SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
การพัฒ นาโปรแกรม

             จัด ทำา โดย
   นางสาว วิช ญา บูร พางกุร
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4/9 เลขที่ 26
ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม
ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรมประกอบด้ว ย
1.การวิเ คราะห์ป ัญ หา
2.การออกแบบโปรแกรม
3.การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษาคอมพิว เตอร์
4.การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
5.การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม
6.การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม
การออกแบบโปรแกรม

การออกแบบขั้น ตอนการทำา งานของโปรแกรมเป็น
ขั้น ตอนที่ใ ช้ เป็น แนวทางในการลงรหัส โปรแกรม
ผู้อ อกแบบขั้น ตอนการทำา งานของโปรแกรมอาจใช้
เครื่อ งมือ ต่า งๆ ช่ว ยในการออกแบบ อาทิเ ช่น คำา สั่ง
ลำา ลอง (Pseudo code) หรือ ผัง งาน (Flow chart) การ
ออกแบบโปรแกรมนั้น ไม่ต ้อ งพะวงกับ รูป แบบคำา สั่ง
ภาษาคอมพิว เตอร์ แต่ใ ห้ม ุ่ง ความสนใจไปที่ล ำา ดับ
ขั้น ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่า นั้น
การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษา
              คอมพิว เตอร์
การเขีย นโปรแกรมเป็น การนำา เอาผลลัพ ธ์ข องการ
   ออกแบบโปรแกรม มาเปลีย นเป็น ่
โปรแกรมภาษาคอมพิว เตอร์ภ าษาใดภาษาหนึ่ง ผู้
   เขีย นโปรแกรมจะต้อ งให้ค วามสนใจต่อ
รูป แบบคำา สั่ง และกฎเกณฑ์ข องภาษาที่ใ ช้ เพื่อ ให้ก าร
   ประมวลผลเป็น ไปตามผลลัพ ธ์ท ี่ไ ด้
ออกแบบไว้ นอกจากนั้น ผู้เ ขีย นโปรแกรมควรแทรก
   คำา อธิบ ายการทำา งานต่า งๆ ลงใน
โปรแกรมเพือ ให้โ ปรแกรมนั้น มีค วามกระจ่า งชัด และ
                ่
   ง่า ยต่อ การตรวจสอบและ โปรแกรมนี้
ยัง ใช้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของเอกสารประกอบ
การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
  การทดสอบโปรแกรมเป็น การนำา โปรแกรมที่ล งรหัส แล้ว เข้า
  คอมพิว เตอร์ เพือ ตรวจสอบรูป แบบกฎเกณฑ์ข องภาษา
                     ่
และผลการทำา งานของโปรแกรมนั้น ถ้า พบว่า ยัง ไม่ถ ูก ก็แ ก้ไ ขให้ถ ก        ู
  ต้อ งต่อ ไป ขั้น ตอนการทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
อาจแบ่ง ได้เ ป็น 3 ขั้น
  1.สร้า งแฟ้ม เก็บ โปรแกรมซึ่ง ส่ว นใหญ่น ิย มนำา โปรแกรมเข้า ผ่า น
  ทางแป้น พิม พ์โ ดยใช้โ ปรแกรมประมวลคำา
  2.ใช้ต ว แปลภาษาคอมพิว เตอร์แ ปลโปรแกรมที่ส ร้า งขึน เป็น ภาษา
            ั                                                  ้
  เครื่อ ง โดยระหว่า งการแปลจะมีก ารตรวจสอบความถูก ต้อ งของรูป
  แบบและกฎเกณฑ์ใ นการใช้ภ าษา ถ้า คำา สั่ง ใดมีร ูป แบบไม่ถ ก ต้อ งก็  ู
  จะแสดงข้อ ผิด พลาดออกมาเพื่อ ให้ผ ู้เ ขีย นนำา ไป แก้ไ ขต่อ ไป ถ้า
  ไม่ม ีข อ ผิด พลาด เราจะได้โ ปรแกรมภาษาเครื่อ งที่ส ามารถให้
          ้
  คอมพิว เตอร์ป ระมวลผลได้
  3.ตรวจสอบความถูก ต้อ งของการประมวลผลของโปรแกรม
  โปรแกรมที่ถ ูก ต้อ งตามรูป แบบและกฎเกณฑ์ข องภาษา แต่อ าจให้
  ผลลัพ ธ์ข องการประมวลผลไม่ถ ก ต้อ งก็ไ ด้ ดัง นั้น ผู้เ ขีย นโปรแกรม
                                       ู
  จำา เป็น ต้อ งตรวจสอบว่า โปรแกรมประมวลผลถูก ต้อ งตามต้อ ง การ
  หรือ ไม่ วิธ ีก ารหนึ่ง ก็ค ือ สมมติข ้อ มูล ตัว แทนจากข้อ มูล จริง นำา ไปให้
  โปรแกรมประมวลผลแล้ว ตรวจสอบผลลัพ ธ์ ว่า ถูก ต้อ งหรือ ไม่ ถ้า
  พบว่า ไม่ถ ก ต้อ งก็ต ้อ งดำา เนิน การแก้ไ ขโปรแกรมต่อ ไป การสมมติ
               ู
  ข้อ มูล ตัว แทนเพื่อ การทดสอบเป็น สิ่ง ที่ม ีค วามสำา คัญ เป็น อย่า งมาก
การทำาเอกสารประกอบโปรแกรม
   การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการพัฒนา
   โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรม
ช่วยให้ผใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม
          ู้
   ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จาก
โปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อ
   ใช้สำาหรับการอ้างอิงเมือจะใช้งาน
                          ่
โปรแกรมและเมือต้องการแก้ไขปรับปรุง โปรแกรม เอกสารประกอบ
                 ่
   โปรแกรมทีจัดทำา ควรประกอบด้วย
               ่
หัวข้อต่อไปนี้
   1.วัตถุประสงค์
   2.ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทใช้ในโปรแกรม
                                                ี่
   3.วิธีการใช้โปรแกรม
   4.แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม
   5.รายละเอียดโปรแกรม
   6.ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ
การบำารุงรักษาโปรแกรม
  เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และ
  ถูกนำามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน
ในช่วงแรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมา
  บ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอย
ควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทำางาน การบำารุงรักษา
  โปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียน
โปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน
  ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม
และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งาน
  โปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้
อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงานเดิมเพือให้ ่
  เหมาะกับ เหตุการณ์ นักเขียน
โปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการ
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั้น หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปญหาจนได้ขั้น
                                                        ั
    ตอนวิธีในการแก้ปญหา ซึ่งอาจจะอยู่
                         ั
ในรูปแบบรหัสลำาลอง หรือผังงาน ขั้นตอนต่อไปคือการเขียนโปรแกรม
    คอมพิวเตอร์ขึ้นเพือแก้ปญหาตาม
                       ่     ั
ขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ แต่เนืองจากคอมพิวเตอร์จะรับรู้คำาสั่งที่เป็นภาษา
                                 ่
    เครื่องเท่านั้นและมนุษย์ไม่สามารถ
เขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้โดยตรง เนื่องจากไม่สะดวก ยากต่อการ
    ทำาความเข้า จึงได้มการสร้างภาษา
                           ี
คอมพิวเตอร์ระดับสูงขึ้นมาเพือให้งายต่อการเขียนโปรแกรม ผูเขียน
                               ่   ่                         ้
    โปรแกรมไม่จำาเป็นต้องเรียนรู้การทำางาน
และโครงสร้างภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็สามารถเขียนโปรแกรม
    ได้โดยต้องผ่านการแปลให้เป็น
ภาษาเครื่องก่อนทีจะใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้
                    ่
ภาษาเชิง กระบวนความ
โปรแกรมคอมพิว เตอร์ท ี่เ ขีย นด้ว ยภาษาเชิง กระบวนความมีล ัก ษณะ
    การทำา งานตามลำา ดับ ของคำา สั่ง จากคำา สั่ง แรกจนถึง
คำา สั่ง สุด ท้า ย และบางคำา สั่ง อาจจะถูก ทำา ซำ้า หรือ บางคำา สั่ง อาจจะไม่
    ถูก กระทำา เลยขึน อยูก ับ เงื่อ นไขในโปรแกรม ภาษาใน
                      ้   ่
กลุ่ม นี้เ หมาะสำา หรับ การเริ่ม ต้น ทำา ความเข้า ใจกับ การเขีย นโปรแกรม
    คอมพิว เตอร์ เนื่อ งจากช่ว ยให้ผ ู้เ รีย นรู้จ ัก การคิด อย่า ง
เป็น ระบบ อัน เป็น พื้น ฐานสำา คัญ ในการเขีย นโปรแกรมภาษาอื่น
    นอกจากนี้ใ นภาษาโปรแกรมประเภทอื่น ก็จ ะยัง มีร ูป แบบ
การทำา งานเชิง กระบวนความแฝงอยู่ภ ายในด้ว ยเสมอ การใช้ง าน
    ภาษาในกลุ่ม นี้ เช่น งานคำา นวณทางวิท ยาศาสตร์อ าจ
เลือ กใช้ภ าษาฟอร์แ ทรน (FORTRAN) งานประมวลผลข้อ มุล ทางธุร กิจ
    การเงิน หรือ ธนาคารอาจเลือ กใช้ภ าษาโคบอล
(COBOL)หรือ ภาษาอาร์พ ีจ ี (RPG) การเขีย นโปรแกรมควบคุม การทำา งาน
    ของระบบคอมพิว เตอร์ม ัก เลือ ก
ใช้ภ าษาซีเ นื่อ งจากภาษาเครื่อ งที่ไ ด้จ ะทำา งานได้ร วดเร็ว หรือ การ
    เรีย นการสอนการโปรแกรมเชิง กระบวนความอาเลือ กใช้
ภาษาปาสคาล (Pascal) หรือ ภาษาซี เป็น ต้น
ภาษาเชิง วัต ถุ
ภาษาเชิง วัต ถุจ ะอำา นวยความสะดวกให้ก ับ ผู้เ ขีย นโปรแกรมในการ
     พัฒ นาโปรแกรมที่ใ หญ่แ ละซับ ซ้อ นได้เ ป็น อย่า งดี อีก
ทั้ง ยัง สามารถใช้เ ขีย นโปรแกรมในลัก ษณะเดีย วกับ ภาษาเชิง กระบวน
     ความได้เ ช่น กัน ภาษาในกลุ่ม นี้ เช่น ภาษาจาวา
(Java) ภาษาซีช าร์ป (C#) และภาษาซีพ ลัส พลัส (C++)
รูป ที่ 7.5 แสดงตัว อย่า งโปรแกรมภาษาซีพ ลัส พลัส ที่ใ ห้ผ ู้เ ล่น ทาย
     ตัว เลขที่โ ปรแกรมสุ่ม ขึน มาหนึ่ง ตัว  
                              ้
ภาษาอื่น ๆ
     1.โฟร์ท จีแ อล (fourth-generation languages: 4GLs) เป็น กลุ่ม ของ
     ภาษาที่
แตกต่า งจากภาษาเชิง กระบวนความ ที่เ น้น ให้ผ ู้ใ ช้ส ามารถเข้า ถึง
     ข้อ มูล ในฐานข้อ มูล ได้โ ดยง่า ย ภาษาจะมีค วามคล้า ยคลึง
กับ ภาษาอัง กฤษที่ใ ช้ก น อยู่ ตัว อย่า งของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิว
                           ั
     แอล (SQL)
     2.เอชทีเ อ็ม แอล (Hypertext Markup Language: HTML ) เป็น ภาษาที่ใ ช้
     จัด รูป แบบการแสดงผล
ของข้อ ความและรูป ภาพ รวมถึง สื่อ ประสมบนหน้า เว็บ ดัง นั้น เอชทีเ อ็ม
     แอลจึง ไม่ไ ด้ถ ูก จัด เป็น ภาษาที่ใ ช้ใ นการเขีย น
โปรแกรมอย่า งแท้จ ริง แต่เ ป็น การกำา หนดวิธ ก ารในการแสดงผล เอช
                                                  ี
     ทีเ อ็ม แอลจะใช้แ ท็ก (tags) เป็น ตัว กำา หนดว่า ส่ว น
ใดในเอกสารจะให้แ สดงผลอย่า งไร
รูป ที่ 7.7 (ก) แสดงตัว อย่า งของภาษาเอชทีเ อ็ม แอลที่ใ ช้ใ นการสร้า งเว็บ เพจในรูป ที่ 7.7
        (ข)
การโปรแกรมด้ว ยภาษาซี
ในบทนี้จ ะได้แ นะนำา ให้ร ู้จ ัก กับ ภาษาซี ซึ่ง เป็น ภาษาที่เ ขีย นเป็น แบบ
    โครงสร้า ง และเป็น ภาษาที่ใ ช้เ ป็น พื้น ฐานในการ
เรีย นรู้ก ารเขีย นโปรแกรมเชิง กระบวนความได้เ ป็น อย่า งดี

