผยแพร่ ควำมรู ้ บริ กำร
ยืม สื่ อ โสต เป็ นวิทยำกรเผยแพร่ ควำมรู ้ทำงจิตวิทยำให้คำปรึ กษำ และ สุ ขภำพจิต
6




                     ภำพแสดงแผนผังโครงสร้ำงองค์กรสำนักสวัสดิกำรสุ ขภำพ

           จำกข้อมูลในปั จจุบน ปั ญหำเรื่ องกำรสู บบุหรี่ เกิดขึ้นอย่ำงชัดเจน เนื่ องจำกค่ำนิยม มุมมอง
                                ั
และทัศนคติต่อพิษภัยของบุหรี่ เปลี่ยนแปลงไป นอกจำกนี้ยงมีกำรจัดบริ เวณที่สูบบุหรี่ ไว้ใกล้กบ
                                                                 ั                                  ั
อำคำรเรี ยน มีบุคลำกร คณำจำรย์ และนักศึกษำแวะเวียนมำสู บบุหรี่ อยูเ่ ป็ นประจำ อีกทั้งสถำนที่สูบ
บุหรี่ ยงจัดไว้ใกล้เคียงกับทำงเข้ำออกของอำคำรทำให้ผไม่สูบบุหรี่ ตองได้รับสำรพิษจำกบุหรี่ เป้ นผู้
        ั                                                  ู้            ้
                      ่ ้
สู บบุหรี่ มือสองอยูดวยเช่นเดียวกัน ดังนั้นปั ญหำทำงสุ ขภำพที่เกิดขึ้นจึงเกิดกับทั้งผูท่ีสูบบุหรี่ และผู ้
                                                                                         ้
ที่ไม่สูบบุหรี่ อีกทั้งยังเป็ นกำรกระตุนให้เกิดควำมยำกลองแก่ผสูบบุหรี่ รำยใหม่ ทั้งนี่จะเห็นได้วำที่
                                           ้                       ู้                                 ่
                                                              ่
ผ่ำนมำได้มีกำรรณรงค์ให้เห็นพำภัยของสำรพิษในบุหรี่ วำสำมำรถก่อให้เกิดควำมเสี่ ยงในด้ำน
สุ ขภำพในระบบหำยใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้งผลต่อสุ ขภำพช่องปำกของผูสูบบุหรี่ เอง         ้
ดังนั้นเมื่อสุ ขภำพเปลี่ยนแปลงไปในทำงที่ไม่ดี ย่อมส่ งผลต่อกำรใช้ชีวิตและกำรดำเนินกิจกรรม
ประจำวัน
           ปั จจุบนกำรสู บบุหรี่ ที่เพิ่มมำกขึ้นของประชำกรโลก ได้สร้ำงผลกระทบที่ก่อให้เกิดปั ญหำ
                  ั
ต่ำงๆ เพิ่มมำกขึ้ นทุ กขณะ ไม่ว่ำจะเป็ นปั ญหำทำงกำรแพทย์ สำธำรณสุ ข เศรษฐกิ จ สังคม หรื อ
กำรเมือง ซึ่ งปั ญหำดังกล่ำวย่อมส่ งผลย้อนกลับไปยังประชำชนที่สูบบุหรี่ อย่ำงเลี่ยงไม่ได้ หำกยังไม่
มีมำตรกำรรณรงค์ป้องกันไม่ให้ผูสูบบุหรี่ เพิ่มจำนวนมำกขึ้น และลดจำนวนผูสูบบุหรี่ ให้น้อยลง
                                         ้                                             ้
ซึ่ งสถำนกำรณ์เกี่ยวกับกำรสู บบุหรี่ ในประเทศไทยที่ทำกำรศึกษำในปี 2550 ในประชำกรไทยอำยุ
15 ปี ขึ้ นไป จำนวน 51.2 ล้ำนคน เป็ นผูสูบบุหรี่ ประมำณ 10.8 ล้ำนคน หรื อร้ อยละ 21.2 ซึ่ งใน
                                               ้
จำนวนนี้ เป็ นผูสูบบุหรี่ เป็ นประจำร้อยละ 18.5 สู บนำนๆ ครั้งร้อยละ 2.4 อำยุเฉลี่ยที่เริ่ มสู บบุหรี่ คื
                  ้                                                                                           7
18.5 ปี ซึ่ งเป็ นวัยที่ยงศึกษำในอยู่ในระดับมหำวิทยำลัย ซึ่ งเป็ นช่วงวัยรุ่ นที่เต็มไปด้วยควำมอยำก
                         ั
เห็นอยำกลอง และต้องกำรกำรยอมรับจำกกลุ่มเพื่อนและสังคมใยวัยเดียวกัน มีกำรถ่อยทอดค่ำนิ ยม
ที่ผิดๆ ระหว่ำงกัน เช่ น ต้องดื่ มเหล้ำจึ งจะเข้ำสังคมได้ หรื อแม้กระทังกำรสู บบุ หรี่ ของวัยรุ่ นใน
                                                                         ่
ปั จจุบนก็ถือว่ำมีจำนวนมำก ซึ่ งมักจะมีสำเหตุมำจำกควำมต้องกำรให้มีบุคลิ กดูเป็ นผูใหญ่ เท่ห์ มี
       ั                                                                                   ้
รสนิยม เป็ นกำรเข้ำสังคม ทำให้สมองปรำดเปรื่ อง แก้ปัญหำต่ำงๆ ได้ ช่วยลดควำมเครี ยด

1.2 ให้ทำกำรศึกษำผูมีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) กับโครงกำร โดยดำเนินกำรดังนี้
                       ้
- ระบุวำผูมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงกำรที่จะดำเนินกำรคือใครบ้ำง ทั้งบุคคลและกลุ่มบุคคล
       ่ ้
- ให้ทำกำรวิเครำะห์ ว่ำ ผูมี ส่วนเกี่ ย วข้องดัง กล่ ำวมี ใ ครเป็ นผูที่ไ ด้รับประโยชน์ ใครเป็ นผูเ้ สี ย
                             ้                                       ้
ประโยชน์ ใครจะเป็ นผูดำเนินโครงกำร และใครจะเป็ นผูให้กำรสนับสนุนโครงกำร และให้ทำกำร
                         ้                                   ้
วิเครำะห์ผูมีส่วนเกี่ ยวข้องดังกล่ำวทั้ง 4 กลุ่ มในประเด็นของลักษณะเฉพำะของกลุ่มหรื อบุคคล
           ้
(Characteristics of the group/person) ผลประโยชน์ (ควำมสนใจ, แรงจูงใจ, ทัศนคติ) ศักยภำพ
(Potentials) และผลกระทบที่มีต่อโครงกำร

1. กลุ่มผู้ได้ รับประโยชน์ จากโครงการ
 -           นัก ศึ ก ษำมหำวิท ยำลัย รั ง สิ ต เป็ นกลุ่ ม บุ ค คลวัย 18-24 ปี มี ควำมคิ ดเป็ นของตัวเอง มี
ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ไม่ชอบติดอยูในกรอบ อยูกนแบบต่ำงกันต่ำงอยู่ (โดยเฉพำะในกลุ่มปี สุ ดท้ำย)
                                     ่               ่ ั
ได้รับกำรอบรมเลี้ยงดูมำอย่ำงดี ครอบครัวมีรำยได้ปำนกลำง-สู ง ต้องกำรกำรยอมรับจำกสังคม มัก
ให้ควำมสนใจในกลุ่มเพื่อน สื่ อ เทคโนโลยี สนใจกำรดูแลตนเอง
 -           ผูปกครองของนักศึกษำ เป็ นผูปกครองของนักศึกษำ ส่ วนมำกมำยได้ปำนกลำงถึงสู ง บ้ำง
               ้                              ้
ไม่ ค่ อยมี เวลำในกำรดู แลบุ ตรหลำน แต่ ใ ส่ ใจ ถึ ง ควำมเป็ นอยู่ และกำรเรี ยนกำรนัก ศึ ก ษำอย่ำ ง
สม่ำเสมอ ต้องกำรมีส่วนร่ วมในกำรจัดกำรกำรศึกษำของบุตรหลำน และคำดหวังกับควำมเป็ นไป
ของนักศึกษำสู ง

2. ผู้ดาเนินการ
          - สำนักสวัสดิกำรสุ ขภำพ เป็ นหน่วยงำนที่มีหน้ำที่รับผิดชอบโดยตรงเรื่ องกำรดูแลสุ ขภำพ
ของนักศึกษำ ซึ่ งมีพยำบำลวิชำชี พประจำจำนวน 6 คน นักจิ ตวิทยำ 2 คน และมี เครื อข่ำยควำม
ร่ วมมือกับโรงพยำบำลปทุมธำนี
-                                                                               ่
         ฝ่ ำยกิจกำรนักศึกษำ ของคณะวิชำ เป็ นหน่วยงำนที่มีหน้ำที่ดูแลควำมเป็ นอยูของนักศึกษำ      8
ในระหว่ำงศึกษำในมหำวิทยำลัย มีรองคณบดี ฝ่ำยกิจกำรนักศึกษำของแต่ละคณะเป็ นผูรับผิดชอบ้
ในกำรดูแล
 -       ฝ่ ำยกิ จกำรนักศึกษำ เป็ นหน่ วยงำนกลำงของมหำวิทยำลัยในกำรประสำนงำนกับฝ่ ำย
กิจกำรนักศึกษำของคณะวิชำในกำรดูแลนักศึกษำ
 -       สโมสรนักศึกษำของคณะ และมหำวิทยำลัย เป็ นกำรรวมกลุ่มของนักศึกษำในกำรดูแล
และจัดกิจกรรมต่ำงๆ ของนักศึกษำประกอบด้วยกลุ่มของนักศึกษำที่มิจิตอำสำมำร่ วมมือกันดำเนิ น
กิจกรรมต่ำงๆ ของคณะฯ และมหำวิทยำลัย กำรดำเนินงำนต่ำงๆ ของสโมสรนักศึกษำจะดำเนิ นกำร
โดยงบประมำณสนับสนุ นจำกมหำวิทยำลัย และมี กำรสนับสนุ นจำกนักศึ กษำ และศิษย์เก่ ำด้วย
บำงส่ วน นอกจำกนี้ สโมสรนักศึ กษำยังจัดหำรำยได้โดยกำรจัดจำหน่ ำยเสื้ อ บัตรคอนเสิ ร์ตเพื่ อ
จัดหำรำยได้มำใช้จ่ำยสำหรับกิจกรรมต่ำงๆ ของสโมสร
 -       คณะกรรมกำร และเจ้ำหน้ำที่โครงกำร เป็ นบุคลำกรประจำของมหำวิทยำลัยที่มีหน้ำที่ใน
กำรดูแลงำนสวัสดิกำร และสุ ขภำพนักศึกษำ เป็ นเจ้ำหน้ำที่ที่มีควำมรู้ดวยสุ ขภำพ อำทิ สำธำรณสุ ข
                                                                    ้
ศำสตร์ พยำบำลศำสตร์ เป็ นต้น
 -       ฯลฯ

3. ผู้ทให้ การสนับสนุน
       ี่
 -          สำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ เป็ นหน่วยงำนที่ทำหน้ำที่ประสำนงำน ดูแล ให้กำรสนับสนุ น
กิ จกรรมต่ำงๆ ของสโมสรนักศึ กษำ และมหำวิทยำลัย รวมทั้งประสำนงำนกับส ำนักสวัสดิ กำร
สุ ขภำพ
 -          สำนักงำนงบประมำณ เป็ นหน่ วยงำนที่ รับผิดชอบในกำรวำงแผนด้ำนงบประมำณของ
มหำวิทยำลัย
 -          สำนักงำนกองทุนสนับสนุ นส่ งเสริ มกำรเสริ มสร้ำงสุ ขภำพ เป็ นหน่วยงำนของรัฐบำลที่
สนับสนุ นโครงกำรต่ำงๆ ที่เกี่ ยวข้องกับกำรส่ งเสริ มสุ ขภำพ โดยสนับสนุ นด้ำนงบประมำณ องค์
ควำมรู้ เป็ นต้น
 -          ชมรม และมูลนิ ธิ เพื่อสุ ขภำพ เป็ นชมรม และมูลนิ ธิด้ำนสุ ขภำพต่ำงๆ ที่เข้ำมำมีส่วน
เกี่ยวข้องกับมหำวิทยำลัย อำทิ ชมรมผูสูงอำยุ ซึ่ งอำจมีบทบำทเป็ นผูสนับสนุนโครงกำร
                                        ้                         ้
 -          ฯลฯ
4. ผู้ทอาจขัดขวาง
         ี่                                                                                      9
 -                                                                        ่
            ผูประกอบกำรสถำนบันเทิง เป็ นผูที่ดำเนิ นกำรสถำนบันเทิงอยูรอบๆ มหำวิทยำลัย ซึ่ งมี
                 ้                              ้
รำยได้บำงส่ วนจำกกำรจัดจำหน่ำยบุหรี่ ให้แก่นกศึกษำที่เข้ำมำใช้บริ กำรสถำนบันเทิง ทำให้อำจเป็ น
                                                  ั
ผูเ้ สี ยประโยชน์จำกกำรไม่สูบบุหรี่ ของนักศึกษำ
 -          ผูประกอบกำรที่ขำยบุหรี่ เป็ นผูดำเนินกำรร้ำนค้ำต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอก
               ้                           ้
มหำวิทยำลัยที่อำจเสี ยประโยชน์เนื่องจำกกำรห้ำมขำยบุหรี่ รวมทั้งมีรำยได้ลดลงจำกกำรที่นกศึกษำ
                                                                                      ั
เลิกสู บบุหรี่
 -          บริ ษทผูจดจำหน่ำยบุหรี่ เป็ นบริ ษททุนทั้งภำยในประเทศ และภำยนอกประเทศที่จด
                   ั ้ั                       ั                                         ั
จำหน่ำยบุหรี่ ในประเทศไทย มีรำยโดยตรงจำกกำรจัดจำหน่ำยบุหรี่ ในประเทศไทย
 -          ฯลฯ
1.3 ให้จดทำกำรวิเครำะห์ปัญหำ (Problem analysis) ระบุปัญหำทั้งหมด และจัดทำแผนผังปั ญหำ
        ั                                                                                    10
(Problem tree) 1.4 ให้ทำกำรวิเครำะห์วตถุประสงค์ (Objective analysis)
                                     ั
1.5 ให้ทำกำรวิเครำะห์ทำงเลือกในกำรแก้ปัญหำ (Alternative analysis)
1.6 ให้นำผลกำรวิเครำะห์ท้ งหมดข้ำงต้นมำจัดทำเป็ นแผนโครงกำร (Project planning matrix หรื อ
                          ั
Project design matrix) ในแบบ Logical framework matrix

                                        การวิเคราะห์ ปัญหา
      จำกกำรระดมควำมคิดของกลุ่มผูที่ได้รับมอบหมำยให้วำงแผนโครงกำรและจัดทำ
                                          ้
แผนปฏิบติกำร ได้สำรวจสภำพปั ญหำสุ ขภำพพบว่ำมีปัญหำสำคัญดังนี้
       ั
          1. มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัยเป็ นปริ มำณมำก
          2. มีกำรขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย
          3. มีมลพิษทำงอำกำศ
          4. มีขยะจำกกำรสู บบุหรี่
          5. นักศึกษำป่ วยด้วยโรคระบบหำยใจ
          6. ขำดควำมรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่
          7. ขำดควำมตระหนักในพิษภัยของบุรี
          8. ถูกชักจูงโดยรุ่ นพี่/ผูที่สูบบุหรี่ อยูเ่ ดิม
                                    ้
          9. ควำมต้องกำรมีบุคลิกเป็ นผูใหญ่ ้
          10. ควำมอยำกรู้อยำกลอง
          11. ควำมเข้ำใจพิษว่ำบุหรี่ ทำให้ลดควำมเครี ยด สมองปรำดเปรื่ อง มีควำมคิด
              สร้ำงสรรค์
          12. ควำมเชื่อว่ำบุหรี่ ทำให้ไม่ง่วง
          13. ต้องกำรสร้ำงควำมมันใจ และกำรยอมรับ
                                      ่
          14. ต้องกำรให้เป็ นที่ดึงดูดแก่เพศตรงข้ำม
          15. รำคำไม่แพง หำซื้ อง่ำย
          16. ได้รับแรงกระตุนจำกสื่ อโฆษณำ
                              ้
แผนผังปั ญหา                                                  มหาวิทยาลัยไม่นา
                                                                             ่                         11                                  11
Problem tree)
                                                                    อยู่



                    มีมลพิษทางอากาศ                           นักศึกษาป่ วยด้ วยโรค                          เกิดขยะจากการสูบ
                       จากควันบุหรี่                          ระบบทางเดินหายใจ                                      บุหรี่



                                                               มีการสูบบุหรี่ ใน
                                                                มหาวิทยาลัย



                                 นักศึกษาติดบุหรี่
                                                                                                       นักศึกษาลองสูบ
                                                                                                             บุหรี่



  ขาดการช่วยเหลือ                         ขาดความรู้เรื่ อง                        มีการขายบุหรี่ ใน                     มีตวอย่างการสูบ
                                                                                                                            ั
    การอดบุหรี่                               บุหรี่                                 มหาวิทยาลัย                              บุหรี่
แผนผังวัตถุประสงค์                                                มหาวิทยาลัยน่าอยู่                      12                                       12
(Objective tree)




                     อากาศบริ สทธิ์
                               ุ                                  นักศึกษามีร่างกาย                                 มหาวิทยาลัย
                                                                        แข็งแรง                                       สะอาด



                                                                  ไม่มีการสูบบุหรี่ ใน
                                                                    มหาวิทยาลัย



                                  นักศึกษาเลิกบุหรี่
                                                                                                          นักศึกษาไม่คดลองิ
                                        สาเร็ จ
                                                                                                                สูบบุหรี่



  มีระบบช่วยในกา                           มีการรณรงค์ให้                           มีการห้ ามขายบุหรี่                       ไม่มีตวอย่างการสูบ
                                                                                                                                    ั
      รอดบุหรี่                            ความรู้เรื่ องบุหรี่                      ในมหาวิทยาลัย                                    บุหรี่
การวิเคราะห์ ทางการเลือกในการแก้ปัญหา                                    13
                                      Alternative analysis

1.วัตถุประสงค์โครงกำร (Project purpose) มำจำก A ในที่น้ ี คือ ไม่มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย

2. วัตถุประสงค์แผนงำน (Project goal) มำจำก D ในที่น้ ี คือ มหำวิทยำลัยน่ำอยู่
3 ผลผลิต (Output) ในที่น้ ีคือ นักศึกษำเลิกสู บบุหรี่ และนักศึกษำไม่คิดลองสู บบุหรี่
4. กิจกรรม (Activities) ในที่น้ ีคือ กำรพัฒนำระบบช่วยในกำรอดบุหรี่ กำรรณรงค์ให้ควำมรู ้เรื่ อง
บุหรี่ กำรห้ำมขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย และกำรขจัดตัวอย่ำงในกำรสู บบุหรี่
5. กำรกำหนดตัวชี้วด (Indicators)
                         ั
         ขั้นที่ 1 ผูได้รับผลประโยชน์คือนักศึกษำทุกคนทั้งที่สูบบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่ จะได้อยูใน
                       ้                                                                         ่
มหำวิทยำลัยที่ปลอดบุหรี่
         ขั้นที่ 2 ผูได้รับผลประโยชน์ท้ งสิ้ น 20,000 คน
                     ้                    ั
         ขั้นที่ 3 ควำมรู ้เกี่ยวกับพิษของบุหรี่
         ขั้นที่ 4 สถำนที่ (Where) คือ มหำวิทยำลัยรังสิ ต
         ขั้นที่ 5 เวลำ f
                    ดำเนินกำรในปี 2555 จำนวน 7,000 คน
                                       2556 จำนวน 7,000 คน
                                       2557 จำนวน 7,000 คน
                                       2558 จำนวน 7,000 คน
สรุ ป
         นักศึกษำมหำวิทยำลัยรังสิ ตทุกคนทั้งสู บบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่ จะได้รับควำมรู ้เกี่ยวกับพิษ
ของบุหรี่ ในกรอบเวลำดังนี้
         2555 จำนวน 7,000 คน
         2556 จำนวน 7,000 คน
         2557 จำนวน 7,000 คน
         2558 จำนวน 7,000 คน
แผนหลักโครงการมหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่            14                                             14
           รายละเอียดสรุ ป                              ตัวชี้วด
                                                               ั                    มาตรการตรวจสอบ                    ข้ อสมมติฐาน
        (Narrative Summary)                             (OVIs)                            (MOV)                            (IA)
  วัตถุประสงค์ ระดับเหนือโครงการ         ผลกระทบ                            1. รำยงำนสำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ แผนงำนอื่นดำเนินกำรสำเร็ จ
           (Project Goal)                มหำวิทยำลัยมีควำมน่ำอยู่           2. รำยงำนสุ ขภำพนักศึกษำจำก
เพื่อสร้ำงมหำวิทยำลัยให้น่ำอยู่          KPI                                สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ
                                         1. ไม่มีควันจำกกำรสู บบุหรี่       กำรติดตำมและประเมินผล:
                                         2. ไม่มีขยะจำกกำรสู บบุหรี่        สำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ
                                         3. นักศึกษำมีสุขภำพแข็งแรง

                                     1                                            5                                  9                              13
  วัตถุประสงค์ โครงการ (Project          ผลลัพธ์                                      1. รำยงำนสุ ขภำพนักศึกษำจำก        สสส ให้งบประมำณสนับสนุนอย่ำง
             Purpose)                    ไม่มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย             สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ           ต่อเนื่อง
   เพื่อให้มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ น       KPI                                          กำรติดตำมและประเมินผล
  มหำวิทยำลัยที่ปลอดกำรสู บบุหรี่        1. นักศึกษำที่ติดบุหรี่ เลิกสู บบุหรี่       1. สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ
                                         2. ไม่มีผสูบบุหรี่ รำยใหม่
                                                  ู้

                                     2                                            6                                 10                              14
ผลผลิต (Output)                              KPI                      1. รำยงำนโครงกำร                     15   ได้รับควำมร่ วมมือจำกโรงพยำบำล        15
         1.นักศึกษำเลิกบุหรี่           กำรพัฒนำระบบช่วยในกำรอดบุหรี่           2. รำยงำนฝ่ ำยปฏิบติกำร
                                                                                                    ั                     ปทุมธำนี
   2. นักศึกษำไม่คิดลองสู บบุหรี่       กำรรณรงค์ให้ควำมรู้เรื่ องบุหรี่        กำรติดตำมและประเมินผล                     ร้ำนค้ำภำยในและภำยนอก
                                        กำรห้ำมขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย          1. เจ้ำหน้ำที่โครงกำร                     มหำวิทยำลัยให้ควำมร่ วมมือ
                                        กำรขจัดตัวอย่ำงในกำรสู บบุหรี่          2. คณะทำงำน                               บุคลำกรเลิกสู บบุหรี่ ได้ 100%

                                    3                                       7                                        11                                    15
             กิจกรรม                                                                                                         เงื่อนไขขั้นต้ นก่อนเริ่มโครงการ
1-1 กำหนดหน่วยงำนให้คำปรึ กษำ           1-1 สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ            1. รำยงำนควำมก้ำวหน้ำ                                 (Precondition)
เพื่อกำรอดบุหรี่                        รับผิดชอบกำรให้คำปรึ กษำอดบุหรี่        2. รำยงำนผลทุก 3 เดือน                    1. ต้องได้รับอนุมติงบประมำณจำก
                                                                                                                                             ั
1-2 กำรให้ควำมรู้เรื่ องพิษภัยของกำร    1-2 กำรจัดอบรมให้ควำมรู้เรื่ องพิษ      กำรติดตำมและประเมินผล                     สำนักงำนงบประมำณ และสำนักงำน
สู บบุหรี่                              ภัยของบุหรี่ ในกำรปฐมนิเทศ              1. เจ้ำหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย            กองทุนสนับสนุนส่ งเสริ มกำรสร้ำง
1-3 กำรตรวจสุ ขภำพสำหรับผูสูบ  ้        นักศึกษำ                                2. ข้อมูลกำรเข้ำคลินิกอดบุหรี่ ของ        เสริ มสุ ขภำพ
บุหรี่                                  1-3 นักศึกษำใหม่เข้ำร่ วมกำรตรวจ        นักศึกษำ                                         ่
                                                                                                                          2. อยูหลังช่วงสอบปลำยภำค และ
1-4 กำรให้คำปรึ กษำเพื่ออดบุหรี่        สุ ขภำพ                                                                           ก่อนสอบกลำงภำค
2-1 กำรออกประกำศห้ำมขำยบุหรี่ ใน        1-4 นักศึกษำที่มีประวัติกำรสู บบุหรี่
มหำวิทยำลัย                             เข้ำคลินิกอดบุหรี่
2-2 กำรประชุมผูคำและ
                 ้้                     2-1 มีประกำศโดยอธิ กำรบดีเรื่ องกำร
ผูประกอบกำรสถำนบันเทิงรอบ
   ้                                    ห้ำมจำหน่ำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย
มหำวิทยำลัย                             2-2 ดำเนิ นกำรประชุมผูค่ำและ
                                                               ้               16        16
2-3 ออกประกำศยกเลิกเขตสู บบุหรี่        ผูประกอบกำรสถำนบันเทิงชี้ แจง
                                          ้
ในมหำวิทยำลัย                           2-3 ประกำศโดยอธิกำรบดีเรื่ องกำร
2-4 กำรให้ควำมรู ้แก่ผคำและู้ ้         ยกเลิกพื้นที่สูบบุหรี่
ผูประกอบกำรเกี่ยวกับกฎหมำย
  ้
กำรค้ำบุหรี่ แก่เด็กและเยำวชน
            ปัจจัยนาเข้ า (Input)
1. งบประมำณ                             5,000,0000 บำท
- เงินอุดหนุนโครงกำร                    250,000 บำท
- เบี้ยเลี้ยงบุคลำกร                    100,000 บำท
- ค่ำวิทยำกร
2. บุคลำกร                              5 คน
- วิทยำกร                               100 คน
- นักศึกษำช่วยงำนโครงกำร                10 คน
- เจ้ำหน้ำที่ประสำนงำน                  1 ตุลำคม 2555-31 ธันวำคม 2559
3. ระยะเวลำดำเนินกำร
4. พื้นที่ท่ีดำเนิ นกำร                 นักศึกษำจำนวน 7000 คน
- ภำยในมหำวิทยำลัยรังสิ ต
                                    4                                      8   12   16
ภาคผนวก                                                      17

                                            พิษของบุหรี่

ความเป็ นมาของบุหรี่
         ชำวอินเดี ยนแดงซึ่ งเป็ นชนพื้นเมืองในทวีปอเมริ กำ ได้เริ่ มต้นใช้ยำสู บเป็ นพวกแรก โดย
ปลูกยำสู บเพื่อใช้เป็ นยำและนำมำสู บในพิธีกรรมต่ำงๆ ใน พ.ศ. ๒๐๓๕ เมื่อคริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส
(Christopher Columbus)เดิ นเรื อไปขึ้ นฝั่ งที่ ซันซัลวำดอร์ ในหมู่เกำะเวสต์อินดี ส์น้ ัน ได้เห็ นชำว
พื้นเมืองนำเอำใบไม้ชนิ ดหนึ่ งมำมวนและจุดไฟตอนปลำยแล้วดู ดควัน ต่อมำ พ.ศ. ๒๐๙๑ มีกำร
ปลูกยำสู บในบรำซิ ลซึ่ งเป็ นอำณำนิ คมของโปรตุเกสในทวีปอเมริ กำใต้ เพื่อเป็ นสิ นค้ำส่ งออก เป็ น
ผลให้ยำสู บแพร่ หลำยเข้ำไปในประเทศโปรตุเกสและสเปนตำมลำดับ ต่อมำใน พ.ศ. ๒๑๐๓ นำยฌ
อง นิโกต์ (Jean Nicot)เอกอัครรำชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศโปรตุเกส ได้ส่งเมล็ดยำสู บมำยังรำช
สำนักฝรั่งเศส ชื่ อของนำยนิ โกต์จึงเป็ นที่มำของชื่ อสำรนิ โคติน (Nicotin)ที่รู้จกกันในปั จจุบน ใน
                                                                                 ั               ั
พ.ศ. ๒๑๐๗ เซอร์ จอห์น ฮอคกินส์ (Sir John Hawkins) ได้นำยำสู บเข้ำไปในประเทศอังกฤษ และ
ใน พ.ศ. ๒๑๕๕ นำยจอห์น รอลฟ์ (John Rolfe) ชำวอังกฤษ ประสบผลสำเร็ จในกำรปลูกยำสู บเชิง
พำณิ ช ย์ เป็ นครั้ ง แรก และ ๗ ปี ต่ อมำ ก็ ไ ด้ส่ งออกผลผลิ ตไปยัง ประเทศอำณำนิ ค มเป็ นจำนวน
มหำศำล อีก ๒๐๐ ปี ต่อมำ กำรทำไร่ ยำสู บเชิงพำณิ ชย์จึงเกิดขึ้นอย่ำงแพร่ หลำยทัวโลก ่