โครงสร้า งของภาษาซี
โครงสร้า งพื้น ฐานของโปรแกรมภาษาซีจ ะต้อ งประกอบด้ว ยฟัง ก์ช ัน
    อย่า งน้อ ย 1 ฟัง ก์ช ัน คือ
ฟัง ก์ช ัน main( ) ซึ่ง มีร ูป แบบดัง รูป ที่ 7.8
01 int main ( ) { <ส่ว ยหัว ของฟัง ก์ช ัน
02 การประกาศตัว แปรตัว แปรท้อ งถิ่น ;
03 คำา สั่ง ต่า งๆ ;
04 }
องค์ป ระกอบของภาษาซี
ในทีน ี้จ ะได้อ ธิบ ายองค์ป ระกอบพืน ฐานของภาษาซีจ ากตัว อย่า ง
    ่                              ้
  ของโปรแกรมในรูป ที่ 7.10 ซึ่ง เป็น
โปรแกรมที่พ ฒ นามาจากผัง งานในตัว อย่า งที่ 6.9 โดยเพิม การ
                ั                                     ่
  นับ จำา นวนครั้ง ของการทายทัง หมด
                                 ้
- การประกาศรวมแฟ้ม ส่ว นหรือ ( header files )
1 #include <stdio.h>
1 #include <stdiob.h>
     การประกาศรวมแฟ้ม ส่ว นหัว ดัง แสดงในบรรทัด ที่ 1 และ 2 เป็น การรวมเอาฟัง ก์ช ัน
     มาตรฐานของภาษาซีเ ข้า มาร่ว มใช้ง านกับ โปรแกรมทีเ ขีย นขึน ทำา ให้
                                                                      ่    ้
นัก เขีย นโปรแกรมสามารถเรีย กใช้ฟ ง ก์ช ัน มาตรฐานทีภ าษาซีเ ตรีย มไว้ใ ห้ไ ด้ เช่น
                                            ั                    ่
     ฟัง ก์ช ัน printf( ) และ scanf( ) เป็น ต้น
- การประกาศตัว แปร ( variable declaration )
6  int target ;
7  int number ;
8. int no_of_guesses = 1 ;
     ในบรรทัด ที่ 6 ถึง 8 เป็น การประกาศตัว แปร ซึ่ง เป็น ข้อ กำา หนดของภาษาซีท ต ้อ งมี     ี่
     การประกาศตัว แปรไว้ท ต อนต้น ของฟัง ก์ช ัน ก่อ นที่จ ะสามารถใช้ง านตัว
                                  ี่
แปรเหล่า นั้น ได้ ในที่น ี้ม ีก ารประกาศตัว แปร target, number และ no_of_guesses เป็น
     ชนิด จำา นวนเต็ม ( int ) สัง เกตว่า รูป แบบของการประกาศ
ตัว แปร คือ data_type identification_name ซึ่ง data_type เป็น ชนิด ของข้อ มูล และ
     identification_name เป็น ชื่อ ตัว แปรทีก ำา หนด ่
ขึน ให้ม ีช นิด ตามทีร ะบุน อกจากนี้ย ัง สามารถกำา หนดค่า เริ่ม ต้น ให้ก ับ ตัว แปรที่เ พิ่ง จะ
  ้                   ่
     ประกาศขึ้น ได้เ ลย ดัง เช่น ทีก ำา หนดค่า 1ให้ก ับ ตัว แปร no_of_guesses
                                     ่
ในบรรทัด ที่ 8
-การรับ ข้อ มูล เข้า
10  scanf ("%", &target) ;
12  scanf ("%", &number) ;
13  scanf ("%", &number) ;
     ในบรรทัด ที่ 10.12 และ 20 เป็น การเรีย กฟัง ก์ช น scanf ( ) ในการรับ ข้อ มูล เข้า โดย
                                                            ั
     ต้อ งมีก ารระบุพ ารามิเ ตอร์ คือ ตัว แรกเป็น สายอัก ขระของการกำา หนด
รูป แบบของข้อ มูล เข้า ทีต อ งการรับ ในที่น ี้ค ือ "%d" หมายถึง ว่า ต้อ งการรับ ข้อ มูล เข้า ที่อ ยู่
                           ่ ้
     ในรูป แบบจำา นวนเต็ม และตัว ที่ส องเป็น ตำา แหน่ง ในหน่ว ยความจำา ของตัว
แปรที่ต อ งการใช้เ ก็บ ค่า ทีร ับ เข้า สัง เกตุว ่า ภาษาซีใ ช้เ ครื่อ งหมาย & นำา หน้า ชื่อ ตัว แปร
          ้                     ่
     เป็น การอ้า งถึง ตำา แหน่ง ในหน่ว ยความจำา ของตัว แปรนั้น
-การพิม พ์ผ ลลัพ ธ์
11 printf ("Enter the number you guess ") ;
16 printf ("Too highn") ;
17 printf ("Too lown") ;
19 printf ("Enter the number you guess ") ;
        ในบรรทัด ที่ 11. 16. 18 และ 19 เป็น การเรีย กใช้ฟ ัง ก์ช ัน
    printf ( ) เพื่อ พิม พ์ข อ ความออกทางจอภาพซึ่ง เราสามารถกำา หนด
                             ้
    ข้อ ความ
อยู่ภ ายในเครื่อ งหมายอัญ ประกาศให้เ ป็น พารามิเ ตอร์ข องฟัง ก์ช น printf (
                                                                       ั
    ) ได้เ ลย
23 printf ("Correct - You try %d time . n" , no_of_guesses ) ;
                     สำา หรับ ในบรรทัด ที่ 23 จะมีก ารพิม พ์ค า ของตัว แปรชนิด
                                                              ่
    จำา นวนเต็ม no_of_guesses ด้ว ย โดยจะต้อ งระบุร ป แบบข้อ มูล
                                                            ู
ของตัว แปลที่ต ้อ งการให้พ ิม พ์ภ ายในข้อ ความที่เ ป็น พารามิเ ตอร์ต ัว แรก
    ด้ว ย ในที่น ต ัว แปร no_of_guesses เป็น ชนิด int ซึ่ง จะใช้
                 ี้
รูป แบบกำา หนดการพิม พ์ค อ "%d" ในลัก ษณะเดีย วกัน กับ ฟัง ก์ช ัน scanf ( )
                               ื
    นัน เอง