การสู บบุหรี่ในประเทศไทย
           ในประเทศไทยมีกำรใช้ยำสู บตั้งแต่สมัยอยุธยำแล้ว โดยมี หลักฐำนจำกจดหมำยเหตุของ
เมอร์ ซิเออร์ เดอลำลูแบร์ (Monsieur De La Loubre)อัครรำชทูตฝรั่งเศสที่เดินทำงมำเมืองไทยสมัย
สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๐ ได้เขียนเล่ำเรื่ องประเทศสยำมว่ำ คนไทยชอบใช้
ยำสู บ อย่ำ งฉุ นทั้ง ผูช ำยและผูหญิ ง โดยได้ย ำสู บมำจำกเมื องมะนิ ล ำ ในหมู่ เกำะฟิ ลิ ป ปิ นส์ จำก
                        ้        ้
ประเทศจีน และที่ปลูกในประเทศเอง ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยูหว พระวรวงศ์่ ั
เธอ พระองค์เจ้ำสิ งหนำทรำชดุรงค์ฤทธิ์ ได้ทรงประดิษฐ์บุหรี่ กนป้ ำนขึ้น เพื่อสู บควันและอมยำกับ
                                                                ้
หมำกพร้ อมกัน ครั้นถึ งรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว มีกำรผลิ ตบุหรี่ ข้ ึ นโดย
บริ ษทที่มีชำวอังกฤษ เป็ นเจ้ำของได้เปิ ดดำเนินกำรเป็ นบริ ษทแรกใน พ.ศ. ๒๔๖๐ กำรผลิตบุหรี่ ใน
       ั                                                      ั
ระยะแรกจะมวนด้ว ยมื อ ต่ อ มำในรั ช สมัย พระบำทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ำ เจ้ำ อยู่หัว มี ก ำรน ำ
เครื่ องจักรเข้ำมำจำกประเทศเยอรมนี และทำกำรผลิตบุหรี่ ออกมำจำหน่ำยหลำยยี่ห้อ กำรสู บบุหรี่ จึง
แพร่ หลำยมำกขึ้น จนกระทังใน พ.ศ. ๒๔๘๒ รัฐบำลได้จดตั้งโรงงำนยำสู บขึ้น โดยซื้ อกิ จกำรมำ
                              ่                             ั
จำกห้ำงหุ ้นส่ วนบูรพำยำสู บ จำกัด (สะพำนเหลือง) ถนนพระรำม ๔ กรุ งเทพฯ และดำเนิ นกิ จกำร
อุตสำหกรรมยำสู บภำยใต้กำรควบคุมของกรมสรรพสำมิต กระทรวงกำรคลัง หลังจำกนั้น รัฐบำล                               18
                       ั            ั                  ั            ั
ได้ซ้ื อกิ จกำรของบริ ษทกวำงฮก บริ ษทฮอฟฟั น และบริ ษทบริ ติชอเมริ กนโทแบกโคเพิ่มขึ้น แล้ว
รวมกิจกำรทั้งหมดเข้ำด้วยกัน และดำเนินกำรภำยใต้ชื่อว่ำ โรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง มำจนถึง
ปัจจุบน ั

ชนิดของยาสู บ
                      ั ่
         ยำสู บที่ใช้กนอยูมีหลำยรู ปแบบ ทั้งแบบสู ด แบบดม แบบอมและเคี้ยว
                                                              ่
         - แบบสู ดโดยกระทำให้เกิดกำรเผำไหม้ใบยำสู บซึ่ งอยูในรู ปของบุหรี่ หรื อซิ กำร์ (cigar) ที่
                                ่
ใช้ใบยำสู บมวนผงใบยำสู บอยูภำยใน หรื อไปป์ (pipe)ที่บรรจุใบยำไว้ในกล้องยำสู บ แล้วจุดไฟให้
เกิดกำรเผำไหม้ แล้วผูสูบสู ดควันเข้ำสู่ ร่ำงกำย
                       ้
         - แบบดม โดยบดใบยำสู บให้ละเอียด แล้วผสมในรู ปของยำนัตถุ์
                                                                                      ่
         - แบบอมและเคี้ยว โดยนำใบยำสู บแห้งมำหันเป็ นฝอย นำมำเคี้ยวแล้วอมอยูระหว่ำงริ ม
                                                        ่
ฝี ปำกกับเหงือก บำงครั้งเรี ยกว่ำ บุหรี่ ไร้ควัน
         ยำสู บส่ วนใหญ่มีกำรใช้สำรเคมีเพื่อปรุ งแต่งกลิ่นรส และเพื่อลดควำมระคำยเคือง บุหรี่ ที่
ผลิตจำกโรงงำนจะใช้สำรเคมี ปรุ งแต่งมำกที่สุด นอกจำกนี้ ยังมีสำรเคมีที่ใช้ในกำรรักษำควำมชื้ น
ของใบยำสู บ และสำรป้ องกันเชื้อรำ เพื่อให้เก็บบุหรี่ ได้นำน รวมทั้งสำรเคมีท่ีใช้ในกำรรักษำสภำพ
กระดำษที่ใช้มวนบุหรี่ อีกด้วย

ชนิดของบุหรี่
          บุหรี่ มี ๒ ชนิดคือ บุหรี่ ที่มวนเอง และบุหรี่ ที่ผลิตโดยเครื่ องจักร บุหรี่ ที่มวนเอง ทำโดยใช้
ใบตองแห้ง ใบบัว หรื อกระดำษ ที่ใช้มวนห่ อใบยำสู บ บุหรี่ ชนิ ดนี้ จะดับง่ำยเนื่ องจำกไม่มีกำรปรุ ง
แต่งสำรเคมีที่ช่วยให้ไฟติดทน สำหรับบุหรี่ ที่ผลิตโดยเครื่ องจักรมี ๒ ชนิ ด คือ บุหรี่ ที่ไม่มีกนกรอง
                                                                                                   ้
ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นบุ หรี่ รำคำถู ก และ บุ หรี่ ที่มีก้นกรอง นอกจำกนี้ บริ ษทบุ หรี่ ยงผลิ ตบุ หรี่ ชนิ ดที่
                                                                              ั           ั
เรี ยกว่ำ "ไลต์ " และ "ไมลด์ "โดยระบุไว้ว่ำเป็ นบุหรี่ ชนิ ดรสอ่อนที่มีอนตรำยต่อสุ ขภำพน้อยกว่ำ
                                                                                ั
บุหรี่ ธรรมดำ แต่จำกกำรวิจยพบว่ำ บุหรี่ ท้ ง ๒ ชนิดมิได้มีอนตรำยน้อยกว่ำบุหรี่ ธรรมดำแต่อย่ำงใด
                                ั               ั                ั
เพียงแต่ต่ำงกันที่รสชำติเท่ำนั้น และบุ หรี่ ชนิ ดที่ มีก้นกรองจะสำมำรถกรองละอองสำรที่ มีขนำด
ใหญ่ไ ด้บ ำงชนิ ดเท่ำ นั้น โดยสำรทำร์ และนิ โคติ นซึ่ ง มี ข นำดเล็ กยังคงผ่ำนเข้ำไปได้ใ นปริ ม ำณ
                              ้
เดียวกับกำร สู บบุรี่ที่ไม่มีกนกรอง

มะเร็งปอด
มะเร็งปอด (lung cancer)เป็ นโรคที่พบมำก และเป็ นสำเหตุกำรตำยในอันดับต้นๆ ทั้งเพศ                 19
ชำย และหญิงในประเทศไทย และอุบติกำรณ์ของโรคนี้ กำลังเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ วโดยเฉพำะในเพศ
                                      ั
หญิง ผูป่วยมะเร็ งปอดร้อยละ 90 เกิดจำกกำรสู บบุหรี่ ซึ่ งสำมำรถป้ องกันได้ ธรรมชำติทำงชี ววิทยำ
       ้
ของโรคมะเร็ ง ปอด ท ำให้ พ บผู ้ป่ วยเมื่ อ เริ่ ม มี อ ำกำร ในขณะที่ โ รคอยู่ ใ นระยะลุ ก ลำม และ
แพร่ กระจำย เป็ นผลให้ผูป่ วยประมำณร้ อยละ90 เสี ย ชี วิตจำกโรคมะเร็ งภำยในเวลำ 1-2 ปี
                             ้
โรคมะเร็ งปอดพบมำกในผูสูงอำยุวย 50-75 ปี ผูป่วยส่ วนใหญ่เป็ นผูที่สูบบุหรี่ ปริ มำณมำก และ
                               ้    ั                  ้                 ้
ประมำณร้อยละ 5เป็ นผูที่ตองสู ดดมควันบุหรี่ จำกผูอื่น ผูที่ สูดดมควันบุหรี่ จำกผูอื่นจะมีควำมเสี่ ยง
                         ้ ้                             ้ ้                       ้
ต่อกำรเป็ นมะเร็ งปอดเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 26 จำนวนมวนของบุหรี่ ที่สูบต่อวัน และชนิ ดของบุหรี่ ที่สูบ
             ั
จะสัมพันธ์กบอัตรำเสี่ ยงต่อกำรเกิดมะเร็ งปอด ผูที่สูบบุหรี่ ร้อยละ 15 จะเกิดโรคมะเร็ งปอดภำยใน
                                                    ้
เวลำ 30 ปี ถ้ำเลิกสู บบุหรี่ สำมำรถลดอัตรำกำรเสี่ ยงต่อกำรเกิดมะเร็ งปอดลงเหลือเท่ำผู ้ ไม่สูบบุหรี่
ได้ภำยในเวลำ 15 ปี




สารอันตรายในบุหรี่
ควันบุหรี่ จะประกอบไปด้วยสำรเคมีที่มีอนตรำยต่อสุ ขภำพกำยของคนเรำประมำณ 4000 ชนิด ซึ่ ง
                                            ั
แบ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ
         กลุ่มแรกได้แก่ ทำร์ หรื อ น้ ำมันดิ น หรื อที่ เห็ นเป็ นครำบบุ หรี่ เป็ นที่ รวมของสำรเคมี ใน
กลุ่ ม ของไฮโดรคำร์ บ อน ซึ่ งจะรวมตัว เป็ นเป็ นสำรที่ มี ค วำมเหนี ย วติ ด อยู่ก ับ เนื้ อ ปอด และมี
คุ ณสมบัติเป็ นสำรก่ อมะเร็ ง โดยตัวของมันเอง นอกจำกนี้ ย ง เป็ นสำรที่ เร่ ง กำรเจริ ญเติ บ โตของ
                                                                   ั
                  ้            ั               ่
เซลล์มะเร็ ง หำกผูสูบบุหรี่ น้ นมีโรคมะเร็ งอยูในร่ ำงกำยแล้ว
กลุ่มทีสองได้แก่ นิโคติน ซึ่ งจัดเป็ นสำรที่มีกำรกระตุนสมอง และประสำทส่ วนกลำงได้ใน
                 ่                                              ้                                           20
ระยะแรก แต่ระยะต่อมำจะมีฤทธิ์ กดระบบประสำท นอกจำกนี้ ยงทำให้เส้นเลือดหดตัว มีผลทำให้
                                                                  ั
ควำมดันโลหิ ตสู งขึ้น กระตุนหัวใจให้เต้นเร็ วขึ้นด้วย นิ โคตินมีส่วนทำให้คนที่สูบบุหรี่ อยำกสู บอยู่
                             ้
เรื่ อยๆ
          กลุ่มทีสามได้แก่ ก๊ำซคำร์ บอนมอนอกไซค์ ซึ่ งมีควำมเข้มข้นสู งในควันบุหรี่ จะไปขัดขวำง
                   ่
กำรรับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง และยังทำให้ไขมันพอกพูนตำมผนังเส้นเลือดมำกขึ้น ทำให้เส้น
เลื อดตี บ สำยตำเสื่ อม ลดประสิ ท ธิ ภำพในกำรตัดสิ นใจ และลดกำรตอบสนองต่ อเสี ย ง ซึ่ ง เป็ น
อันตรำยต่อคนขับรถ นักบิน และมีผลทำให้สมรรถภำพของนักกีฬำลดน้อยลง




สาเหตุอนๆื่
            ผู ้ ป่ วยส่ วนน้อยอีกประมำณร้อยละ 10 ที่ไม่สูบบุหรี่ อำจมีประวัติได้รับสำรก่อมะเร็ งที่เป็ น
สำเหตุของโรค เช่ น แอสเบสตอส(ตัวอย่ำงเช่ นผูที่ทำงำนในโรงงำนผลิ ตผ้ำเบรครถยนต์ เป็ นต้น)
                                                      ้
สำรก่อมะเร็ งอื่นได้แก่ แร่ เรดอน มลภำวะในอำกำศจำกอุตสำหกรรมโลหะหนัก ควันมลภำวะใน
สิ่ งแวดล้อม กำรฉำยรังสี เพื่อรักษำ นอกจำกนี้ พบว่ำปั จจัยทำงพันธุ กรรมมีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรเกิด
โรคมะเร็ งปอดด้วย

อาการ
         1. มะเร็ ง ปอดส่ วนใหญ่จะเริ่ มต้นที่เยื่อบุผนังหลอดลม ทำให้อำจมีอำกำรไอ หำยใจลำบำก
ไอเป็ นเลือด ปอดอักเสบบ่อยๆ เจ็บลึกที่หน้ำอก และหำยใจลำบำกจำกน้ ำท่วมปอด เป็ นต้น
         2. ผูป่วยอำจมีอำกำรเนื่ องจำกมะเร็ งลุ กลำมหรื อแพร่ กระจำย เช่ น เสี ยงแหบ อำกำรทำง
              ้
สมอง ปวดกระดูก เป็ นต้น
3. ผูป่วยในระยะเริ่ มแรกอำจไม่แสดงอำกำรใดๆ ทำให้ผูป่วยมำพบแพทย์ในระยะโรค
               ้                                                  ้                                 21
ลุกลำม และโอกำสรักษำหำยขำดลดลง
         4. มะเร็ ง ปอดเป็ นโรคที่ตรวจค้นหำในระยะเริ่ มแรกได้ยำก กำรนำเอำผูที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงมำ
                                                                            ้ ่
ตรวจเสมหะ และเอ็กซเรย์ปอด เพื่อพยำยำมจะลดอัตรำกำรตำยจำกโรคมะเร็ ง พบว่ำสำมำรถพบ
ผูป่วยมะเร็ งในระยะเริ่ มแรกมำกขึ้น แต่ไม่สำมำรถลดอัตรำตำยลงได้ ควำมล้มเหลวเชื่ อว่ำเนื่ องจำก
  ้
มะเร็ งปอดแม้จะมีขนำดเล็กก็พบกำรแพร่ กระจำยได้ สู ง ทั้งนี้พบว่ำมะเร็ งปอดมักจะเริ่ มมีอำกำรเมื่อ
โรคลุกลำมมำกแล้ว