      ่
- คำา สัง ควบคุม การทำา งานแบบวนซำ้า
        ่
 คำา สั่ง while เป็น คำา สั่ง เพื่อ ควบคุม ว่า ชุด คำา สั่ง ภายใต้ค ำา สั่ง while ( คือ ตั้ง แต่
     บรรทัด ที่ 14 ถึง 22)จะถูก วนทำา ซำ้า อีก
หรือ ไม่ โดยเมื่อ โปรแกรมทำา งานมาถึง บรรทัด ที่ 13 จะตรวจสอบก่อ นว่า เงื่อ นไข
     เป็น จริง หรือ ไม่ ในที่น ี้ค ือ ตรวจสอบว่า
ค่า ของตัว แปร number ไม่เ ท่า กัน กับ ค่า ของตัว แปร target หรือ ไม่ถ ้า เป็น จริง ก็จ ะไป
     ทำา งานตามคำา สั่ง ภายใน
บรรทัด ดัง กล่า วหนึ่ง รอบ ก่อ นที่จ ะย้อ นกลับ ไปตรวจสอบเงื่อ นไขอีก ครั้ง ถ้า
     เงื่อ นไขเป็น เท็จ ก็จ ะไปทำา งานในบรรทัด ที่
23 ต่อ ไป
- คำา สั่ง กำา หนดค่า แปรให้ก ับ ตัว แปร
21 no_of_guesses = no_of_guesses + 1 ;
     ในบรรทัด ที่ 21 เป็น การกำา หนดค่า ใหม่ใ ห้ก ับ ตัว แปร no_of_guesses โดยใช้
     เครื่อ งหมายกำา หนดค่า ( = ) ซึ่ง
เป็น การกำา หนดให้ต ัว แปรที่อ ยู่ท างซ้า ยของเครื่อ งหมายกำา หนดค่า มีค ่า เท่า กับ ค่า
     ของนิพ จน์ท างขวาของเครื่อ งหมาย
กำา หนดค่า ซึ่ง ในที่น ี้เ ป็น การเพิ่ม ค่า ของตัว แปร no_of_guesses ขึ้น อีก 1 นั่น เอง
     ภาษาซีใ ช้น ิพ จน์ท างคณิต ศาสตร์เ พื่อ คำา นวนและเปรีย บเทีย บ นิพ จน์ป ระกอบ
     ด้ว ยตัว ถูก ดำา เนิน การ ( operand ) และ
ตัว ดำา เนิน การ ( operator ) ที่ส ามารถถุก ลดรูป หรือ ถูก ประเมิน ให้เ ป็น ค่า ทาง
     คณิต ศาสตร์เ พีย งค่า เดีย วได้ เช่น 2 * 5 เป็น
นิพ จน์ เนื่อ งจากสามารถหาค่า ได้เ ป็น 10 ตัว ดำา เนิน การในภาษาซีม ีห ลายประเภท
- คำา สั่ง ควบคุม การทำา งานแบบมีท างเลือ ก
15 if (number > target)
คำา สัง if-else ในบรรทัด ที่ 15 ถึง 18 เป็น การเลือ กว่า จะทำา งานตามคำา สั่ง
        ่
       ภายใต้ if หรือ ภายใต้ elseแล้ว แต่เ งื่อ นไขที่
อยูห ลัง if ในบรรทัด ที่ 15 โดยถ้า เงื่อ นไขเป็น จริง จะทำา งานภายใต้ if
     ่
       นั่น คือ คำา สั่ง ในบรรทัด ที่ 16 เท่า นั้น แล้ว จะข้า มไป
ทำา งานในบรรทัด ที่ 19 เลย แต่ถ ้า เงื่อ นไขในบรรทัด ที่ 15 เป็น เท็จ ก็จ ะ
       ข้า มคำา สัง ภายใต้ if ไปทำา งานที่ค ำา สั่ง ภายใต้ else
                   ่
ในบรรทัด ที่ 18 เท่า นั้น ก่อ นที่จ ะทำา งานในบรรทัด ที่ 19 ต่อ ไป
-คำา สั่ง return
25 return 0;
       ในบรรทัด ที่ 25 คำา สั่ง return เป็น การจบการทำา งานของฟัง ก์ช ัน
       แล้ว ส่ง ค่า ที่ร ะบุ ( คือ ค่า 0 ) กลับ ไปให้ก ับ
ฟัง ก์ช ัน ที่เ รีย กมา  สำา หรับ โปรแกรมภาษาซีท ี่ถ ก เรีย กให้ท ำา งานจาก
                                                            ู
       ระบบปฏิบ ัต ิก ารนั้น เนื่อ งจากระบบปฏิบ ัต ก ารเป็น
                                                          ิ
ผู้เ รีย กให้ฟ ัง ก์ช ัน main ( ) ในโปรแกรมทำา งาน ดัง นั้น เมื่อ โปรแกรม
       ทำา งานเสร็จ สิ้น ลง ฟัง ก์ช ัน main ( ) จึง ส่ง ค่า 0
ไปให้ก บ ระบบปฏิบ ัต ก าร
             ั                 ิ
การพัฒ นาโครงงานคอมพิว เตอร์
      โครงงานคอมพิว เตอร์เ ป็น การนำา เอาความรู้ใ นด้า นการเขีย นโปรแกรม มา
      ใช้ร ่ว มกับ อุป กรณ์ค อมพิว เตอร์ร วมถึง
อุป กรณ์อ ื่น ที่เ กี่ย วข้อ ง เพื่อ ผลิต ผลงานสำา หรับ แก้ป ัญ หา หรือ นำา ผลงานมา
      ประยุก ต์ใ นงานจริง นัก เรีย นจะต้อ งใช้ค วามรู้
และประสบการณ์ เพื่อ วางแผนการพัฒ นา โครงงาน โดยอาจขอคำา ปรึก ษา
      จากอาจารย์ผ ู้ส อน หรือ ผู้ท รงคุณ วุฒ ิอ ื่น
เป้า หมายสูง สุด ของการจัด ทำา โครงงานคือ การที่โ ครงงานได้ถ ูก นำา ไปใช้ง าน
      จริง และก่อ ให้เ กิด ประโยชน์ใ นชีว ิต จริง ของ
ผู้น ำา ไปใช้
      ในการเลือ กหัว ข้อ โครงงานนั้น ผู้พ ัฒ นาอาจเริ่ม จากการใช้ค วามคิด
      สร้า งสรรค์ ร่ว มกับ ประสบการณ์ใ นการคิด ค้น ถึง สิ่ง ที่เ ป็ป ัญ หา
และความเป็น ไปได้ใ นการนำา เอาระบบคอมพิว เตอร์ม าช่ว ยงาน โดยทั่ว ไปแล้ว
      โครงงานคอมพิว เตอร์ส ามารถแบ่ง ออกได้เ ป็น 5
ประเภท คือ
      1.โครงงานพัฒ นาสื่อ เพื่อ การศึก ษา
      เป็น การสร้า งบทเรีย นที่อ าจมีแ บบฝึก หัด หรือ คำา ถามเพื่อ ทดสอบด้ว ย
      2.โครงงานพัฒ นาเครื่อ งมือ
      เป็น การพัฒ นาโปรแกรมช่ว ยงานในด้า นต่า งๆ
      3. โครงงานจำา ลองทฤษฎี
      เป็น การพัฒ นาโปรแกรมเพื่อ จำา ลองการทดลองในด้า นต่า งๆที่ไ ม่ส ามารถ
      ทดลองด้ว ยสถานการณ์จ ริง ได้
      4.โครงงานประยุก ต์
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Wityaporn Pleeboot
 