การวินิจฉัย
         1. การวินิจฉั ยโรคมะเร็ งปอดทำได้โดยกำรถ่ำยภำพรังสี ทรวงอก กำรตรวจเสมหะที่ไอ
ออกมำเพื่อหำเซลล์มะเร็ ง วิธีส่องกล้องตรวจภำยในหลอดลม กำรใช้เข็มแทงผ่ำนผนังทรวงอก หรื อ
ขลิบชิ้นเนื้อจำกหลอดลมเพื่อนำไปตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์เพื่อให้กำรวินิจฉัยทำงพยำธิวทยำ ิ
         2. การถ่ ายภาพรั งสี ทรวงอกเป็ น วิธีตรวจพื้นฐำนช่ วยในกำรตรวจหำมะเร็ งปอดได้เป็ น
อย่ำงดี กำรตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ช่วยในกำรถ่ำยภำพแบบสำมมิติ ช่ วยให้ตรวจพบก้อนเนื้ อ
งอกที่ อ ำจไม่ ป รำกฏบนภำพเอ็ ก ซเรย์ ธ รรมดำ กำรตรวจเอ็ ก ซเรย์ ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ ำใช้
สนำมแม่เหล็กที่มีกำลังสู ง และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้ำงภำพที่ทำให้เห็นรำยละเอียดที่           22
ชัดมำก ยิงขึ้น ภำพถ่ำยรังสี จำกหลำยๆ วิธีสำมำรถให้ขอมูลเกี่ยวกับปอด และก้อนเนื้ องอก อีกทั้งยัง
            ่                                          ้
สำมำรถแสดงตำแหน่ง และขนำดของก้อนเนื้องอกได้อย่ำงแม่นยำ
           3. PET scan(Positron Emission Tomography) เป็ นเครื่ องมือใหม่ทำงรังสี วิทยำ แตกต่ำง
จำกเอ็กซ์เรย์ธรรมดำ เอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ เอ็กซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ำ และอัลตร้ำซำวด์ หลักกำร
ของวิธี เป็ นกำรตรวจหำเซลล์ที่มีเมตะบอลิ ซึมผิดปกติ โดยเป็ นกำรตรวจหำกำรทำงำนของเซลล์
และผ่ำนกลวิธีทำให้ปรำกฏออกมำเป็ นรู ปภำพให้เห็น ในกำรตรวจมะเร็ งปอดจะใช้น้ ำตำลที่จบกับ       ั
สำรกัมมันตภำพฉี ดเข้ำไปในเส้นเลือด เซลล์ที่มีเมตะบอลิซึมสู งจะใช้น้ ำตำลมำก เช่น เซลล์มะเร็ ง
ส่ วนเซลล์ที่ตำยหรื อมีเมตะบอลิซึมต่ำจะใช้น้ ำตำลน้อย เมื่อใช้เครื่ องตรวจวัดปริ มำณกัมมันตภำพ ก็
                          ั
จะพบว่ำก้อนมะเร็ งมีกมมันตภำพสู งกว่ำเนื้อเยือปกติธรรมดำ
                                              ่
           4. วิธีส่องกล้ องตรวจภายในหลอดลม (bronchoscopy)กระทำโดยใช้กล้องส่ องสอดทำง
จมูกเข้ำไปจนถึงหลอดลม เมื่อเห็นภำพโดยตรงของหลอดลม และท่อลม รวมถึงก้อนเนื้ องอก จึงดูด
หรื อตัดชิ้นเนื้อบริ เวณนั้นมำเพื่อตรวจทำงห้องปฏิบติกำรต่อไป ข้อดีของกำรส่ องกล้องตรวจภำยใน
                                                   ั
หลอดลมคือช่วยให้ได้เห็นภำพของหลอดลมในปอดได้ โดยตรง
           5. การตัดชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา(biopsy) เป็ นวิธีตรวจโดยตัดชิ้นเนื้ อจำกก้อนเนื้ อ
งอก หรื อส่ วนอื่นๆ ของร่ ำงกำย ชิ้ นตัวอย่ำงจะถูกตรวจภำยใต้กล้องจุลทรรศน์เพื่อศึกษำลักษณะ
ผิดปกติ ของเซลล์ มะเร็ ง อำจเลื อกใช้เข็มดู ด โดยใช้เข็มที่ บำงมำกในกำรดู ดเอำชิ้ นเนื้ อบำงส่ วน
ออกมำจำกก้อนเนื้ อที่สงสัย วิธีน้ ี ทำภำยใต้กำรใช้ยำชำเฉพำะที่เพื่อระงับอำกำรปวด กำรตรวจด้วย
เครื่ องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ช่วยในกำรหำตำแหน่งที่แม่นยำ และเหมำะสมสำหรับกำรแทงเข็ม
           6. การตรวจเสมหะที่ ไอออกมำเพื่อหำเซลล์มะเร็ งเคยเป็ นวิธีตรวจมะเร็ งปอดระยะแรก
                                                                     ่
ประจำปี พบว่ำผลที่ได้น้อย จึงเสื่ อมควำมนิ ยมไป ใน 10-20ปี ที่ผำนมำกำรพยำยำมตรวจหำมะเร็ ง
ปอดในระยะแรกได้เริ่ ม ขึ้ น ใหม่ โดยใช้เ อ็ก ซ์ เรย์ค อมพิ วเตอร์ ซ่ ึ งจะให้ ผ ลตรวจก้อ นมะเร็ ง ใน
ระยะแรกได้ไวกว่ำ เอกซ์เรย์ธรรมดำถึง 3 เท่ำ และพบในระยะแรกที่ตดออกได้มำกกว่ำถึง 5 เท่ำ
                                                                         ั
23




การแบ่ งระยะของมะเร็งปอดด
ปั จจุบน กำรแบ่งระยะของมะเร็ งปอด นิยมใช้ระบบจัดจำแนกชนิด TNM system โดยที่ Tหมำยถึง
       ั
ขนำดของก้อนมะเร็ ง Nหมำยถึงมะเร็ งกระจำยไปต่อมน้ ำเหลืองแล้วหรื อไม่ และไปที่ต่อมไหน
ส่ วน Mหมำยถึงมะเร็ งกระจำยไปยังอวัยวะอื่นๆ แล้วหรื อไม่
         Occult stage : พบเซลล์มะเร็ งในเสมหะ หรื อน้ ำลำย แต่ไม่พบก้อนมะเร็ งในปอด
         Stage 0 : พบมะเร็ งในหลอดลมแต่ไม่กินลึกลงไปในปอด อยูเ่ ฉพำะที่ และไม่กระจำยไปที่
ใด
่
      Stage I : มะเร็ งจำกัดอยูในปอด ยังไม่กระจำยแพร่ ออกไป ก้อนมะเร็ งจะโตเท่ำไรก็ได้        24
      Stage II : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปในต่อมน้ ำเหลืองในปอดข้ำงเดียวกันแล้ว
      Stage IIIA : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปยังต่อมน้ ำเหลืองรอบๆ หลอดลม อำจลำมไปถึงทรวง
อก และกระบังลมข้ำงเดียวกัน
      Stage IIIB : มะเร็ งกระจำยไปยังต่อมน้ ำเหลืองที่ปอดด้ำนตรงข้ำม และต่อมน้ ำเหลืองที่คอ
      Stage IV : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปยังอวัยวะอื่นๆ ในร่ ำงกำยแล้ว

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 

La actualidad más candente (20)

Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
22
2222
22
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 

Destacado

11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
Proposal writing resource logical framework-
Proposal writing resource  logical framework-Proposal writing resource  logical framework-
Proposal writing resource logical framework-tccafrica
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยการพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยFin Za Za
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการpop Jaturong
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก KpiSuradet Sriangkoon
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-finalKamol Khositrangsikun
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)กิตติกร ยาสมุทร
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryกฤษฎา นามสุข
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงglenferry
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 

Destacado (20)

11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
Proposal writing resource logical framework-
Proposal writing resource  logical framework-Proposal writing resource  logical framework-
Proposal writing resource logical framework-
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
Spp, bsc, kpi, log frame
Spp, bsc, kpi, log frameSpp, bsc, kpi, log frame
Spp, bsc, kpi, log frame
 
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยการพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้2.docx
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้2.docxตัวอย่างแผนภาพต้นไม้2.docx
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้2.docx
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
 
HR Case Analysis
HR Case AnalysisHR Case Analysis
HR Case Analysis
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
Lower market
Lower marketLower market
Lower market
 
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดง
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 

Similar a ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ

ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.dentyomaraj
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนTaraya Srivilas
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมmastersunshine
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันQA Bpi
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 

Similar a ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ (20)

Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Ple
PlePle
Ple
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 

Más de WC Triumph

ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
 
2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision makingWC Triumph
 
2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introductionWC Triumph
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWC Triumph
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 

Más de WC Triumph (6)

ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
 
2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making
 
2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 

ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ

  • 1. ตัวอย่ างกรณีศึกษาโครงการมหาวิทยาลัยรังสิ ตปลอดบุหรี่ 1 1.1 ให้ทำกำรศึกษำและวิเครำะห์สภำพพื้นที่ที่ท่ำนปฏิบติงำนอยูในเรื่ องที่เกี่ยวเนื่ องกับสำธำรณสุ ข ั ่ โดยให้อธิบำยสภำพแวดล้อมชุมชน สถำนกำรณ์ทำงด้ำนสำธำรณสุ ขของชุมชน และระบุประเด็น สำคัญที่ควรให้ควำมสนใจในกำรปรับปรุ งแก้ไขทำงด้ำนสำธำรณสุ ข (ที่จะต้องแก้ไขด้วยระยะเวลำ ภำยใน 3 ปี ) ปัญหาสุ ขภาพทีพบ นักศึกษำสู บบุหรี่ ท้ งอุบติกำรณ์ในกำรสู บบุหรี่ ใหม่ของนักศึกษำ และนักศึกษำ ่ ั ั ่ ที่ติดบุหรี่ อยูแล้ว ข้ อมูลทัวไป ่ มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ นสถำบันอุดมศึกษำ ที่ได้รับกำรประเมินจำกสำนักงำนรับรองมำตรฐำน และประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (สมศ.) ให้เป็ นมหำวิทยำลัยเอกชนเพียงแห่งเดียวที่ได้รับกำรจัดให้ อยูในระดับ “ดีมำก” ในกลุ่มสถำบันที่เน้นกำรผลิตบัณฑิต จัดกำรเรี ยนกำรสอนโดยแบ่งกลุ่มคณะ ่ วิชำออกเป็ น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มคณะวิชำแพทยศำสตร์ และวิทยำศำสตร์ สุขภำพ : วิทยำลัยแพทยศำสตร์ คณะทันต แพทยศำสตร์ คณะเภสัชศำสตร์ คณะเทคนิคกำรแพทย์ คณะพยำบำลศำสตร์ คณะกำยภำพบำบัด คณะวิทยำศำสตร์ คณะทัศนมำตรศำสตร์ และคณะกำรแพทย์แผนตะวันออก 2. กลุ่มคณะวิชำวิศวกรรมศำสตร์ และเทคโนโลยี : วิทยำลัยวิศวกรรมศำสตร์ คณะเทคโนโลยี สำรสนเทศ คณะเทคโนโลยีชีวภำพ และสถำบันกำรบิน 3. กลุ่มคณะวิชำมนุษยศำสตร์ และสังคมศำสตร์ : วิทยำลัยนวัตกรรมสังคม วิทยำลัยนำนำชำติ สถำบันกำรทูตและกำรต่ำงประเทศ คณะศิลปศำสตร์ คณะนิเทศศำสตร์ คณะนิติศำสตร์ คณะ ศึกษำศำสตร์ และบัณฑิตวิทยำลัย 4. กลุ่มคณะวิชำศิลปะและกำรออกแบบ : วิทยำลัยดนตรี คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ คณะ ศิลปะและกำรออกแบบ และคณะ Digital Art 5. กลุ่มคณะวิชำเศรษฐกิจและธุ รกิจ : วิทยำลัยบริ หำรธุ รกิจและรัฐกิจ คณะบริ หำรธุ รกิจ คณะ บัญชี คณะอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยวและกำรบริ กำร และคณะเศรษฐศำสตร์
  • 2. ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย 2 รั ง สิ ตตั้ง อยู่ ต ำบลหลั ก ห ก ถ น น พ ห ล โ ย ธิ น อ ำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด ปทุ ม ธำนี ห่ ำงจำกท่ ำ อำกำศยำนดอนเมื อ ง 3 กิ โ ลเมตร บริ เวณรอบ ข้ ำ งมหำวิ ท ยำลั ย เป็ น ชุ ม ชนเมื อ งเอก เนื้ อที่ 4,000 ไร่ มหำวิทยำลัยรั งสิ ตอยู่ในทำเลที่ต้ งที่ดี ประกอบด้วยสิ่ งอำนวยควำมสะดวก อำทิ สนำม ั กอล์ ฟ สระว่ ำ ยน้ ำ สนำมเทนนิ ส มี อ ำกำศที่ บ ริ สุ ทธิ์ แจ่ ม ใส เหมำะส ำหรั บ เป็ นที่ ต้ ัง ของ สถำบันอุดมศึกษำ มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ นสถำบันอุดมศึกษำเอกชนที่มีจุดมุ่งหมำยสำคัญคือกำรผลิต บัณฑิ ตในสำขำวิช ำที่ ตรงกับควำมต้องกำรในกำรพัฒนำประเทศ โดยมุ่ง เน้นด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรออกแบบ และกำรจัดกำรเป็ นสำคัญ รวมทั้งวิชำชี พอิสระที่สำมำรถสร้ำงงำนของ ตนเองได้ ควำมคิดที่จะดำเนินกำรจัดตั้งมหำวิทยำลัยรังสิ ตมีมำนำนแล้ว โดยนำยประสิ ทธิ์ อุไรรัตน์ อดี ตผูว่ำกำรทำงพิเศษ และผูว่ำรำชกำรจังหวัดหลำยจังหวัด ตั้งแต่เมื่ อครั้ งยังอยู่ในรำชกำรว่ำจะ ้ ้ รวบรวมบุคคลที่รักใคร่ ชอบพอ สร้ำงกิจกรรมขึ้นอย่ำงหนึ่งที่จะอำนวยประโยชน์แก่สังคมได้เต็มที่ โดยตั้งปณิ ธำนไว้วำ “เรำจะสร้ำงเยำวชนและคนรุ่ นใหม่ให้เป็ นบัณฑิ ตที่เพียบพร้อมด้วยวิทยำกำร ่ และเพียบพร้อมด้วยจริ ยธรรม คณะผูก่อตั้งมหำวิทยำลัยรังสิ ตประกอบด้วยนักกำรศึกษำ นักวิชำกำร และผูชำนำญจำก ้ ้ รัฐวิสำหกิ จต่ำงๆ ที่มีควำมเห็นพ้องกันว่ำกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำของประเทศยังไม้เพียงพอกับ ควำมต้องกำร โดยเฉพำะอย่ำงยิงด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรออกแบบ และกำรจัดกำร เพื่อให้ ่ บรรลุ เป้ ำหมำยดังกล่ำวมหำวิทยำลัยรั งสิ ตจึงได้วำงแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำไว้อย่ำงชัดเจน ดังนี้ คือ มุ่งเน้นในเรื่ องมำตรฐำนกำรศึกษำ และควำมเป็ นเลิศทำงวิชำกำร ส่ งเสริ มกำรพัฒนำหลักสู ตร และสำขำวิชำให้สอดคล้องกัน และทันต่อควำมเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ และสังคม ส่ งเสริ มให้มี กำรศึกษำภำคทฤษฎี ควบคู่และสัมพันธ์ไปกับภำคปฏิ บติ ซึ่ งนอกเหนื อจำกกำรฝึ กฝนปฏิ บติงำน ั ั หรื อกำรเรี ยนรู ้โดยตรงจำกธุ รกิ จ อุตสำหกรรม หรื อสถำนประกอบกำรในสำขำที่ตนศึกษำแล้ว ยัง มุ่งส่ งเสริ มให้คณะและสำขำวิชำต่ำงๆ ของมหำวิทยำลัยเป็ นองค์กรหรื อสถำนที่ปฏิบติงำนในตัวเอง ั ทั้งนี้ โดยมีจุดมุ่งหมำยให้องค์กรเหล่ำนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของกำรศึกษำ แอละยังเป็ นกำรบริ กำรชุ มชน อีกด้วย
  • 3. ปั จจุ บนมหำวิทยำลัยรั งสิ ตดำเนิ นกำรจัดกำรศึกษำทั้งระดับปริ ญญำตรี โท และเอก รวม ั 3 ทั้งสิ้ น 44 หลัก สู ตร 121 สำขำวิช ำ โดยเป็ นระดับปริ ญญำตรี 23 หลัก สู ตร 79 สำขำวิชำ ระดับ ปริ ญญำโท 17 หลักสู ตร 35 สำขำวิชำ และระดับปริ ญญำเอก 4 หลักสู ตร 7 สำขำวิชำ มีอำจำรย์ ประจำ 1,294 คน บุคลำกรฝ่ ำยสนับสนุ นกำรศึก ษำ 708 คน มีจำนวนผูสำเร็ จกำรศึกษำปี 2554 ้ จำนวน 4,331 คน มีจำนวนนักศึกษำในมหำวิทยำลัยในปี กำรศึกษำ 2555 ประมำณ 20,000 คน มหำวิทยำลัยรังสิ ต ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรมีสุขภำพกำยและสุ ขภำพจิตที่ดีของ นัก ศึ ก ษำและบุ ค ลำกร ซึ่ ง สุ ข ภำพกำยและสุ ข ภำพจิ ต ที่ ดี มี ควำมส ำคัญ ในกำรปฏิ บ ัติง ำน และ กำรศึกษำเล่ำเรี ยน เพื่อให้บรรลุวตถุ ประสงค์ดงกล่ำว มหำวิทยำลัยรังสิ ตได้จดตั้งสานักงานสานัก ั ั ั บริการสุ ขภาพ สังกัดฝ่ ำยกิจกำรนักศึกษำ เป็ นหน่วยงำนสนับสนุ นกำรเรี ยนกำรสอนและให้บริ กำร ด้ำนสุ ขภำพขั้นพื้นฐำน โดยแยกกำรดำเนินงำนเป็ น 2 หน่วย คือ 1. หน่ วยบริการสุ ขภาพ (Health Center) มีหน้ำที่ดูแลจัดบริ กำรและสวัสดิกำรด้ำนสุ ขภำพ ให้แก่นกศึกษำและบุคลำกรดังนี้ ั 1.1 บริ กำรปฐมพยำบำล โดยทีมพยำบำลวิชำชี พประจำกำรตลอด เวลำทำกำร คือ เวลำ ่ 08.30 - 16.30 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ ในช่วงเวลำที่ไม่มีแพทย์เวรอยูประจำกำร ถ้ำมีกรณี ฉุกเฉิ นจะมี รถมหำวิทยำลัยนำส่ งโรงพยำบำล เพื่อรับกำรรักษำที่เหมำะสมต่อไป 1.2 บริ กำรรักษำพยำบำลโรคเบื้องต้นโดยพยำบำลเวชปฏิบติทุกวันทำกำร จันทร์ -ศุกร์ เวลำ ั 08.30-16.30 น. 1.3 บริ กำรตรวจรักษำโรคทัวไป โดยแพทย์หน่วยบริ กำรปฐมภูมิ โรงพยำบำลปทุมธำนี มี ่ แพทย์เวรประจำ ทุกวันทำกำร ในเวลำ 13.00-16.00 น. 1.4 จัดโครงกำรบัตรประกันสุ ขภำพถ้วนหน้ำ (บัตรทอง 30 บำท) โดยร่ วมกันโรงพยำบำล ปทุ ม ธำนี เปิ ดให้บริ กำรกับนัก ศึ ก ษำที่ ป ระสงค์จะขอใช้สิ ทธิ์ ในกำรขอขึ้ นทะเบี ยน ผูมี สิท ธิ์ ใน ้
  • 4. โครงกำรบัต รประกัน สุ ข ภำพ นัก ศึ ก ษำ 4 สำมำรถขอขึ้ นทะเบี ย นบั ต รทองได้ ที่ หน่วยบริ กำรสุ ขภำพมหำวิทยำลัยรังสิ ต 1.5 บริ กำรห้องพักสำหรับผูป่วย ้ เพื่อ นอนพักและสังเกตอำกำรผิดปกติ 1.6 ร่ วมจัดโครงกำรรั บ บริ จำค โลหิ ต ดวงตำ และอวัย วะ กับสภำกำชำด ไทย ปี ละ 4 ครั้ง 1.7 จัด โครงกำรและกิ จ กรรม ส่ งเสริ มและพัฒนำพฤติกรรมสุ ขภำพ เช่ น โครงกำรเสริ มสร้ ำงพลังชี วิตและสุ ขภำพ เต้นแอโรบิก เดิ นรณรงค์ต่อต้ำนโรคเอดส์ คลินิกอดบุหรี่ 1.8 บริ กำรให้ควำมรู้ดำนสุ ขภำพ ้ และคำปรึ กษำแนะนำปัญหำด้ำนสุ ขภำพ และเป็ นแหล่งสนับสนุนวิชำกำร ให้ขอมูล ้ ควำมรู ้ปัญหำทำงสุ ขภำพแก่บุคลำกรและ นักศึกษำคณะต่ำงๆ 1.9 เป็ นสถำนที่ฝึกปฏิบติงำน เพื่อ ั เสริ มประสบกำรณ์กำรพยำบำลของ นักศึกษำพยำบำลและนักศึกษำคณะต่ำงๆ สำขำวิชำที่เกี่ยวข้อง กับกำรรักษำพยำบำล 1.10 บริ กำรยืมอุปกรณ์ทำงกำร แพทย์ สื่ อ โสต ด้ำนสุ ขภำพ และบริ กำร อื่นๆ
  • 5. 5 2. หน่ วยพัฒนาคุณภาพชี วต (Counseling Center) มีหน้ำที่ดูแลรับผิดชอบงำนบริ กำรด้ำน ิ กำรให้คำปรึ กษำแก่นกศึกษำ/บุคลำกร ดังนี้ ั 2.1 บริ กำรให้คำปรึ กษำแก่นกศึกษำและบุคลำกร ที่มำรับบริ กำรด้วยตนเองหรื อรับกำรส่ ง ั ต่อจำกคณะต่ำง ๆ และขอรับกำรปรึ กษำทำงโทรศัพท์ (Hot line ) เบอร์ โทร 1462 และสำนักงำน ธุรกำรเบอร์โทร 1415 2.2 เวลำเปิ ดทำกำร ทุกวันทำกำร จันทร์ -วันศุกร์ เวลำ 8.30-16.30 น. และเปิ ดคลินิกให้ คำปรึ กษำ/ปรึ กษำทำงโทรศัพท์ เวลำ 11.30-13.30 น. 2.3 ให้กำรบริ กำรอื่นๆ เช่ น ประเมินภำวะชี วจิตสังคม กำรปรับตัว ประเมินควำมเครี ยด สุ ขภำพจิต ควำมเศร้ ำ กังวล กำรทดสอบทำงจิตวิทยำ กำรประเมินเชำวน์ปัญญำ ควำมฉลำดทำง อำรมณ์ บุคลิกภำพ และอื่นๆ 2.4 ให้บริ กำรวิชำกำรแก่สังคม เช่น แจกเอกสำรแผ่นพับ จัดบอร์ ดเผยแพร่ ควำมรู ้ บริ กำร ยืม สื่ อ โสต เป็ นวิทยำกรเผยแพร่ ควำมรู ้ทำงจิตวิทยำให้คำปรึ กษำ และ สุ ขภำพจิต