La actualidad más candente (18)

งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

Destacado

การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26winewic199
 

Destacado (7)

การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่ 26
 
Chude02-nhom7
Chude02-nhom7Chude02-nhom7
Chude02-nhom7
 
Tailieu.vncty.com ch9 nhom7-tt_3893
Tailieu.vncty.com   ch9 nhom7-tt_3893Tailieu.vncty.com   ch9 nhom7-tt_3893
Tailieu.vncty.com ch9 nhom7-tt_3893
 
Tailieu.vncty.com ch9 nhom8-tt_9248
Tailieu.vncty.com   ch9 nhom8-tt_9248Tailieu.vncty.com   ch9 nhom8-tt_9248
Tailieu.vncty.com ch9 nhom8-tt_9248
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26
 
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26
การพัฒนาโปรแกรม เลขที่26
 
Tailieu.vncty.com 5333 2024
Tailieu.vncty.com   5333 2024Tailieu.vncty.com   5333 2024
Tailieu.vncty.com 5333 2024
 

Similar a การพัฒนาโปรแกรม วิชญา

โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 

Similar a การพัฒนาโปรแกรม วิชญา (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
K8
K8K8
K8
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา

  • 1. การพัฒ นาโปรแกรม จัด ทำา โดย นางสาว วิช ญา บูร พางกุร ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4/9 เลขที่ 26
  • 2. ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรมประกอบด้ว ย 1.การวิเ คราะห์ป ัญ หา 2.การออกแบบโปรแกรม 3.การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษาคอมพิว เตอร์ 4.การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม 5.การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม 6.การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม
  • 3. การออกแบบโปรแกรม การออกแบบขั้น ตอนการทำา งานของโปรแกรมเป็น ขั้น ตอนที่ใ ช้ เป็น แนวทางในการลงรหัส โปรแกรม ผู้อ อกแบบขั้น ตอนการทำา งานของโปรแกรมอาจใช้ เครื่อ งมือ ต่า งๆ ช่ว ยในการออกแบบ อาทิเ ช่น คำา สั่ง ลำา ลอง (Pseudo code) หรือ ผัง งาน (Flow chart) การ ออกแบบโปรแกรมนั้น ไม่ต ้อ งพะวงกับ รูป แบบคำา สั่ง ภาษาคอมพิว เตอร์ แต่ใ ห้ม ุ่ง ความสนใจไปที่ล ำา ดับ ขั้น ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่า นั้น
  • 4. การเขีย นโปรแกรมด้ว ยภาษา คอมพิว เตอร์ การเขีย นโปรแกรมเป็น การนำา เอาผลลัพ ธ์ข องการ ออกแบบโปรแกรม มาเปลีย นเป็น ่ โปรแกรมภาษาคอมพิว เตอร์ภ าษาใดภาษาหนึ่ง ผู้ เขีย นโปรแกรมจะต้อ งให้ค วามสนใจต่อ รูป แบบคำา สั่ง และกฎเกณฑ์ข องภาษาที่ใ ช้ เพื่อ ให้ก าร ประมวลผลเป็น ไปตามผลลัพ ธ์ท ี่ไ ด้ ออกแบบไว้ นอกจากนั้น ผู้เ ขีย นโปรแกรมควรแทรก คำา อธิบ ายการทำา งานต่า งๆ ลงใน โปรแกรมเพือ ให้โ ปรแกรมนั้น มีค วามกระจ่า งชัด และ ่ ง่า ยต่อ การตรวจสอบและ โปรแกรมนี้ ยัง ใช้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของเอกสารประกอบ
  • 5. การทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็น การนำา โปรแกรมที่ล งรหัส แล้ว เข้า คอมพิว เตอร์ เพือ ตรวจสอบรูป แบบกฎเกณฑ์ข องภาษา ่ และผลการทำา งานของโปรแกรมนั้น ถ้า พบว่า ยัง ไม่ถ ูก ก็แ ก้ไ ขให้ถ ก ู ต้อ งต่อ ไป ขั้น ตอนการทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม อาจแบ่ง ได้เ ป็น 3 ขั้น 1.สร้า งแฟ้ม เก็บ โปรแกรมซึ่ง ส่ว นใหญ่น ิย มนำา โปรแกรมเข้า ผ่า น ทางแป้น พิม พ์โ ดยใช้โ ปรแกรมประมวลคำา 2.ใช้ต ว แปลภาษาคอมพิว เตอร์แ ปลโปรแกรมที่ส ร้า งขึน เป็น ภาษา ั ้ เครื่อ ง โดยระหว่า งการแปลจะมีก ารตรวจสอบความถูก ต้อ งของรูป แบบและกฎเกณฑ์ใ นการใช้ภ าษา ถ้า คำา สั่ง ใดมีร ูป แบบไม่ถ ก ต้อ งก็ ู จะแสดงข้อ ผิด พลาดออกมาเพื่อ ให้ผ ู้เ ขีย นนำา ไป แก้ไ ขต่อ ไป ถ้า ไม่ม ีข อ ผิด พลาด เราจะได้โ ปรแกรมภาษาเครื่อ งที่ส ามารถให้ ้ คอมพิว เตอร์ป ระมวลผลได้ 3.ตรวจสอบความถูก ต้อ งของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถ ูก ต้อ งตามรูป แบบและกฎเกณฑ์ข องภาษา แต่อ าจให้ ผลลัพ ธ์ข องการประมวลผลไม่ถ ก ต้อ งก็ไ ด้ ดัง นั้น ผู้เ ขีย นโปรแกรม ู จำา เป็น ต้อ งตรวจสอบว่า โปรแกรมประมวลผลถูก ต้อ งตามต้อ ง การ หรือ ไม่ วิธ ีก ารหนึ่ง ก็ค ือ สมมติข ้อ มูล ตัว แทนจากข้อ มูล จริง นำา ไปให้ โปรแกรมประมวลผลแล้ว ตรวจสอบผลลัพ ธ์ ว่า ถูก ต้อ งหรือ ไม่ ถ้า พบว่า ไม่ถ ก ต้อ งก็ต ้อ งดำา เนิน การแก้ไ ขโปรแกรมต่อ ไป การสมมติ ู ข้อ มูล ตัว แทนเพื่อ การทดสอบเป็น สิ่ง ที่ม ีค วามสำา คัญ เป็น อย่า งมาก