  • 6. 6 ภำพแสดงแผนผังโครงสร้ำงองค์กรสำนักสวัสดิกำรสุ ขภำพ จำกข้อมูลในปั จจุบน ปั ญหำเรื่ องกำรสู บบุหรี่ เกิดขึ้นอย่ำงชัดเจน เนื่ องจำกค่ำนิยม มุมมอง ั และทัศนคติต่อพิษภัยของบุหรี่ เปลี่ยนแปลงไป นอกจำกนี้ยงมีกำรจัดบริ เวณที่สูบบุหรี่ ไว้ใกล้กบ ั ั อำคำรเรี ยน มีบุคลำกร คณำจำรย์ และนักศึกษำแวะเวียนมำสู บบุหรี่ อยูเ่ ป็ นประจำ อีกทั้งสถำนที่สูบ บุหรี่ ยงจัดไว้ใกล้เคียงกับทำงเข้ำออกของอำคำรทำให้ผไม่สูบบุหรี่ ตองได้รับสำรพิษจำกบุหรี่ เป้ นผู้ ั ู้ ้ ่ ้ สู บบุหรี่ มือสองอยูดวยเช่นเดียวกัน ดังนั้นปั ญหำทำงสุ ขภำพที่เกิดขึ้นจึงเกิดกับทั้งผูท่ีสูบบุหรี่ และผู ้ ้ ที่ไม่สูบบุหรี่ อีกทั้งยังเป็ นกำรกระตุนให้เกิดควำมยำกลองแก่ผสูบบุหรี่ รำยใหม่ ทั้งนี่จะเห็นได้วำที่ ้ ู้ ่ ่ ผ่ำนมำได้มีกำรรณรงค์ให้เห็นพำภัยของสำรพิษในบุหรี่ วำสำมำรถก่อให้เกิดควำมเสี่ ยงในด้ำน สุ ขภำพในระบบหำยใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้งผลต่อสุ ขภำพช่องปำกของผูสูบบุหรี่ เอง ้ ดังนั้นเมื่อสุ ขภำพเปลี่ยนแปลงไปในทำงที่ไม่ดี ย่อมส่ งผลต่อกำรใช้ชีวิตและกำรดำเนินกิจกรรม ประจำวัน ปั จจุบนกำรสู บบุหรี่ ที่เพิ่มมำกขึ้นของประชำกรโลก ได้สร้ำงผลกระทบที่ก่อให้เกิดปั ญหำ ั ต่ำงๆ เพิ่มมำกขึ้ นทุ กขณะ ไม่ว่ำจะเป็ นปั ญหำทำงกำรแพทย์ สำธำรณสุ ข เศรษฐกิ จ สังคม หรื อ กำรเมือง ซึ่ งปั ญหำดังกล่ำวย่อมส่ งผลย้อนกลับไปยังประชำชนที่สูบบุหรี่ อย่ำงเลี่ยงไม่ได้ หำกยังไม่ มีมำตรกำรรณรงค์ป้องกันไม่ให้ผูสูบบุหรี่ เพิ่มจำนวนมำกขึ้น และลดจำนวนผูสูบบุหรี่ ให้น้อยลง ้ ้ ซึ่ งสถำนกำรณ์เกี่ยวกับกำรสู บบุหรี่ ในประเทศไทยที่ทำกำรศึกษำในปี 2550 ในประชำกรไทยอำยุ 15 ปี ขึ้ นไป จำนวน 51.2 ล้ำนคน เป็ นผูสูบบุหรี่ ประมำณ 10.8 ล้ำนคน หรื อร้ อยละ 21.2 ซึ่ งใน ้
  • 7. จำนวนนี้ เป็ นผูสูบบุหรี่ เป็ นประจำร้อยละ 18.5 สู บนำนๆ ครั้งร้อยละ 2.4 อำยุเฉลี่ยที่เริ่ มสู บบุหรี่ คื ้ 7 18.5 ปี ซึ่ งเป็ นวัยที่ยงศึกษำในอยู่ในระดับมหำวิทยำลัย ซึ่ งเป็ นช่วงวัยรุ่ นที่เต็มไปด้วยควำมอยำก ั เห็นอยำกลอง และต้องกำรกำรยอมรับจำกกลุ่มเพื่อนและสังคมใยวัยเดียวกัน มีกำรถ่อยทอดค่ำนิ ยม ที่ผิดๆ ระหว่ำงกัน เช่ น ต้องดื่ มเหล้ำจึ งจะเข้ำสังคมได้ หรื อแม้กระทังกำรสู บบุ หรี่ ของวัยรุ่ นใน ่ ปั จจุบนก็ถือว่ำมีจำนวนมำก ซึ่ งมักจะมีสำเหตุมำจำกควำมต้องกำรให้มีบุคลิ กดูเป็ นผูใหญ่ เท่ห์ มี ั ้ รสนิยม เป็ นกำรเข้ำสังคม ทำให้สมองปรำดเปรื่ อง แก้ปัญหำต่ำงๆ ได้ ช่วยลดควำมเครี ยด 1.2 ให้ทำกำรศึกษำผูมีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) กับโครงกำร โดยดำเนินกำรดังนี้ ้ - ระบุวำผูมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงกำรที่จะดำเนินกำรคือใครบ้ำง ทั้งบุคคลและกลุ่มบุคคล ่ ้ - ให้ทำกำรวิเครำะห์ ว่ำ ผูมี ส่วนเกี่ ย วข้องดัง กล่ ำวมี ใ ครเป็ นผูที่ไ ด้รับประโยชน์ ใครเป็ นผูเ้ สี ย ้ ้ ประโยชน์ ใครจะเป็ นผูดำเนินโครงกำร และใครจะเป็ นผูให้กำรสนับสนุนโครงกำร และให้ทำกำร ้ ้ วิเครำะห์ผูมีส่วนเกี่ ยวข้องดังกล่ำวทั้ง 4 กลุ่ มในประเด็นของลักษณะเฉพำะของกลุ่มหรื อบุคคล ้ (Characteristics of the group/person) ผลประโยชน์ (ควำมสนใจ, แรงจูงใจ, ทัศนคติ) ศักยภำพ (Potentials) และผลกระทบที่มีต่อโครงกำร 1. กลุ่มผู้ได้ รับประโยชน์ จากโครงการ - นัก ศึ ก ษำมหำวิท ยำลัย รั ง สิ ต เป็ นกลุ่ ม บุ ค คลวัย 18-24 ปี มี ควำมคิ ดเป็ นของตัวเอง มี ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ไม่ชอบติดอยูในกรอบ อยูกนแบบต่ำงกันต่ำงอยู่ (โดยเฉพำะในกลุ่มปี สุ ดท้ำย) ่ ่ ั ได้รับกำรอบรมเลี้ยงดูมำอย่ำงดี ครอบครัวมีรำยได้ปำนกลำง-สู ง ต้องกำรกำรยอมรับจำกสังคม มัก ให้ควำมสนใจในกลุ่มเพื่อน สื่ อ เทคโนโลยี สนใจกำรดูแลตนเอง - ผูปกครองของนักศึกษำ เป็ นผูปกครองของนักศึกษำ ส่ วนมำกมำยได้ปำนกลำงถึงสู ง บ้ำง ้ ้ ไม่ ค่ อยมี เวลำในกำรดู แลบุ ตรหลำน แต่ ใ ส่ ใจ ถึ ง ควำมเป็ นอยู่ และกำรเรี ยนกำรนัก ศึ ก ษำอย่ำ ง สม่ำเสมอ ต้องกำรมีส่วนร่ วมในกำรจัดกำรกำรศึกษำของบุตรหลำน และคำดหวังกับควำมเป็ นไป ของนักศึกษำสู ง 2. ผู้ดาเนินการ - สำนักสวัสดิกำรสุ ขภำพ เป็ นหน่วยงำนที่มีหน้ำที่รับผิดชอบโดยตรงเรื่ องกำรดูแลสุ ขภำพ ของนักศึกษำ ซึ่ งมีพยำบำลวิชำชี พประจำจำนวน 6 คน นักจิ ตวิทยำ 2 คน และมี เครื อข่ำยควำม ร่ วมมือกับโรงพยำบำลปทุมธำนี
  • 8. - ่ ฝ่ ำยกิจกำรนักศึกษำ ของคณะวิชำ เป็ นหน่วยงำนที่มีหน้ำที่ดูแลควำมเป็ นอยูของนักศึกษำ 8 ในระหว่ำงศึกษำในมหำวิทยำลัย มีรองคณบดี ฝ่ำยกิจกำรนักศึกษำของแต่ละคณะเป็ นผูรับผิดชอบ้ ในกำรดูแล - ฝ่ ำยกิ จกำรนักศึกษำ เป็ นหน่ วยงำนกลำงของมหำวิทยำลัยในกำรประสำนงำนกับฝ่ ำย กิจกำรนักศึกษำของคณะวิชำในกำรดูแลนักศึกษำ - สโมสรนักศึกษำของคณะ และมหำวิทยำลัย เป็ นกำรรวมกลุ่มของนักศึกษำในกำรดูแล และจัดกิจกรรมต่ำงๆ ของนักศึกษำประกอบด้วยกลุ่มของนักศึกษำที่มิจิตอำสำมำร่ วมมือกันดำเนิ น กิจกรรมต่ำงๆ ของคณะฯ และมหำวิทยำลัย กำรดำเนินงำนต่ำงๆ ของสโมสรนักศึกษำจะดำเนิ นกำร โดยงบประมำณสนับสนุ นจำกมหำวิทยำลัย และมี กำรสนับสนุ นจำกนักศึ กษำ และศิษย์เก่ ำด้วย บำงส่ วน นอกจำกนี้ สโมสรนักศึ กษำยังจัดหำรำยได้โดยกำรจัดจำหน่ ำยเสื้ อ บัตรคอนเสิ ร์ตเพื่ อ จัดหำรำยได้มำใช้จ่ำยสำหรับกิจกรรมต่ำงๆ ของสโมสร - คณะกรรมกำร และเจ้ำหน้ำที่โครงกำร เป็ นบุคลำกรประจำของมหำวิทยำลัยที่มีหน้ำที่ใน กำรดูแลงำนสวัสดิกำร และสุ ขภำพนักศึกษำ เป็ นเจ้ำหน้ำที่ที่มีควำมรู้ดวยสุ ขภำพ อำทิ สำธำรณสุ ข ้ ศำสตร์ พยำบำลศำสตร์ เป็ นต้น - ฯลฯ 3. ผู้ทให้ การสนับสนุน ี่ - สำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ เป็ นหน่วยงำนที่ทำหน้ำที่ประสำนงำน ดูแล ให้กำรสนับสนุ น กิ จกรรมต่ำงๆ ของสโมสรนักศึ กษำ และมหำวิทยำลัย รวมทั้งประสำนงำนกับส ำนักสวัสดิ กำร สุ ขภำพ - สำนักงำนงบประมำณ เป็ นหน่ วยงำนที่ รับผิดชอบในกำรวำงแผนด้ำนงบประมำณของ มหำวิทยำลัย - สำนักงำนกองทุนสนับสนุ นส่ งเสริ มกำรเสริ มสร้ำงสุ ขภำพ เป็ นหน่วยงำนของรัฐบำลที่ สนับสนุ นโครงกำรต่ำงๆ ที่เกี่ ยวข้องกับกำรส่ งเสริ มสุ ขภำพ โดยสนับสนุ นด้ำนงบประมำณ องค์ ควำมรู้ เป็ นต้น - ชมรม และมูลนิ ธิ เพื่อสุ ขภำพ เป็ นชมรม และมูลนิ ธิด้ำนสุ ขภำพต่ำงๆ ที่เข้ำมำมีส่วน เกี่ยวข้องกับมหำวิทยำลัย อำทิ ชมรมผูสูงอำยุ ซึ่ งอำจมีบทบำทเป็ นผูสนับสนุนโครงกำร ้ ้ - ฯลฯ
  • 9. 4. ผู้ทอาจขัดขวาง ี่ 9 - ่ ผูประกอบกำรสถำนบันเทิง เป็ นผูที่ดำเนิ นกำรสถำนบันเทิงอยูรอบๆ มหำวิทยำลัย ซึ่ งมี ้ ้ รำยได้บำงส่ วนจำกกำรจัดจำหน่ำยบุหรี่ ให้แก่นกศึกษำที่เข้ำมำใช้บริ กำรสถำนบันเทิง ทำให้อำจเป็ น ั ผูเ้ สี ยประโยชน์จำกกำรไม่สูบบุหรี่ ของนักศึกษำ - ผูประกอบกำรที่ขำยบุหรี่ เป็ นผูดำเนินกำรร้ำนค้ำต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอก ้ ้ มหำวิทยำลัยที่อำจเสี ยประโยชน์เนื่องจำกกำรห้ำมขำยบุหรี่ รวมทั้งมีรำยได้ลดลงจำกกำรที่นกศึกษำ ั เลิกสู บบุหรี่ - บริ ษทผูจดจำหน่ำยบุหรี่ เป็ นบริ ษททุนทั้งภำยในประเทศ และภำยนอกประเทศที่จด ั ้ั ั ั จำหน่ำยบุหรี่ ในประเทศไทย มีรำยโดยตรงจำกกำรจัดจำหน่ำยบุหรี่ ในประเทศไทย - ฯลฯ
  • 10. 1.3 ให้จดทำกำรวิเครำะห์ปัญหำ (Problem analysis) ระบุปัญหำทั้งหมด และจัดทำแผนผังปั ญหำ ั 10 (Problem tree) 1.4 ให้ทำกำรวิเครำะห์วตถุประสงค์ (Objective analysis) ั 1.5 ให้ทำกำรวิเครำะห์ทำงเลือกในกำรแก้ปัญหำ (Alternative analysis) 1.6 ให้นำผลกำรวิเครำะห์ท้ งหมดข้ำงต้นมำจัดทำเป็ นแผนโครงกำร (Project planning matrix หรื อ ั Project design matrix) ในแบบ Logical framework matrix การวิเคราะห์ ปัญหา จำกกำรระดมควำมคิดของกลุ่มผูที่ได้รับมอบหมำยให้วำงแผนโครงกำรและจัดทำ ้ แผนปฏิบติกำร ได้สำรวจสภำพปั ญหำสุ ขภำพพบว่ำมีปัญหำสำคัญดังนี้ ั 1. มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัยเป็ นปริ มำณมำก 2. มีกำรขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย 3. มีมลพิษทำงอำกำศ 4. มีขยะจำกกำรสู บบุหรี่ 5. นักศึกษำป่ วยด้วยโรคระบบหำยใจ 6. ขำดควำมรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ 7. ขำดควำมตระหนักในพิษภัยของบุรี 8. ถูกชักจูงโดยรุ่ นพี่/ผูที่สูบบุหรี่ อยูเ่ ดิม ้ 9. ควำมต้องกำรมีบุคลิกเป็ นผูใหญ่ ้ 10. ควำมอยำกรู้อยำกลอง 11. ควำมเข้ำใจพิษว่ำบุหรี่ ทำให้ลดควำมเครี ยด สมองปรำดเปรื่ อง มีควำมคิด สร้ำงสรรค์ 12. ควำมเชื่อว่ำบุหรี่ ทำให้ไม่ง่วง 13. ต้องกำรสร้ำงควำมมันใจ และกำรยอมรับ ่ 14. ต้องกำรให้เป็ นที่ดึงดูดแก่เพศตรงข้ำม 15. รำคำไม่แพง หำซื้ อง่ำย 16. ได้รับแรงกระตุนจำกสื่ อโฆษณำ ้
  • 11. แผนผังปั ญหา มหาวิทยาลัยไม่นา ่ 11 11 Problem tree) อยู่ มีมลพิษทางอากาศ นักศึกษาป่ วยด้ วยโรค เกิดขยะจากการสูบ จากควันบุหรี่ ระบบทางเดินหายใจ บุหรี่ มีการสูบบุหรี่ ใน มหาวิทยาลัย นักศึกษาติดบุหรี่ นักศึกษาลองสูบ บุหรี่ ขาดการช่วยเหลือ ขาดความรู้เรื่ อง มีการขายบุหรี่ ใน มีตวอย่างการสูบ ั การอดบุหรี่ บุหรี่ มหาวิทยาลัย บุหรี่
  • 12. แผนผังวัตถุประสงค์ มหาวิทยาลัยน่าอยู่ 12 12 (Objective tree) อากาศบริ สทธิ์ ุ นักศึกษามีร่างกาย มหาวิทยาลัย แข็งแรง สะอาด ไม่มีการสูบบุหรี่ ใน มหาวิทยาลัย นักศึกษาเลิกบุหรี่ นักศึกษาไม่คดลองิ สาเร็ จ สูบบุหรี่ มีระบบช่วยในกา มีการรณรงค์ให้ มีการห้ ามขายบุหรี่ ไม่มีตวอย่างการสูบ ั รอดบุหรี่ ความรู้เรื่ องบุหรี่ ในมหาวิทยาลัย บุหรี่
  • 13. การวิเคราะห์ ทางการเลือกในการแก้ปัญหา 13 Alternative analysis 1.วัตถุประสงค์โครงกำร (Project purpose) มำจำก A ในที่น้ ี คือ ไม่มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย 2. วัตถุประสงค์แผนงำน (Project goal) มำจำก D ในที่น้ ี คือ มหำวิทยำลัยน่ำอยู่ 3 ผลผลิต (Output) ในที่น้ ีคือ นักศึกษำเลิกสู บบุหรี่ และนักศึกษำไม่คิดลองสู บบุหรี่ 4. กิจกรรม (Activities) ในที่น้ ีคือ กำรพัฒนำระบบช่วยในกำรอดบุหรี่ กำรรณรงค์ให้ควำมรู ้เรื่ อง บุหรี่ กำรห้ำมขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย และกำรขจัดตัวอย่ำงในกำรสู บบุหรี่ 5. กำรกำหนดตัวชี้วด (Indicators) ั ขั้นที่ 1 ผูได้รับผลประโยชน์คือนักศึกษำทุกคนทั้งที่สูบบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่ จะได้อยูใน ้ ่ มหำวิทยำลัยที่ปลอดบุหรี่ ขั้นที่ 2 ผูได้รับผลประโยชน์ท้ งสิ้ น 20,000 คน ้ ั ขั้นที่ 3 ควำมรู ้เกี่ยวกับพิษของบุหรี่ ขั้นที่ 4 สถำนที่ (Where) คือ มหำวิทยำลัยรังสิ ต ขั้นที่ 5 เวลำ f ดำเนินกำรในปี 2555 จำนวน 7,000 คน 2556 จำนวน 7,000 คน 2557 จำนวน 7,000 คน 2558 จำนวน 7,000 คน สรุ ป นักศึกษำมหำวิทยำลัยรังสิ ตทุกคนทั้งสู บบุหรี่ และไม่สูบบุหรี่ จะได้รับควำมรู ้เกี่ยวกับพิษ ของบุหรี่ ในกรอบเวลำดังนี้ 2555 จำนวน 7,000 คน 2556 จำนวน 7,000 คน 2557 จำนวน 7,000 คน 2558 จำนวน 7,000 คน
  • 14. แผนหลักโครงการมหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่ 14 14 รายละเอียดสรุ ป ตัวชี้วด ั มาตรการตรวจสอบ ข้ อสมมติฐาน (Narrative Summary) (OVIs) (MOV) (IA) วัตถุประสงค์ ระดับเหนือโครงการ ผลกระทบ 1. รำยงำนสำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ แผนงำนอื่นดำเนินกำรสำเร็ จ (Project Goal) มหำวิทยำลัยมีควำมน่ำอยู่ 2. รำยงำนสุ ขภำพนักศึกษำจำก เพื่อสร้ำงมหำวิทยำลัยให้น่ำอยู่ KPI สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ 1. ไม่มีควันจำกกำรสู บบุหรี่ กำรติดตำมและประเมินผล: 2. ไม่มีขยะจำกกำรสู บบุหรี่ สำนักงำนกิจกำรนักศึกษำ 3. นักศึกษำมีสุขภำพแข็งแรง 1 5 9 13 วัตถุประสงค์ โครงการ (Project ผลลัพธ์ 1. รำยงำนสุ ขภำพนักศึกษำจำก สสส ให้งบประมำณสนับสนุนอย่ำง Purpose) ไม่มีกำรสู บบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ ต่อเนื่อง เพื่อให้มหำวิทยำลัยรังสิ ตเป็ น KPI กำรติดตำมและประเมินผล มหำวิทยำลัยที่ปลอดกำรสู บบุหรี่ 1. นักศึกษำที่ติดบุหรี่ เลิกสู บบุหรี่ 1. สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ 2. ไม่มีผสูบบุหรี่ รำยใหม่ ู้ 2 6 10 14
  • 15. ผลผลิต (Output) KPI 1. รำยงำนโครงกำร 15 ได้รับควำมร่ วมมือจำกโรงพยำบำล 15 1.นักศึกษำเลิกบุหรี่ กำรพัฒนำระบบช่วยในกำรอดบุหรี่ 2. รำยงำนฝ่ ำยปฏิบติกำร ั ปทุมธำนี 2. นักศึกษำไม่คิดลองสู บบุหรี่ กำรรณรงค์ให้ควำมรู้เรื่ องบุหรี่ กำรติดตำมและประเมินผล ร้ำนค้ำภำยในและภำยนอก กำรห้ำมขำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย 1. เจ้ำหน้ำที่โครงกำร มหำวิทยำลัยให้ควำมร่ วมมือ กำรขจัดตัวอย่ำงในกำรสู บบุหรี่ 2. คณะทำงำน บุคลำกรเลิกสู บบุหรี่ ได้ 100% 3 7 11 15 กิจกรรม เงื่อนไขขั้นต้ นก่อนเริ่มโครงการ 1-1 กำหนดหน่วยงำนให้คำปรึ กษำ 1-1 สำนักงำนสวัสดิกำรสุ ขภำพ 1. รำยงำนควำมก้ำวหน้ำ (Precondition) เพื่อกำรอดบุหรี่ รับผิดชอบกำรให้คำปรึ กษำอดบุหรี่ 2. รำยงำนผลทุก 3 เดือน 1. ต้องได้รับอนุมติงบประมำณจำก ั 1-2 กำรให้ควำมรู้เรื่ องพิษภัยของกำร 1-2 กำรจัดอบรมให้ควำมรู้เรื่ องพิษ กำรติดตำมและประเมินผล สำนักงำนงบประมำณ และสำนักงำน สู บบุหรี่ ภัยของบุหรี่ ในกำรปฐมนิเทศ 1. เจ้ำหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย กองทุนสนับสนุนส่ งเสริ มกำรสร้ำง 1-3 กำรตรวจสุ ขภำพสำหรับผูสูบ ้ นักศึกษำ 2. ข้อมูลกำรเข้ำคลินิกอดบุหรี่ ของ เสริ มสุ ขภำพ บุหรี่ 1-3 นักศึกษำใหม่เข้ำร่ วมกำรตรวจ นักศึกษำ ่ 2. อยูหลังช่วงสอบปลำยภำค และ 1-4 กำรให้คำปรึ กษำเพื่ออดบุหรี่ สุ ขภำพ ก่อนสอบกลำงภำค 2-1 กำรออกประกำศห้ำมขำยบุหรี่ ใน 1-4 นักศึกษำที่มีประวัติกำรสู บบุหรี่ มหำวิทยำลัย เข้ำคลินิกอดบุหรี่ 2-2 กำรประชุมผูคำและ ้้ 2-1 มีประกำศโดยอธิ กำรบดีเรื่ องกำร ผูประกอบกำรสถำนบันเทิงรอบ ้ ห้ำมจำหน่ำยบุหรี่ ในมหำวิทยำลัย
  • 16. มหำวิทยำลัย 2-2 ดำเนิ นกำรประชุมผูค่ำและ ้ 16 16 2-3 ออกประกำศยกเลิกเขตสู บบุหรี่ ผูประกอบกำรสถำนบันเทิงชี้ แจง ้ ในมหำวิทยำลัย 2-3 ประกำศโดยอธิกำรบดีเรื่ องกำร 2-4 กำรให้ควำมรู ้แก่ผคำและู้ ้ ยกเลิกพื้นที่สูบบุหรี่ ผูประกอบกำรเกี่ยวกับกฎหมำย ้ กำรค้ำบุหรี่ แก่เด็กและเยำวชน ปัจจัยนาเข้ า (Input) 1. งบประมำณ 5,000,0000 บำท - เงินอุดหนุนโครงกำร 250,000 บำท - เบี้ยเลี้ยงบุคลำกร 100,000 บำท - ค่ำวิทยำกร 2. บุคลำกร 5 คน - วิทยำกร 100 คน - นักศึกษำช่วยงำนโครงกำร 10 คน - เจ้ำหน้ำที่ประสำนงำน 1 ตุลำคม 2555-31 ธันวำคม 2559 3. ระยะเวลำดำเนินกำร 4. พื้นที่ท่ีดำเนิ นกำร นักศึกษำจำนวน 7000 คน - ภำยในมหำวิทยำลัยรังสิ ต 4 8 12 16
  • 17. ภาคผนวก 17 พิษของบุหรี่ ความเป็ นมาของบุหรี่ ชำวอินเดี ยนแดงซึ่ งเป็ นชนพื้นเมืองในทวีปอเมริ กำ ได้เริ่ มต้นใช้ยำสู บเป็ นพวกแรก โดย ปลูกยำสู บเพื่อใช้เป็ นยำและนำมำสู บในพิธีกรรมต่ำงๆ ใน พ.ศ. ๒๐๓๕ เมื่อคริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus)เดิ นเรื อไปขึ้ นฝั่ งที่ ซันซัลวำดอร์ ในหมู่เกำะเวสต์อินดี ส์น้ ัน ได้เห็ นชำว พื้นเมืองนำเอำใบไม้ชนิ ดหนึ่ งมำมวนและจุดไฟตอนปลำยแล้วดู ดควัน ต่อมำ พ.ศ. ๒๐๙๑ มีกำร ปลูกยำสู บในบรำซิ ลซึ่ งเป็ นอำณำนิ คมของโปรตุเกสในทวีปอเมริ กำใต้ เพื่อเป็ นสิ นค้ำส่ งออก เป็ น ผลให้ยำสู บแพร่ หลำยเข้ำไปในประเทศโปรตุเกสและสเปนตำมลำดับ ต่อมำใน พ.ศ. ๒๑๐๓ นำยฌ อง นิโกต์ (Jean Nicot)เอกอัครรำชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศโปรตุเกส ได้ส่งเมล็ดยำสู บมำยังรำช สำนักฝรั่งเศส ชื่ อของนำยนิ โกต์จึงเป็ นที่มำของชื่ อสำรนิ โคติน (Nicotin)ที่รู้จกกันในปั จจุบน ใน ั ั พ.ศ. ๒๑๐๗ เซอร์ จอห์น ฮอคกินส์ (Sir John Hawkins) ได้นำยำสู บเข้ำไปในประเทศอังกฤษ และ ใน พ.ศ. ๒๑๕๕ นำยจอห์น รอลฟ์ (John Rolfe) ชำวอังกฤษ ประสบผลสำเร็ จในกำรปลูกยำสู บเชิง พำณิ ช ย์ เป็ นครั้ ง แรก และ ๗ ปี ต่ อมำ ก็ ไ ด้ส่ งออกผลผลิ ตไปยัง ประเทศอำณำนิ ค มเป็ นจำนวน มหำศำล อีก ๒๐๐ ปี ต่อมำ กำรทำไร่ ยำสู บเชิงพำณิ ชย์จึงเกิดขึ้นอย่ำงแพร่ หลำยทัวโลก ่ การสู บบุหรี่ในประเทศไทย ในประเทศไทยมีกำรใช้ยำสู บตั้งแต่สมัยอยุธยำแล้ว โดยมี หลักฐำนจำกจดหมำยเหตุของ เมอร์ ซิเออร์ เดอลำลูแบร์ (Monsieur De La Loubre)อัครรำชทูตฝรั่งเศสที่เดินทำงมำเมืองไทยสมัย สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๐ ได้เขียนเล่ำเรื่ องประเทศสยำมว่ำ คนไทยชอบใช้ ยำสู บ อย่ำ งฉุ นทั้ง ผูช ำยและผูหญิ ง โดยได้ย ำสู บมำจำกเมื องมะนิ ล ำ ในหมู่ เกำะฟิ ลิ ป ปิ นส์ จำก ้ ้ ประเทศจีน และที่ปลูกในประเทศเอง ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยูหว พระวรวงศ์่ ั เธอ พระองค์เจ้ำสิ งหนำทรำชดุรงค์ฤทธิ์ ได้ทรงประดิษฐ์บุหรี่ กนป้ ำนขึ้น เพื่อสู บควันและอมยำกับ ้ หมำกพร้ อมกัน ครั้นถึ งรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว มีกำรผลิ ตบุหรี่ ข้ ึ นโดย บริ ษทที่มีชำวอังกฤษ เป็ นเจ้ำของได้เปิ ดดำเนินกำรเป็ นบริ ษทแรกใน พ.ศ. ๒๔๖๐ กำรผลิตบุหรี่ ใน ั ั ระยะแรกจะมวนด้ว ยมื อ ต่ อ มำในรั ช สมัย พระบำทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ำ เจ้ำ อยู่หัว มี ก ำรน ำ เครื่ องจักรเข้ำมำจำกประเทศเยอรมนี และทำกำรผลิตบุหรี่ ออกมำจำหน่ำยหลำยยี่ห้อ กำรสู บบุหรี่ จึง แพร่ หลำยมำกขึ้น จนกระทังใน พ.ศ. ๒๔๘๒ รัฐบำลได้จดตั้งโรงงำนยำสู บขึ้น โดยซื้ อกิ จกำรมำ ่ ั จำกห้ำงหุ ้นส่ วนบูรพำยำสู บ จำกัด (สะพำนเหลือง) ถนนพระรำม ๔ กรุ งเทพฯ และดำเนิ นกิ จกำร
  • 18. อุตสำหกรรมยำสู บภำยใต้กำรควบคุมของกรมสรรพสำมิต กระทรวงกำรคลัง หลังจำกนั้น รัฐบำล 18 ั ั ั ั ได้ซ้ื อกิ จกำรของบริ ษทกวำงฮก บริ ษทฮอฟฟั น และบริ ษทบริ ติชอเมริ กนโทแบกโคเพิ่มขึ้น แล้ว รวมกิจกำรทั้งหมดเข้ำด้วยกัน และดำเนินกำรภำยใต้ชื่อว่ำ โรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง มำจนถึง ปัจจุบน ั ชนิดของยาสู บ ั ่ ยำสู บที่ใช้กนอยูมีหลำยรู ปแบบ ทั้งแบบสู ด แบบดม แบบอมและเคี้ยว ่ - แบบสู ดโดยกระทำให้เกิดกำรเผำไหม้ใบยำสู บซึ่ งอยูในรู ปของบุหรี่ หรื อซิ กำร์ (cigar) ที่ ่ ใช้ใบยำสู บมวนผงใบยำสู บอยูภำยใน หรื อไปป์ (pipe)ที่บรรจุใบยำไว้ในกล้องยำสู บ แล้วจุดไฟให้ เกิดกำรเผำไหม้ แล้วผูสูบสู ดควันเข้ำสู่ ร่ำงกำย ้ - แบบดม โดยบดใบยำสู บให้ละเอียด แล้วผสมในรู ปของยำนัตถุ์ ่ - แบบอมและเคี้ยว โดยนำใบยำสู บแห้งมำหันเป็ นฝอย นำมำเคี้ยวแล้วอมอยูระหว่ำงริ ม ่ ฝี ปำกกับเหงือก บำงครั้งเรี ยกว่ำ บุหรี่ ไร้ควัน ยำสู บส่ วนใหญ่มีกำรใช้สำรเคมีเพื่อปรุ งแต่งกลิ่นรส และเพื่อลดควำมระคำยเคือง บุหรี่ ที่ ผลิตจำกโรงงำนจะใช้สำรเคมี ปรุ งแต่งมำกที่สุด นอกจำกนี้ ยังมีสำรเคมีที่ใช้ในกำรรักษำควำมชื้ น ของใบยำสู บ และสำรป้ องกันเชื้อรำ เพื่อให้เก็บบุหรี่ ได้นำน รวมทั้งสำรเคมีท่ีใช้ในกำรรักษำสภำพ กระดำษที่ใช้มวนบุหรี่ อีกด้วย ชนิดของบุหรี่ บุหรี่ มี ๒ ชนิดคือ บุหรี่ ที่มวนเอง และบุหรี่ ที่ผลิตโดยเครื่ องจักร บุหรี่ ที่มวนเอง ทำโดยใช้ ใบตองแห้ง ใบบัว หรื อกระดำษ ที่ใช้มวนห่ อใบยำสู บ บุหรี่ ชนิ ดนี้ จะดับง่ำยเนื่ องจำกไม่มีกำรปรุ ง แต่งสำรเคมีที่ช่วยให้ไฟติดทน สำหรับบุหรี่ ที่ผลิตโดยเครื่ องจักรมี ๒ ชนิ ด คือ บุหรี่ ที่ไม่มีกนกรอง ้ ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นบุ หรี่ รำคำถู ก และ บุ หรี่ ที่มีก้นกรอง นอกจำกนี้ บริ ษทบุ หรี่ ยงผลิ ตบุ หรี่ ชนิ ดที่ ั ั เรี ยกว่ำ "ไลต์ " และ "ไมลด์ "โดยระบุไว้ว่ำเป็ นบุหรี่ ชนิ ดรสอ่อนที่มีอนตรำยต่อสุ ขภำพน้อยกว่ำ ั บุหรี่ ธรรมดำ แต่จำกกำรวิจยพบว่ำ บุหรี่ ท้ ง ๒ ชนิดมิได้มีอนตรำยน้อยกว่ำบุหรี่ ธรรมดำแต่อย่ำงใด ั ั ั เพียงแต่ต่ำงกันที่รสชำติเท่ำนั้น และบุ หรี่ ชนิ ดที่ มีก้นกรองจะสำมำรถกรองละอองสำรที่ มีขนำด ใหญ่ไ ด้บ ำงชนิ ดเท่ำ นั้น โดยสำรทำร์ และนิ โคติ นซึ่ ง มี ข นำดเล็ กยังคงผ่ำนเข้ำไปได้ใ นปริ ม ำณ ้ เดียวกับกำร สู บบุรี่ที่ไม่มีกนกรอง มะเร็งปอด