  • 6. การทำาเอกสารประกอบโปรแกรม การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการพัฒนา โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรม ช่วยให้ผใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ู้ ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จาก โปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เพื่อ ใช้สำาหรับการอ้างอิงเมือจะใช้งาน ่ โปรแกรมและเมือต้องการแก้ไขปรับปรุง โปรแกรม เอกสารประกอบ ่ โปรแกรมทีจัดทำา ควรประกอบด้วย ่ หัวข้อต่อไปนี้ 1.วัตถุประสงค์ 2.ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทใช้ในโปรแกรม ี่ 3.วิธีการใช้โปรแกรม 4.แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม 5.รายละเอียดโปรแกรม 6.ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ
  • 7. การบำารุงรักษาโปรแกรม เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และ ถูกนำามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทำาให้เกิดปัญหาขึ้นมา บ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอย ควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทำางาน การบำารุงรักษา โปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียน โปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งาน โปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้ อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทำางานของระบบงานเดิมเพือให้ ่ เหมาะกับ เหตุการณ์ นักเขียน โปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการ
  • 8. ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั้น หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปญหาจนได้ขั้น ั ตอนวิธีในการแก้ปญหา ซึ่งอาจจะอยู่ ั ในรูปแบบรหัสลำาลอง หรือผังงาน ขั้นตอนต่อไปคือการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ขึ้นเพือแก้ปญหาตาม ่ ั ขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ แต่เนืองจากคอมพิวเตอร์จะรับรู้คำาสั่งที่เป็นภาษา ่ เครื่องเท่านั้นและมนุษย์ไม่สามารถ เขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้โดยตรง เนื่องจากไม่สะดวก ยากต่อการ ทำาความเข้า จึงได้มการสร้างภาษา ี คอมพิวเตอร์ระดับสูงขึ้นมาเพือให้งายต่อการเขียนโปรแกรม ผูเขียน ่ ่ ้ โปรแกรมไม่จำาเป็นต้องเรียนรู้การทำางาน และโครงสร้างภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็สามารถเขียนโปรแกรม ได้โดยต้องผ่านการแปลให้เป็น ภาษาเครื่องก่อนทีจะใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ่
  • 9. ภาษาเชิง กระบวนความ โปรแกรมคอมพิว เตอร์ท ี่เ ขีย นด้ว ยภาษาเชิง กระบวนความมีล ัก ษณะ การทำา งานตามลำา ดับ ของคำา สั่ง จากคำา สั่ง แรกจนถึง คำา สั่ง สุด ท้า ย และบางคำา สั่ง อาจจะถูก ทำา ซำ้า หรือ บางคำา สั่ง อาจจะไม่ ถูก กระทำา เลยขึน อยูก ับ เงื่อ นไขในโปรแกรม ภาษาใน ้ ่ กลุ่ม นี้เ หมาะสำา หรับ การเริ่ม ต้น ทำา ความเข้า ใจกับ การเขีย นโปรแกรม คอมพิว เตอร์ เนื่อ งจากช่ว ยให้ผ ู้เ รีย นรู้จ ัก การคิด อย่า ง เป็น ระบบ อัน เป็น พื้น ฐานสำา คัญ ในการเขีย นโปรแกรมภาษาอื่น นอกจากนี้ใ นภาษาโปรแกรมประเภทอื่น ก็จ ะยัง มีร ูป แบบ การทำา งานเชิง กระบวนความแฝงอยู่ภ ายในด้ว ยเสมอ การใช้ง าน ภาษาในกลุ่ม นี้ เช่น งานคำา นวณทางวิท ยาศาสตร์อ าจ เลือ กใช้ภ าษาฟอร์แ ทรน (FORTRAN) งานประมวลผลข้อ มุล ทางธุร กิจ การเงิน หรือ ธนาคารอาจเลือ กใช้ภ าษาโคบอล (COBOL)หรือ ภาษาอาร์พ ีจ ี (RPG) การเขีย นโปรแกรมควบคุม การทำา งาน ของระบบคอมพิว เตอร์ม ัก เลือ ก ใช้ภ าษาซีเ นื่อ งจากภาษาเครื่อ งที่ไ ด้จ ะทำา งานได้ร วดเร็ว หรือ การ เรีย นการสอนการโปรแกรมเชิง กระบวนความอาเลือ กใช้ ภาษาปาสคาล (Pascal) หรือ ภาษาซี เป็น ต้น
  • 10. ภาษาเชิง วัต ถุ ภาษาเชิง วัต ถุจ ะอำา นวยความสะดวกให้ก ับ ผู้เ ขีย นโปรแกรมในการ พัฒ นาโปรแกรมที่ใ หญ่แ ละซับ ซ้อ นได้เ ป็น อย่า งดี อีก ทั้ง ยัง สามารถใช้เ ขีย นโปรแกรมในลัก ษณะเดีย วกับ ภาษาเชิง กระบวน ความได้เ ช่น กัน ภาษาในกลุ่ม นี้ เช่น ภาษาจาวา (Java) ภาษาซีช าร์ป (C#) และภาษาซีพ ลัส พลัส (C++) รูป ที่ 7.5 แสดงตัว อย่า งโปรแกรมภาษาซีพ ลัส พลัส ที่ใ ห้ผ ู้เ ล่น ทาย ตัว เลขที่โ ปรแกรมสุ่ม ขึน มาหนึ่ง ตัว   ้
  • 11. ภาษาอื่น ๆ 1.โฟร์ท จีแ อล (fourth-generation languages: 4GLs) เป็น กลุ่ม ของ ภาษาที่ แตกต่า งจากภาษาเชิง กระบวนความ ที่เ น้น ให้ผ ู้ใ ช้ส ามารถเข้า ถึง ข้อ มูล ในฐานข้อ มูล ได้โ ดยง่า ย ภาษาจะมีค วามคล้า ยคลึง กับ ภาษาอัง กฤษที่ใ ช้ก น อยู่ ตัว อย่า งของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิว ั แอล (SQL) 2.เอชทีเ อ็ม แอล (Hypertext Markup Language: HTML ) เป็น ภาษาที่ใ ช้ จัด รูป แบบการแสดงผล ของข้อ ความและรูป ภาพ รวมถึง สื่อ ประสมบนหน้า เว็บ ดัง นั้น เอชทีเ อ็ม แอลจึง ไม่ไ ด้ถ ูก จัด เป็น ภาษาที่ใ ช้ใ นการเขีย น โปรแกรมอย่า งแท้จ ริง แต่เ ป็น การกำา หนดวิธ ก ารในการแสดงผล เอช ี ทีเ อ็ม แอลจะใช้แ ท็ก (tags) เป็น ตัว กำา หนดว่า ส่ว น ใดในเอกสารจะให้แ สดงผลอย่า งไร รูป ที่ 7.7 (ก) แสดงตัว อย่า งของภาษาเอชทีเ อ็ม แอลที่ใ ช้ใ นการสร้า งเว็บ เพจในรูป ที่ 7.7 (ข)
  • 12. การโปรแกรมด้ว ยภาษาซี ในบทนี้จ ะได้แ นะนำา ให้ร ู้จ ัก กับ ภาษาซี ซึ่ง เป็น ภาษาที่เ ขีย นเป็น แบบ โครงสร้า ง และเป็น ภาษาที่ใ ช้เ ป็น พื้น ฐานในการ เรีย นรู้ก ารเขีย นโปรแกรมเชิง กระบวนความได้เ ป็น อย่า งดี โครงสร้า งของภาษาซี โครงสร้า งพื้น ฐานของโปรแกรมภาษาซีจ ะต้อ งประกอบด้ว ยฟัง ก์ช ัน อย่า งน้อ ย 1 ฟัง ก์ช ัน คือ ฟัง ก์ช ัน main( ) ซึ่ง มีร ูป แบบดัง รูป ที่ 7.8 01 int main ( ) { <ส่ว ยหัว ของฟัง ก์ช ัน 02 การประกาศตัว แปรตัว แปรท้อ งถิ่น ; 03 คำา สั่ง ต่า งๆ ; 04 }
  • 13. องค์ป ระกอบของภาษาซี ในทีน ี้จ ะได้อ ธิบ ายองค์ป ระกอบพืน ฐานของภาษาซีจ ากตัว อย่า ง ่ ้ ของโปรแกรมในรูป ที่ 7.10 ซึ่ง เป็น โปรแกรมที่พ ฒ นามาจากผัง งานในตัว อย่า งที่ 6.9 โดยเพิม การ ั ่ นับ จำา นวนครั้ง ของการทายทัง หมด ้
  • 14. - การประกาศรวมแฟ้ม ส่ว นหรือ ( header files ) 1 #include <stdio.h> 1 #include <stdiob.h> การประกาศรวมแฟ้ม ส่ว นหัว ดัง แสดงในบรรทัด ที่ 1 และ 2 เป็น การรวมเอาฟัง ก์ช ัน มาตรฐานของภาษาซีเ ข้า มาร่ว มใช้ง านกับ โปรแกรมทีเ ขีย นขึน ทำา ให้ ่ ้ นัก เขีย นโปรแกรมสามารถเรีย กใช้ฟ ง ก์ช ัน มาตรฐานทีภ าษาซีเ ตรีย มไว้ใ ห้ไ ด้ เช่น ั ่ ฟัง ก์ช ัน printf( ) และ scanf( ) เป็น ต้น - การประกาศตัว แปร ( variable declaration ) 6  int target ; 7  int number ; 8. int no_of_guesses = 1 ; ในบรรทัด ที่ 6 ถึง 8 เป็น การประกาศตัว แปร ซึ่ง เป็น ข้อ กำา หนดของภาษาซีท ต ้อ งมี ี่ การประกาศตัว แปรไว้ท ต อนต้น ของฟัง ก์ช ัน ก่อ นที่จ ะสามารถใช้ง านตัว ี่ แปรเหล่า นั้น ได้ ในที่น ี้ม ีก ารประกาศตัว แปร target, number และ no_of_guesses เป็น ชนิด จำา นวนเต็ม ( int ) สัง เกตว่า รูป แบบของการประกาศ ตัว แปร คือ data_type identification_name ซึ่ง data_type เป็น ชนิด ของข้อ มูล และ identification_name เป็น ชื่อ ตัว แปรทีก ำา หนด ่ ขึน ให้ม ีช นิด ตามทีร ะบุน อกจากนี้ย ัง สามารถกำา หนดค่า เริ่ม ต้น ให้ก ับ ตัว แปรที่เ พิ่ง จะ ้ ่ ประกาศขึ้น ได้เ ลย ดัง เช่น ทีก ำา หนดค่า 1ให้ก ับ ตัว แปร no_of_guesses ่ ในบรรทัด ที่ 8 -การรับ ข้อ มูล เข้า 10  scanf ("%", &target) ; 12  scanf ("%", &number) ; 13  scanf ("%", &number) ; ในบรรทัด ที่ 10.12 และ 20 เป็น การเรีย กฟัง ก์ช น scanf ( ) ในการรับ ข้อ มูล เข้า โดย ั ต้อ งมีก ารระบุพ ารามิเ ตอร์ คือ ตัว แรกเป็น สายอัก ขระของการกำา หนด รูป แบบของข้อ มูล เข้า ทีต อ งการรับ ในที่น ี้ค ือ "%d" หมายถึง ว่า ต้อ งการรับ ข้อ มูล เข้า ที่อ ยู่ ่ ้ ในรูป แบบจำา นวนเต็ม และตัว ที่ส องเป็น ตำา แหน่ง ในหน่ว ยความจำา ของตัว แปรที่ต อ งการใช้เ ก็บ ค่า ทีร ับ เข้า สัง เกตุว ่า ภาษาซีใ ช้เ ครื่อ งหมาย & นำา หน้า ชื่อ ตัว แปร ้ ่ เป็น การอ้า งถึง ตำา แหน่ง ในหน่ว ยความจำา ของตัว แปรนั้น
  • 15. -การพิม พ์ผ ลลัพ ธ์ 11 printf ("Enter the number you guess ") ; 16 printf ("Too highn") ; 17 printf ("Too lown") ; 19 printf ("Enter the number you guess ") ;         ในบรรทัด ที่ 11. 16. 18 และ 19 เป็น การเรีย กใช้ฟ ัง ก์ช ัน printf ( ) เพื่อ พิม พ์ข อ ความออกทางจอภาพซึ่ง เราสามารถกำา หนด ้ ข้อ ความ อยู่ภ ายในเครื่อ งหมายอัญ ประกาศให้เ ป็น พารามิเ ตอร์ข องฟัง ก์ช น printf ( ั ) ได้เ ลย 23 printf ("Correct - You try %d time . n" , no_of_guesses ) ;         สำา หรับ ในบรรทัด ที่ 23 จะมีก ารพิม พ์ค า ของตัว แปรชนิด ่ จำา นวนเต็ม no_of_guesses ด้ว ย โดยจะต้อ งระบุร ป แบบข้อ มูล ู ของตัว แปลที่ต ้อ งการให้พ ิม พ์ภ ายในข้อ ความที่เ ป็น พารามิเ ตอร์ต ัว แรก ด้ว ย ในที่น ต ัว แปร no_of_guesses เป็น ชนิด int ซึ่ง จะใช้ ี้ รูป แบบกำา หนดการพิม พ์ค อ "%d" ในลัก ษณะเดีย วกัน กับ ฟัง ก์ช ัน scanf ( ) ื นัน เอง ่ - คำา สัง ควบคุม การทำา งานแบบวนซำ้า ่