  • 19. มะเร็งปอด (lung cancer)เป็ นโรคที่พบมำก และเป็ นสำเหตุกำรตำยในอันดับต้นๆ ทั้งเพศ 19 ชำย และหญิงในประเทศไทย และอุบติกำรณ์ของโรคนี้ กำลังเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ วโดยเฉพำะในเพศ ั หญิง ผูป่วยมะเร็ งปอดร้อยละ 90 เกิดจำกกำรสู บบุหรี่ ซึ่ งสำมำรถป้ องกันได้ ธรรมชำติทำงชี ววิทยำ ้ ของโรคมะเร็ ง ปอด ท ำให้ พ บผู ้ป่ วยเมื่ อ เริ่ ม มี อ ำกำร ในขณะที่ โ รคอยู่ ใ นระยะลุ ก ลำม และ แพร่ กระจำย เป็ นผลให้ผูป่ วยประมำณร้ อยละ90 เสี ย ชี วิตจำกโรคมะเร็ งภำยในเวลำ 1-2 ปี ้ โรคมะเร็ งปอดพบมำกในผูสูงอำยุวย 50-75 ปี ผูป่วยส่ วนใหญ่เป็ นผูที่สูบบุหรี่ ปริ มำณมำก และ ้ ั ้ ้ ประมำณร้อยละ 5เป็ นผูที่ตองสู ดดมควันบุหรี่ จำกผูอื่น ผูที่ สูดดมควันบุหรี่ จำกผูอื่นจะมีควำมเสี่ ยง ้ ้ ้ ้ ้ ต่อกำรเป็ นมะเร็ งปอดเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 26 จำนวนมวนของบุหรี่ ที่สูบต่อวัน และชนิ ดของบุหรี่ ที่สูบ ั จะสัมพันธ์กบอัตรำเสี่ ยงต่อกำรเกิดมะเร็ งปอด ผูที่สูบบุหรี่ ร้อยละ 15 จะเกิดโรคมะเร็ งปอดภำยใน ้ เวลำ 30 ปี ถ้ำเลิกสู บบุหรี่ สำมำรถลดอัตรำกำรเสี่ ยงต่อกำรเกิดมะเร็ งปอดลงเหลือเท่ำผู ้ ไม่สูบบุหรี่ ได้ภำยในเวลำ 15 ปี สารอันตรายในบุหรี่ ควันบุหรี่ จะประกอบไปด้วยสำรเคมีที่มีอนตรำยต่อสุ ขภำพกำยของคนเรำประมำณ 4000 ชนิด ซึ่ ง ั แบ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกได้แก่ ทำร์ หรื อ น้ ำมันดิ น หรื อที่ เห็ นเป็ นครำบบุ หรี่ เป็ นที่ รวมของสำรเคมี ใน กลุ่ ม ของไฮโดรคำร์ บ อน ซึ่ งจะรวมตัว เป็ นเป็ นสำรที่ มี ค วำมเหนี ย วติ ด อยู่ก ับ เนื้ อ ปอด และมี คุ ณสมบัติเป็ นสำรก่ อมะเร็ ง โดยตัวของมันเอง นอกจำกนี้ ย ง เป็ นสำรที่ เร่ ง กำรเจริ ญเติ บ โตของ ั ้ ั ่ เซลล์มะเร็ ง หำกผูสูบบุหรี่ น้ นมีโรคมะเร็ งอยูในร่ ำงกำยแล้ว
  • 20. กลุ่มทีสองได้แก่ นิโคติน ซึ่ งจัดเป็ นสำรที่มีกำรกระตุนสมอง และประสำทส่ วนกลำงได้ใน ่ ้ 20 ระยะแรก แต่ระยะต่อมำจะมีฤทธิ์ กดระบบประสำท นอกจำกนี้ ยงทำให้เส้นเลือดหดตัว มีผลทำให้ ั ควำมดันโลหิ ตสู งขึ้น กระตุนหัวใจให้เต้นเร็ วขึ้นด้วย นิ โคตินมีส่วนทำให้คนที่สูบบุหรี่ อยำกสู บอยู่ ้ เรื่ อยๆ กลุ่มทีสามได้แก่ ก๊ำซคำร์ บอนมอนอกไซค์ ซึ่ งมีควำมเข้มข้นสู งในควันบุหรี่ จะไปขัดขวำง ่ กำรรับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง และยังทำให้ไขมันพอกพูนตำมผนังเส้นเลือดมำกขึ้น ทำให้เส้น เลื อดตี บ สำยตำเสื่ อม ลดประสิ ท ธิ ภำพในกำรตัดสิ นใจ และลดกำรตอบสนองต่ อเสี ย ง ซึ่ ง เป็ น อันตรำยต่อคนขับรถ นักบิน และมีผลทำให้สมรรถภำพของนักกีฬำลดน้อยลง สาเหตุอนๆื่ ผู ้ ป่ วยส่ วนน้อยอีกประมำณร้อยละ 10 ที่ไม่สูบบุหรี่ อำจมีประวัติได้รับสำรก่อมะเร็ งที่เป็ น สำเหตุของโรค เช่ น แอสเบสตอส(ตัวอย่ำงเช่ นผูที่ทำงำนในโรงงำนผลิ ตผ้ำเบรครถยนต์ เป็ นต้น) ้ สำรก่อมะเร็ งอื่นได้แก่ แร่ เรดอน มลภำวะในอำกำศจำกอุตสำหกรรมโลหะหนัก ควันมลภำวะใน สิ่ งแวดล้อม กำรฉำยรังสี เพื่อรักษำ นอกจำกนี้ พบว่ำปั จจัยทำงพันธุ กรรมมีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรเกิด โรคมะเร็ งปอดด้วย อาการ 1. มะเร็ ง ปอดส่ วนใหญ่จะเริ่ มต้นที่เยื่อบุผนังหลอดลม ทำให้อำจมีอำกำรไอ หำยใจลำบำก ไอเป็ นเลือด ปอดอักเสบบ่อยๆ เจ็บลึกที่หน้ำอก และหำยใจลำบำกจำกน้ ำท่วมปอด เป็ นต้น 2. ผูป่วยอำจมีอำกำรเนื่ องจำกมะเร็ งลุ กลำมหรื อแพร่ กระจำย เช่ น เสี ยงแหบ อำกำรทำง ้ สมอง ปวดกระดูก เป็ นต้น
  • 21. 3. ผูป่วยในระยะเริ่ มแรกอำจไม่แสดงอำกำรใดๆ ทำให้ผูป่วยมำพบแพทย์ในระยะโรค ้ ้ 21 ลุกลำม และโอกำสรักษำหำยขำดลดลง 4. มะเร็ ง ปอดเป็ นโรคที่ตรวจค้นหำในระยะเริ่ มแรกได้ยำก กำรนำเอำผูที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงมำ ้ ่ ตรวจเสมหะ และเอ็กซเรย์ปอด เพื่อพยำยำมจะลดอัตรำกำรตำยจำกโรคมะเร็ ง พบว่ำสำมำรถพบ ผูป่วยมะเร็ งในระยะเริ่ มแรกมำกขึ้น แต่ไม่สำมำรถลดอัตรำตำยลงได้ ควำมล้มเหลวเชื่ อว่ำเนื่ องจำก ้ มะเร็ งปอดแม้จะมีขนำดเล็กก็พบกำรแพร่ กระจำยได้ สู ง ทั้งนี้พบว่ำมะเร็ งปอดมักจะเริ่ มมีอำกำรเมื่อ โรคลุกลำมมำกแล้ว การวินิจฉัย 1. การวินิจฉั ยโรคมะเร็ งปอดทำได้โดยกำรถ่ำยภำพรังสี ทรวงอก กำรตรวจเสมหะที่ไอ ออกมำเพื่อหำเซลล์มะเร็ ง วิธีส่องกล้องตรวจภำยในหลอดลม กำรใช้เข็มแทงผ่ำนผนังทรวงอก หรื อ ขลิบชิ้นเนื้อจำกหลอดลมเพื่อนำไปตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์เพื่อให้กำรวินิจฉัยทำงพยำธิวทยำ ิ 2. การถ่ ายภาพรั งสี ทรวงอกเป็ น วิธีตรวจพื้นฐำนช่ วยในกำรตรวจหำมะเร็ งปอดได้เป็ น อย่ำงดี กำรตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ช่วยในกำรถ่ำยภำพแบบสำมมิติ ช่ วยให้ตรวจพบก้อนเนื้ อ งอกที่ อ ำจไม่ ป รำกฏบนภำพเอ็ ก ซเรย์ ธ รรมดำ กำรตรวจเอ็ ก ซเรย์ ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ ำใช้
  • 22. สนำมแม่เหล็กที่มีกำลังสู ง และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้ำงภำพที่ทำให้เห็นรำยละเอียดที่ 22 ชัดมำก ยิงขึ้น ภำพถ่ำยรังสี จำกหลำยๆ วิธีสำมำรถให้ขอมูลเกี่ยวกับปอด และก้อนเนื้ องอก อีกทั้งยัง ่ ้ สำมำรถแสดงตำแหน่ง และขนำดของก้อนเนื้องอกได้อย่ำงแม่นยำ 3. PET scan(Positron Emission Tomography) เป็ นเครื่ องมือใหม่ทำงรังสี วิทยำ แตกต่ำง จำกเอ็กซ์เรย์ธรรมดำ เอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ เอ็กซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ำ และอัลตร้ำซำวด์ หลักกำร ของวิธี เป็ นกำรตรวจหำเซลล์ที่มีเมตะบอลิ ซึมผิดปกติ โดยเป็ นกำรตรวจหำกำรทำงำนของเซลล์ และผ่ำนกลวิธีทำให้ปรำกฏออกมำเป็ นรู ปภำพให้เห็น ในกำรตรวจมะเร็ งปอดจะใช้น้ ำตำลที่จบกับ ั สำรกัมมันตภำพฉี ดเข้ำไปในเส้นเลือด เซลล์ที่มีเมตะบอลิซึมสู งจะใช้น้ ำตำลมำก เช่น เซลล์มะเร็ ง ส่ วนเซลล์ที่ตำยหรื อมีเมตะบอลิซึมต่ำจะใช้น้ ำตำลน้อย เมื่อใช้เครื่ องตรวจวัดปริ มำณกัมมันตภำพ ก็ ั จะพบว่ำก้อนมะเร็ งมีกมมันตภำพสู งกว่ำเนื้อเยือปกติธรรมดำ ่ 4. วิธีส่องกล้ องตรวจภายในหลอดลม (bronchoscopy)กระทำโดยใช้กล้องส่ องสอดทำง จมูกเข้ำไปจนถึงหลอดลม เมื่อเห็นภำพโดยตรงของหลอดลม และท่อลม รวมถึงก้อนเนื้ องอก จึงดูด หรื อตัดชิ้นเนื้อบริ เวณนั้นมำเพื่อตรวจทำงห้องปฏิบติกำรต่อไป ข้อดีของกำรส่ องกล้องตรวจภำยใน ั หลอดลมคือช่วยให้ได้เห็นภำพของหลอดลมในปอดได้ โดยตรง 5. การตัดชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา(biopsy) เป็ นวิธีตรวจโดยตัดชิ้นเนื้ อจำกก้อนเนื้ อ งอก หรื อส่ วนอื่นๆ ของร่ ำงกำย ชิ้ นตัวอย่ำงจะถูกตรวจภำยใต้กล้องจุลทรรศน์เพื่อศึกษำลักษณะ ผิดปกติ ของเซลล์ มะเร็ ง อำจเลื อกใช้เข็มดู ด โดยใช้เข็มที่ บำงมำกในกำรดู ดเอำชิ้ นเนื้ อบำงส่ วน ออกมำจำกก้อนเนื้ อที่สงสัย วิธีน้ ี ทำภำยใต้กำรใช้ยำชำเฉพำะที่เพื่อระงับอำกำรปวด กำรตรวจด้วย เครื่ องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ช่วยในกำรหำตำแหน่งที่แม่นยำ และเหมำะสมสำหรับกำรแทงเข็ม 6. การตรวจเสมหะที่ ไอออกมำเพื่อหำเซลล์มะเร็ งเคยเป็ นวิธีตรวจมะเร็ งปอดระยะแรก ่ ประจำปี พบว่ำผลที่ได้น้อย จึงเสื่ อมควำมนิ ยมไป ใน 10-20ปี ที่ผำนมำกำรพยำยำมตรวจหำมะเร็ ง ปอดในระยะแรกได้เริ่ ม ขึ้ น ใหม่ โดยใช้เ อ็ก ซ์ เรย์ค อมพิ วเตอร์ ซ่ ึ งจะให้ ผ ลตรวจก้อ นมะเร็ ง ใน ระยะแรกได้ไวกว่ำ เอกซ์เรย์ธรรมดำถึง 3 เท่ำ และพบในระยะแรกที่ตดออกได้มำกกว่ำถึง 5 เท่ำ ั
  • 23. 23 การแบ่ งระยะของมะเร็งปอดด ปั จจุบน กำรแบ่งระยะของมะเร็ งปอด นิยมใช้ระบบจัดจำแนกชนิด TNM system โดยที่ Tหมำยถึง ั ขนำดของก้อนมะเร็ ง Nหมำยถึงมะเร็ งกระจำยไปต่อมน้ ำเหลืองแล้วหรื อไม่ และไปที่ต่อมไหน ส่ วน Mหมำยถึงมะเร็ งกระจำยไปยังอวัยวะอื่นๆ แล้วหรื อไม่ Occult stage : พบเซลล์มะเร็ งในเสมหะ หรื อน้ ำลำย แต่ไม่พบก้อนมะเร็ งในปอด Stage 0 : พบมะเร็ งในหลอดลมแต่ไม่กินลึกลงไปในปอด อยูเ่ ฉพำะที่ และไม่กระจำยไปที่ ใด
  • 24. Stage I : มะเร็ งจำกัดอยูในปอด ยังไม่กระจำยแพร่ ออกไป ก้อนมะเร็ งจะโตเท่ำไรก็ได้ 24 Stage II : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปในต่อมน้ ำเหลืองในปอดข้ำงเดียวกันแล้ว Stage IIIA : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปยังต่อมน้ ำเหลืองรอบๆ หลอดลม อำจลำมไปถึงทรวง อก และกระบังลมข้ำงเดียวกัน Stage IIIB : มะเร็ งกระจำยไปยังต่อมน้ ำเหลืองที่ปอดด้ำนตรงข้ำม และต่อมน้ ำเหลืองที่คอ Stage IV : มะเร็ งแพร่ กระจำยไปยังอวัยวะอื่นๆ ในร่ ำงกำยแล้ว