  • 16.  คำา สั่ง while เป็น คำา สั่ง เพื่อ ควบคุม ว่า ชุด คำา สั่ง ภายใต้ค ำา สั่ง while ( คือ ตั้ง แต่ บรรทัด ที่ 14 ถึง 22)จะถูก วนทำา ซำ้า อีก หรือ ไม่ โดยเมื่อ โปรแกรมทำา งานมาถึง บรรทัด ที่ 13 จะตรวจสอบก่อ นว่า เงื่อ นไข เป็น จริง หรือ ไม่ ในที่น ี้ค ือ ตรวจสอบว่า ค่า ของตัว แปร number ไม่เ ท่า กัน กับ ค่า ของตัว แปร target หรือ ไม่ถ ้า เป็น จริง ก็จ ะไป ทำา งานตามคำา สั่ง ภายใน บรรทัด ดัง กล่า วหนึ่ง รอบ ก่อ นที่จ ะย้อ นกลับ ไปตรวจสอบเงื่อ นไขอีก ครั้ง ถ้า เงื่อ นไขเป็น เท็จ ก็จ ะไปทำา งานในบรรทัด ที่ 23 ต่อ ไป - คำา สั่ง กำา หนดค่า แปรให้ก ับ ตัว แปร 21 no_of_guesses = no_of_guesses + 1 ; ในบรรทัด ที่ 21 เป็น การกำา หนดค่า ใหม่ใ ห้ก ับ ตัว แปร no_of_guesses โดยใช้ เครื่อ งหมายกำา หนดค่า ( = ) ซึ่ง เป็น การกำา หนดให้ต ัว แปรที่อ ยู่ท างซ้า ยของเครื่อ งหมายกำา หนดค่า มีค ่า เท่า กับ ค่า ของนิพ จน์ท างขวาของเครื่อ งหมาย กำา หนดค่า ซึ่ง ในที่น ี้เ ป็น การเพิ่ม ค่า ของตัว แปร no_of_guesses ขึ้น อีก 1 นั่น เอง ภาษาซีใ ช้น ิพ จน์ท างคณิต ศาสตร์เ พื่อ คำา นวนและเปรีย บเทีย บ นิพ จน์ป ระกอบ ด้ว ยตัว ถูก ดำา เนิน การ ( operand ) และ ตัว ดำา เนิน การ ( operator ) ที่ส ามารถถุก ลดรูป หรือ ถูก ประเมิน ให้เ ป็น ค่า ทาง คณิต ศาสตร์เ พีย งค่า เดีย วได้ เช่น 2 * 5 เป็น นิพ จน์ เนื่อ งจากสามารถหาค่า ได้เ ป็น 10 ตัว ดำา เนิน การในภาษาซีม ีห ลายประเภท - คำา สั่ง ควบคุม การทำา งานแบบมีท างเลือ ก 15 if (number > target)
  • 17. คำา สัง if-else ในบรรทัด ที่ 15 ถึง 18 เป็น การเลือ กว่า จะทำา งานตามคำา สั่ง ่ ภายใต้ if หรือ ภายใต้ elseแล้ว แต่เ งื่อ นไขที่ อยูห ลัง if ในบรรทัด ที่ 15 โดยถ้า เงื่อ นไขเป็น จริง จะทำา งานภายใต้ if ่ นั่น คือ คำา สั่ง ในบรรทัด ที่ 16 เท่า นั้น แล้ว จะข้า มไป ทำา งานในบรรทัด ที่ 19 เลย แต่ถ ้า เงื่อ นไขในบรรทัด ที่ 15 เป็น เท็จ ก็จ ะ ข้า มคำา สัง ภายใต้ if ไปทำา งานที่ค ำา สั่ง ภายใต้ else ่ ในบรรทัด ที่ 18 เท่า นั้น ก่อ นที่จ ะทำา งานในบรรทัด ที่ 19 ต่อ ไป -คำา สั่ง return 25 return 0; ในบรรทัด ที่ 25 คำา สั่ง return เป็น การจบการทำา งานของฟัง ก์ช ัน แล้ว ส่ง ค่า ที่ร ะบุ ( คือ ค่า 0 ) กลับ ไปให้ก ับ ฟัง ก์ช ัน ที่เ รีย กมา  สำา หรับ โปรแกรมภาษาซีท ี่ถ ก เรีย กให้ท ำา งานจาก ู ระบบปฏิบ ัต ิก ารนั้น เนื่อ งจากระบบปฏิบ ัต ก ารเป็น ิ ผู้เ รีย กให้ฟ ัง ก์ช ัน main ( ) ในโปรแกรมทำา งาน ดัง นั้น เมื่อ โปรแกรม ทำา งานเสร็จ สิ้น ลง ฟัง ก์ช ัน main ( ) จึง ส่ง ค่า 0 ไปให้ก บ ระบบปฏิบ ัต ก าร ั ิ
  • 18. การพัฒ นาโครงงานคอมพิว เตอร์ โครงงานคอมพิว เตอร์เ ป็น การนำา เอาความรู้ใ นด้า นการเขีย นโปรแกรม มา ใช้ร ่ว มกับ อุป กรณ์ค อมพิว เตอร์ร วมถึง อุป กรณ์อ ื่น ที่เ กี่ย วข้อ ง เพื่อ ผลิต ผลงานสำา หรับ แก้ป ัญ หา หรือ นำา ผลงานมา ประยุก ต์ใ นงานจริง นัก เรีย นจะต้อ งใช้ค วามรู้ และประสบการณ์ เพื่อ วางแผนการพัฒ นา โครงงาน โดยอาจขอคำา ปรึก ษา จากอาจารย์ผ ู้ส อน หรือ ผู้ท รงคุณ วุฒ ิอ ื่น เป้า หมายสูง สุด ของการจัด ทำา โครงงานคือ การที่โ ครงงานได้ถ ูก นำา ไปใช้ง าน จริง และก่อ ให้เ กิด ประโยชน์ใ นชีว ิต จริง ของ ผู้น ำา ไปใช้ ในการเลือ กหัว ข้อ โครงงานนั้น ผู้พ ัฒ นาอาจเริ่ม จากการใช้ค วามคิด สร้า งสรรค์ ร่ว มกับ ประสบการณ์ใ นการคิด ค้น ถึง สิ่ง ที่เ ป็ป ัญ หา และความเป็น ไปได้ใ นการนำา เอาระบบคอมพิว เตอร์ม าช่ว ยงาน โดยทั่ว ไปแล้ว โครงงานคอมพิว เตอร์ส ามารถแบ่ง ออกได้เ ป็น 5 ประเภท คือ 1.โครงงานพัฒ นาสื่อ เพื่อ การศึก ษา เป็น การสร้า งบทเรีย นที่อ าจมีแ บบฝึก หัด หรือ คำา ถามเพื่อ ทดสอบด้ว ย 2.โครงงานพัฒ นาเครื่อ งมือ เป็น การพัฒ นาโปรแกรมช่ว ยงานในด้า นต่า งๆ 3. โครงงานจำา ลองทฤษฎี เป็น การพัฒ นาโปรแกรมเพื่อ จำา ลองการทดลองในด้า นต่า งๆที่ไ ม่ส ามารถ ทดลองด้ว ยสถานการณ์จ ริง ได้ 4.โครงงานประยุก ต์